พบผลลัพธ์ทั้งหมด 299 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 680/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การต่อสู้คดีเช็ค: ผู้สั่งจ่ายไม่สามารถปฏิเสธการจ่ายเงินให้ผู้ทรงเช็ค เว้นแต่พิสูจน์ได้ว่าการโอนเช็คเป็นการฉ้อฉล
เมื่อโจทก์เป็นผู้ทรงเช็คจำเลยจะอ้างว่าจำเลยออกเช็คให้บุคคลที่สามโดยถูกบุคคลที่สามหลอกลวง มาเป็นข้อต่อสู้กับโจทก์หาได้ไม่ เว้นแต่การโอนจะได้มีขึ้นด้วยคบคิดกันฉ้อฉล ซึ่งตกเป็นหน้าที่ของจำเลยจะต้องนำสืบ หาใช่โจทก์ซึ่งเป็นผู้ทรงจะต้องสืบว่าได้รับโอนเช็คมาอย่างไรไม่
ในเรื่องเช็ค จำเลยให้การต่อสู้เพียงว่าโจทก์ได้รับโอนมาโดยไม่สุจริต แต่ไม่ได้กล่าวว่าไม่สุจริตอย่างไร ย่อมไม่มีประเด็นที่จะสืบ
ป.พ.พ.มาตรา 916 ที่ห้ามไม่ให้ยกขึ้นต่อสู้กับผู้ทรงนั้น ได้รวมตลอดถึงห้ามผู้สั่งจ่ายด้วย และมาตรานี้ ซึ่งบัญญัติถึงเรื่องตั๋วแลกเงินก็อนุโลมมาใช้ในเรื่องเช็คได้ เพราะไม่ขัดกับสภาพแห่งตราสาร
ในเรื่องเช็ค จำเลยให้การต่อสู้เพียงว่าโจทก์ได้รับโอนมาโดยไม่สุจริต แต่ไม่ได้กล่าวว่าไม่สุจริตอย่างไร ย่อมไม่มีประเด็นที่จะสืบ
ป.พ.พ.มาตรา 916 ที่ห้ามไม่ให้ยกขึ้นต่อสู้กับผู้ทรงนั้น ได้รวมตลอดถึงห้ามผู้สั่งจ่ายด้วย และมาตรานี้ ซึ่งบัญญัติถึงเรื่องตั๋วแลกเงินก็อนุโลมมาใช้ในเรื่องเช็คได้ เพราะไม่ขัดกับสภาพแห่งตราสาร
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 590/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสมคบฉ้อฉลในการทำสัญญาประนีประนอมยอมความ จำเลยต้องแสดงหลักฐานการสมคบที่ชัดเจน
จำเลยอ้างว่าสัญญาประนีประนอมยอมความที่ศาลชั้นต้นพิพากษาตามยอมนั้น ทนายจำเลยกับโจทก์สมคบกันฉ้อฉลโจทก์ โดยอ้างเหตุแต่เพียงว่าทนายไม่บอกจำเลยก่อน ไม่ทำสัญญาประนีประนอมฯต่อหน้าทนายจำเลยคนอื่นในคดีเดียวกัน ไม่บอกกล่าวให้จำเลยทราบในภายหลังข้อกล่าวอ้างดังกล่าวนี้ไม่เป้นการฉ้อฉลที่จะเป็นเหตุให้อุทธรณ์ฎีกาตาม ป.วิ.แพ่ง มาตรา 138 (1) ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 590/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจทนายในการประนีประนอมยอมความ และขอบเขตการฉ้อฉลที่อุทธรณ์ฎีกาได้
จำเลยอ้างว่าสัญญาประนีประนอมยอมความที่ศาลชั้นต้นพิพากษาตามยอมนั้นทนายจำเลยกับโจทก์สมคบกันฉ้อฉลโจทก์โดยอ้างเหตุแต่เพียงว่าทนายไม่บอกจำเลยก่อนไม่ทำสัญญาประนีประนอมฯต่อหน้าทนายจำเลยคนอื่นในคดีเดียวกัน ไม่บอกกล่าวให้จำเลยทราบในภายหลังข้อกล่าวอ้างดังกล่าวนี้ไม่เป็นการฉ้อฉลที่จะเป็นเหตุให้อุทธรณ์ฎีกาตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 138(1)ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1083/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนทรัพย์เพื่อหลีกเลี่ยงหนี้สิน: ศาลพิจารณาการสมยอมกันและการฉ้อฉลเจ้าหนี้
คดีร้องขัดทรัพย์ โจทก์ให้การแก้คำร้องว่าจำเลยกับผู้ร้องโอนทรัพย์กันโดยสมยอม เป็นเจตนาลวงตกเป็นโมฆะตามมาตรา118ศาลจะวินิจฉัยว่า การโอนทำให้โจทก์เสียเปรียบเป็นการฉ้อฉลที่เพิกถอนได้ตามมาตรา237 ย่อมเป็นการวินิจฉัยนอกประเด็น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 944/2498 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฉ้อฉลที่มิได้กระทบพินัยกรรม ไม่ทำให้ผู้รับพินัยกรรมถูกจำกัดสิทธิ
ทายาทตามพินัยกรรม หลอกลวงให้ผู้ทำพินัยกรรมทำใบมอบอำนาจให้แล้วเอาไปจัดการโอนที่ดินที่ตนจะได้รับตามพินัยกรรมเป็นของตนเสีย กรณีเช่นนี้ไม่ถือว่าเป็นการฉ้อฉลให้เจ้ามรดกเพิกถอนหรือเปลี่ยนแปลงพินัยกรรมผู้นั้นจึงมิต้องถูกกำจัดมิให้รับมรดกฐานเป็นผู้ไม่สมควร
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 944/2498
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฉ้อฉลในการทำธุรกรรมหลังพินัยกรรมไม่ทำให้สิทธิรับมรดกตกไป
ทายาทตามพินัยกรรม หลอกลวงให้ผู้ทำพินัยกรรมทำใบมอบอำนาจให้แล้วเอาไปจัดการโอนที่ดินที่ตนจะได้รับตามพินัยกรรมเป็นของตนเสีย กรณีเช่นนี้ไม่ถือว่าเป็นการฉ้อฉลให้เจ้ามรดกเพิกถอนหรือเปลี่ยนแปลงพินัยกรรมผู้นั้นจึงมิต้องถูกกำจัดมิให้รับมรดกฐานเป็นผู้ไม่สมควร
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1542/2498 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฉ้อฉลทำสัญญาแบ่งที่ดิน และการบุกรุกที่ดินของผู้อื่น ถือเป็นการละเมิดสิทธิในทรัพย์สิน
ให้ลงชื่อในสัญญาแบ่งที่นา โดยหลอกให้เข้าใจว่าลงชื่อขอรับโฉนดผู้ที่ฉ้อฉลจะอ้างว่ามีสัญญาให้ทำนาไม่ได้ การเข้าทำนาย่อมเป็นการละเมิด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1542/2498
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฉ้อฉลทำให้ลงชื่อในสัญญาแบ่งที่ดินโดยไม่รู้เห็น การเข้าทำประโยชน์เป็นการละเมิดสิทธิ
ให้ลงชื่อในสัญญาแบ่งที่นา โดยหลอกให้เข้าใจว่าลงชื่อขอรับโฉนดผู้ที่ฉ้อฉลจะอ้างว่ามีสัญญาให้ทำนาไม่ได้ การเข้าทำนาย่อมเป็นการละเมิด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1130/2496 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนทรัพย์สินเพื่อหลีกเลี่ยงชำระหนี้หลังแพ้คดี ถือเป็นการฉ้อฉล
อำเภอชี้ขาดให้จำเลยชำระค่านายหน้าแก่โจทก์ จำเลยลงชื่อยินยอมปฏิบัติตามสัญญายอมความของอำเภอ ต่อมาอีก 5 วันจำเลยจึงโอนขายที่ดินของจำเลยให้ผู้ร้อง สัญญาระบุว่าซื้อขาย แต่ความจริงไม่มีค่าตอบแทน ดังนี้
เมื่อจำเลยไม่ชำระค่านายหน้าให้โจทก์ๆฟ้องคดี จนศาลพิพากษาให้โจทก์ชนะคดี โจทก์ย่อมนำยึดที่ดินของจำเลย ดังกล่าวเพื่อการบังคับคดีได้ เพราะการโอนให้ผู้ร้องดังกล่าว เป็นการทำให้โจทก์เสียเปรียบ โจทก์ย่อมขอให้เพิก ถอนการฉ้อฉลได้ตาม ป.ม.แพ่งฯมาตรา 237./
เมื่อจำเลยไม่ชำระค่านายหน้าให้โจทก์ๆฟ้องคดี จนศาลพิพากษาให้โจทก์ชนะคดี โจทก์ย่อมนำยึดที่ดินของจำเลย ดังกล่าวเพื่อการบังคับคดีได้ เพราะการโอนให้ผู้ร้องดังกล่าว เป็นการทำให้โจทก์เสียเปรียบ โจทก์ย่อมขอให้เพิก ถอนการฉ้อฉลได้ตาม ป.ม.แพ่งฯมาตรา 237./
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1130/2496
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนทรัพย์สินเพื่อฉ้อฉลเจ้าหนี้หลังมีคำชี้ขาดคดี ทำให้เจ้าหนี้เสียเปรียบ
อำเภอชี้ขาดให้จำเลยชำระค่านายหน้าแก่โจทก์ จำเลยลงชื่อยินยอมปฏิบัติตามสัญญายอมความของอำเภอ ต่อมาอีก 5 วันจำเลยจึงโอนขายที่ดินของจำเลยให้ผู้ร้อง สัญญาระบุว่าซื้อขาย แต่ความจริงไม่มีค่าตอบแทน ดังนี้
เมื่อจำเลยไม่ชำระค่านายหน้าให้โจทก์ๆ ฟ้องคดี จนศาลพิพากษาให้โจทก์ชนะคดี โจทก์ย่อมนำยึดที่ดินของจำเลยดังกล่าวเพื่อการบังคับคดีได้ เพราะการโอนให้ผู้ร้องดังกล่าว เป็นการทำให้โจทก์เสียเปรียบ โจทก์ย่อมขอให้เพิกถอนการฉ้อฉลได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 237
เมื่อจำเลยไม่ชำระค่านายหน้าให้โจทก์ๆ ฟ้องคดี จนศาลพิพากษาให้โจทก์ชนะคดี โจทก์ย่อมนำยึดที่ดินของจำเลยดังกล่าวเพื่อการบังคับคดีได้ เพราะการโอนให้ผู้ร้องดังกล่าว เป็นการทำให้โจทก์เสียเปรียบ โจทก์ย่อมขอให้เพิกถอนการฉ้อฉลได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 237