พบผลลัพธ์ทั้งหมด 308 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1826/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
มูลหนี้ภาษีการค้าเกิดขึ้นเมื่อใด: การประเมินภาษีและการขอรับชำระหนี้ในคดีล้มละลาย
จำเลยนำสินค้าเข้ามาในราชอาณาจักรตั้งแต่ปี 2507- 2508 โดยมิได้ยื่นแบบแสดงรายการการค้าและชำระภาษีการค้า ตามประกาศของอธิบดีกรมสรรพากรโดยอนุมัติรัฐมนตรี ถือว่า ผู้ประกอบการค้าที่เป็นผู้นำเข้าซึ่งสินค้าทุกชนิดได้ขาย สินค้านั้นในวันนำเข้าในราชอาณาจักร จำเลยย่อมมีรายรับตาม มูลค่าของสินค้าในวันนำเข้าในราชอาณาจักร และมีหน้าที่ต้อง ชำระเงินค่าภาษีการค้าทุกเดือนภาษี ภายในวันที่ 15 ของ เดือนถัดไป มูลหนี้ค่าภาษีการค้าจึงเกิดขึ้นตั้งแต่ เดือนภาษีที่จำเลยผู้ประกอบการค้ามีรายรับ
การที่เจ้าพนักงานประเมินทำการประเมินในภายหลัง เนื่องจาก จำเลยมิได้ยื่นแบบแสดงรายการการค้า แล้วมี หนังสือแจ้งยอดเงินภาษีไปให้จำเลยชำระเงินดังกล่าวไม่ทำให้ มูลหนี้ค่าภาษีการค้าเพิ่งเกิด แม้หนังสือแจ้งยอดเงินภาษีที่ ประเมินจะเพิ่งมีไปยังจำเลยภายหลังจากจำเลยถูกศาลสั่ง พิทักษ์ทรัพย์แล้ว กรมสรรพากรก็ยังมีสิทธิยื่น คำขอรับชำระหนี้ค่าภาษีการค้า ซึ่งมีมูลหนี้เกิดขึ้นก่อนได้
เบี้ยปรับและเงินเพิ่มซึ่งผู้ประกอบการค้าต้องเสียตาม ประมวลรัษฎากรถือว่าเป็นเงินภาษีด้วย
สิทธิเรียกร้องของรัฐบาลเพื่อเอาค่าภาษีอากรมีกำหนดอายุความ 10 ปี
คำขอรับชำระหนี้ของกรมสรรพากรซึ่งระบุว่าขอรับชำระหนี้ ค่าภาษีอากร (ภาษีการค้า) ถือได้ว่าขอรับชำระหนี้ในฐานะ เป็นเจ้าหนี้บุริมสิทธิ เพราะค่าภาษีอากรเป็น หนี้บุริมสิทธิสามัญตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 253(3) อยู่แล้ว
การที่เจ้าพนักงานประเมินทำการประเมินในภายหลัง เนื่องจาก จำเลยมิได้ยื่นแบบแสดงรายการการค้า แล้วมี หนังสือแจ้งยอดเงินภาษีไปให้จำเลยชำระเงินดังกล่าวไม่ทำให้ มูลหนี้ค่าภาษีการค้าเพิ่งเกิด แม้หนังสือแจ้งยอดเงินภาษีที่ ประเมินจะเพิ่งมีไปยังจำเลยภายหลังจากจำเลยถูกศาลสั่ง พิทักษ์ทรัพย์แล้ว กรมสรรพากรก็ยังมีสิทธิยื่น คำขอรับชำระหนี้ค่าภาษีการค้า ซึ่งมีมูลหนี้เกิดขึ้นก่อนได้
เบี้ยปรับและเงินเพิ่มซึ่งผู้ประกอบการค้าต้องเสียตาม ประมวลรัษฎากรถือว่าเป็นเงินภาษีด้วย
สิทธิเรียกร้องของรัฐบาลเพื่อเอาค่าภาษีอากรมีกำหนดอายุความ 10 ปี
คำขอรับชำระหนี้ของกรมสรรพากรซึ่งระบุว่าขอรับชำระหนี้ ค่าภาษีอากร (ภาษีการค้า) ถือได้ว่าขอรับชำระหนี้ในฐานะ เป็นเจ้าหนี้บุริมสิทธิ เพราะค่าภาษีอากรเป็น หนี้บุริมสิทธิสามัญตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 253(3) อยู่แล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1826/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
มูลหนี้ภาษีการค้าเกิดขึ้นเมื่อนำเข้าสินค้า แม้ยังมิได้ยื่นแบบฯ กรมสรรพากรมีสิทธิรับชำระหนี้ในฐานะเจ้าหนี้บุริมสิทธิ
จำเลยนำสินค้าเข้ามาในราชอาณาจักรตั้งแต่ปี 2507-2508 โดยมิได้ยื่นแบบแสดงรายการการค้าและชำระภาษีการค้า ตามประกาศของอธิบดีกรมสรรพากรโดยอนุมัติรัฐมนตรี ถือว่าผู้ประกอบการค้าที่เป็นผู้นำเข้าซึ่งสินค้าทุกชนิดได้ขายสินค้านั้นในวันนำเข้าในราชอาณาจักร จำเลยย่อมมีรายรับตามมูลค่าของสินค้าในวันนำเข้าในราชอาณาจักร และมีหน้าที่ต้องชำระเงินค่าภาษีการค้าทุกเดือนภาษี ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป มูลหนี้ค่าภาษีการค้าจึงเกิดขึ้นตั้งแต่เดือนภาษีที่จำเลยผู้ประกอบการค้ามีรายรับ
การที่เจ้าพนักงานประเมินทำการประเมินในภายหลัง เนื่องจากจำเลยมิได้ยื่นแบบแสดงรายการการค้า แล้วมีหนังสือแจ้งยอดเงินภาษีไปให้จำเลยชำระเงินดังกล่าวไม่ทำให้มูลหนี้ค่าภาษีการค้าเพิ่งเกิด แม้หนังสือแจ้งยอดเงินภาษีที่ประเมินจะเพิ่งมีไปยังจำเลยภายหลังจากจำเลยถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้ว กรมสรรพากรก็ยังมีสิทธิยื่นคำขอรับชำระหนี้ค่าภาษีการค้า ซึ่งมีมูลหนี้เกิดขึ้นก่อนได้
เบี้ยปรับและเงินเพิ่มซึ่งผู้ประกอบการค้าต้องเสียตามประมวลรัษฎากรถือว่าเป็นเงินภาษีด้วย
สิทธิเรียกร้องของรัฐบาลเพื่อเอาค่าภาษีอากรมีกำหนดอายุความ 10 ปี
คำขอรับชำระหนี้ของกรมสรรพากรซึ่งระบุว่าขอรับชำระหนี้ค่าภาษีอากร (ภาษีการค้า) ถือได้ว่าขอรับชำระหนี้ในฐานะเป็นเจ้าหนี้บุริมสิทธิ เพราะค่าภาษีอากรเป็นหนี้บุริมสิทธิสามัญตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 253(3) อยู่แล้ว
การที่เจ้าพนักงานประเมินทำการประเมินในภายหลัง เนื่องจากจำเลยมิได้ยื่นแบบแสดงรายการการค้า แล้วมีหนังสือแจ้งยอดเงินภาษีไปให้จำเลยชำระเงินดังกล่าวไม่ทำให้มูลหนี้ค่าภาษีการค้าเพิ่งเกิด แม้หนังสือแจ้งยอดเงินภาษีที่ประเมินจะเพิ่งมีไปยังจำเลยภายหลังจากจำเลยถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้ว กรมสรรพากรก็ยังมีสิทธิยื่นคำขอรับชำระหนี้ค่าภาษีการค้า ซึ่งมีมูลหนี้เกิดขึ้นก่อนได้
เบี้ยปรับและเงินเพิ่มซึ่งผู้ประกอบการค้าต้องเสียตามประมวลรัษฎากรถือว่าเป็นเงินภาษีด้วย
สิทธิเรียกร้องของรัฐบาลเพื่อเอาค่าภาษีอากรมีกำหนดอายุความ 10 ปี
คำขอรับชำระหนี้ของกรมสรรพากรซึ่งระบุว่าขอรับชำระหนี้ค่าภาษีอากร (ภาษีการค้า) ถือได้ว่าขอรับชำระหนี้ในฐานะเป็นเจ้าหนี้บุริมสิทธิ เพราะค่าภาษีอากรเป็นหนี้บุริมสิทธิสามัญตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 253(3) อยู่แล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 944/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำขอรับชำระหนี้โดยอาศัยเช็คเป็นมูลหนี้ แม้ไม่ใช่หลักฐานกู้ยืม ก็มีสิทธิรับชำระหนี้ได้
คำขอรับชำระหนี้ของเจ้าหนี้อ้างว่าลูกหนี้เป็นหนี้อยู่ 20,000 บาท เป็นค่ายืมโดยจ่ายเช็คไว้ให้มีเช็คเป็นหลักฐานดังนี้แม้เช็คไม่เป็นหลักฐานที่จะใช้บังคับคดีในทางกู้ยืมเงิน แต่เช็คก็เป็นมูลหนี้ประการหนึ่ง ซึ่งคำขอรับชำระหนี้ดังกล่าวเป็นคำขอรับชำระหนี้โดยอาศัยเช็คเป็นมูลหนี้รวมอยู่ด้วย ไม่ใช่เป็นแต่เพียงคำขอชำระหนี้ โดยอาศัยการกู้ยืมเป็นมูลหนี้อย่างเดียว เจ้าหนี้จึงมีสิทธิที่จะขอรับชำระหนี้ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 944/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำขอรับชำระหนี้โดยอาศัยเช็คเป็นมูลหนี้ แม้ไม่ใช่หลักฐานกู้ยืม แต่มีสิทธิรับชำระหนี้ได้
คำขอรับชำระหนี้ของเจ้าหนี้อ้างว่าลูกหนี้เป็นหนี้อยู่ 20,000 บาท เป็นค่ายืมโดยจ่ายเช็คไว้ให้มีเช็คเป็นหลักฐานดังนี้แม้เช็คไม่เป็นหลักฐานที่จะใช้บังคับคดีในทางกู้ยืมเงิน แต่เช็คก็เป็นมูลหนี้ประการหนึ่ง ซึ่งคำขอรับชำระหนี้ดังกล่าวเป็นคำขอรับชำระหนี้โดยอาศัยเช็คเป็นมูลหนี้รวมอยู่ด้วย ไม่ใช่เป็นแต่เพียงคำขอชำระหนี้ โดยอาศัยการกู้ยืมเป็นมูลหนี้อย่างเดียว เจ้าหนี้จึงมีสิทธิที่จะขอรับชำระหนี้ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 865/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
มูลหนี้เกิดเมื่อรับเงินและมอบเช็คลงวันล่วงหน้า แม้ยังไม่ถึงกำหนดชำระ เจ้าหนี้มีสิทธิขอรับชำระหนี้ในคดีล้มละลาย
กรณีที่ลูกหนี้รับเงินไปจากเจ้าหนี้ผู้ยื่นคำขอรับชำระหนี้ แล้วออกเช็คสั่งจ่ายเงินลงวันล่วงหน้าให้เจ้าหนี้ผู้ยื่นคำขอรับชำระหนี้ยึดถือนั้น ถือได้ว่ามูลแห่งหนี้ได้เกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ลูกหนี้รับเงินไปและมอบเช็คลงวันล่วงหน้าให้เจ้าหนี้ผู้ยื่นคำขอรับชำระหนี้ยึดถือแล้ว (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 8/2510)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 763-764/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การต่อสู้เรื่องสัญญาจำนองหลอกลวงและการพิสูจน์มูลหนี้: สิทธิในการนำสืบและขอบเขตความรับผิด
โจทก์ฟ้องขอบังคับจำนอง จำเลยต่อสู้ว่าสัญญาจำนองทำกันหลอก ๆ ไม่มีการชำระเงินกันจริง เท่ากับปฏิเสธว่าไม่มีมูลหนี้ต่อกัน ชอบที่จำเลยจะนำสืบให้ได้ความจริงตามข้อต่อสู้ของตน ไม่มีความจำเป็นที่ศาลจะต้องสอบถามโจทก์เกี่ยวกับรายละเอียดที่โจทก์อ้างว่าได้จ่ายเงินให้ไปล่วงหน้าครบถ้วนแล้ว เพราะเป็นเรื่องที่คู่ความมีสิทธิ์ที่จะนำสืบกันต่อไป
การนำคดีมาฟ้องศาลขอให้บังคับผู้จำนองใช้หนี้ตามสัญญาจำนอง เป็นสิทธิ์อันชอบธรรมของผู้รับจำนองที่จะกระทำได้ เมื่อไม่ปรากฏว่าผู้รับจำนองใช้สิทธิ์นี้โดยไม่สุจริตหรือโดยประมาทเลินเล่อ ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้จำนองโดยมิชอบแต่อย่างใด ผู้รับจำนองก็ไม่ต้องรับผิด
การนำคดีมาฟ้องศาลขอให้บังคับผู้จำนองใช้หนี้ตามสัญญาจำนอง เป็นสิทธิ์อันชอบธรรมของผู้รับจำนองที่จะกระทำได้ เมื่อไม่ปรากฏว่าผู้รับจำนองใช้สิทธิ์นี้โดยไม่สุจริตหรือโดยประมาทเลินเล่อ ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้จำนองโดยมิชอบแต่อย่างใด ผู้รับจำนองก็ไม่ต้องรับผิด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 592/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ตั๋วสัญญาใช้เงิน: การฟ้องตามตั๋วสัญญาใช้เงินไม่ต้องพิสูจน์สัญญากู้ยืม
จำเลยกู้เงินโจทก์แล้วออกตั๋วสัญญาใช้เงินชำระหนี้โจทก์ เมื่อโจทก์ฟ้องเรียกเงินตามตั๋วสัญญาใช้เงิน มิได้ฟ้องตามสัญญากู้ยืมเงิน จึงไม่ต้องมีหลักฐานการกู้ยืมเงินเป็นหนังสือมาแสดงเมื่อจำเลย ไม่อาจเถียงได้ว่าตั๋วสัญญาใช้เงินนั้นปราศจากมูลหนี้ จำเลยจึงต้องรับผิดตามตั๋วสัญญาใช้เงินนั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 592/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ตั๋วสัญญาใช้เงิน: ฟ้องตามตั๋ว ไม่ต้องแสดงหลักฐานสัญญากู้
จำเลยกู้เงินโจทก์แล้วออกตั๋วสัญญาใช้เงินชำระหนี้โจทก์ เมื่อโจทก์ฟ้องเรียกเงินตามตั๋วสัญญาใช้เงิน มิได้ฟ้องตามสัญญากู้ยืมเงิน จึงไม่ต้องมีหลักฐานการกู้ยืมเงินเป็นหนังสือมาแสดง เมื่อจำเลยไม่อาจเถียงได้ว่าตั๋วสัญญาใช้เงินนั้นปราศจากมูลหนี้ จำเลยจึงต้องรับผิดตามตั๋วสัญญาใช้เงินนั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 190/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนำสืบพยานเพื่อแสดงมูลหนี้และการหักหนี้: จำเลยมีสิทธิแสดงข้อเท็จจริงเพื่อพิสูจน์ข้ออ้างในการหักหนี้ได้
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยทำสัญญากู้เงินโจทก์ 2,500 บาท จำเลยรับว่าทำสัญญากู้จริง เนื่องจากโจทก์ตกลงจ้างเหมาจำเลยเจาะน้ำบาดาลเป็นเงิน 3,300 บาท จำเลยจึงทำหนังสือกู้จากโจทก์ 2,500 บาท เป็นเงินล่วงหน้าเพื่อซื้ออุปกรณ์ต่าง ๆ เมื่อจำเลยลงมือทำงานแล้ว ต่อมาจำเลยขอให้โจทก์ซื้อเครื่องสูบโยกอีกเป็นเงิน 1,500 บาท เมื่อรวมกับเงินที่จำเลยทำสัญญากู้จึงเป็น 4,000 บาท เงินรายนี้เมื่อคิดหักกับค่าจ้าง 3,300 บาทแล้ว จำเลยยังคงรับผิดเพียง 700 บาท ดังนี้ จำเลยย่อมนำสืบพยานบุคคลได้ เพราะการนำสืบของจำเลยเป็นการนำสืบเพื่อแสดงว่าจำเลยเป็นหนี้โจทก์โดยเหตุใด อันเป็นการนำสืบถึงมูลหนี้ ไม่ได้เป็นการนำสืบแสดงว่าไม่ได้เป็นหนี้ และเป็นการนำสืบถึงว่าโจทก์ก็เป็นหนี้จำเลยในเรื่องโจทก์จ้างจำเลยเจาะน้ำบาดาล 3,300 บาท เมื่อได้หักหนี้กันแล้ว จำเลยยังคงเป็นหนี้โจทก์อยู่เพียง 700 บาท มิใช่เป็นการนำสืบแก้ไขเปลี่ยนแปลงเอกสาร แต่เป็นการนำสืบเพื่อแสดงว่าโจทก์จำเลยเป็นหนี้ต่อกันอย่างไร ได้มีการหักหนี้กันแล้วอย่างไร จำเลยยังคงเป็นหนี้โจทก์อยู่อีกเท่าใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 190/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนำสืบพยานเพื่อแสดงมูลหนี้และการหักหนี้ที่ถูกต้องตามกฎหมาย
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยทำสัญญากู้เงินโจทก์ 2,500 บาท จำเลยรับว่าทำสัญญากู้จริง เนื่องจากโจทก์ตกลงจ้างเหมาจำเลยเจาะน้ำบาดาลเป็นเงิน 3,300 บาท จำเลยจึงทำหนังสือกู้เงินโจทก์ 2,500 บาท เป็นเงินล่วงหน้าเพื่อซื้ออุปกรณ์ต่างๆ เมื่อจำเลยลงมือทำงานแล้วต่อมาจำเลยขอให้โจทก์ซื้อเครื่องสูบโยกอีกเป็นเงิน 1,500 บาท เมื่อรวมกับเงินที่จำเลยทำสัญญากู้จึงเป็น 4,000 บาทเงินรายนี้ เมื่อคิดหักกับค่าจ้าง 3,300 บาทแล้ว จำเลยยังคงรับผิดเพียง 700 บาท ดังนี้ จำเลยย่อมนำสืบพยานบุคคลได้ เพราะการนำสืบ ของจำเลยเป็นการนำสืบเพื่อแสดงว่าจำเลยเป็นหนี้โจทก์โดยเหตุใด อันเป็นการนำสืบถึงมูลหนี้ ไม่ได้เป็นการนำสืบแสดงว่าไม่ได้เป็นหนี้ และเป็นการนำสืบถึงว่าโจทก์ก็เป็นหนี้จำเลยในเรื่องโจทก์จ้างจำเลย เจาะน้ำบาดาล 3,300 บาท เมื่อได้หักหนี้กันแล้ว จำเลยยังคงเป็น หนี้โจทก์อยู่เพียง 700 บาท มิใช่เป็นการนำสืบแก้ไขเปลี่ยนแปลงเอกสารแต่เป็นการนำสืบเพื่อแสดงว่าโจทก์จำเลยเป็นหนี้ต่อกันอย่างไร ได้มีการหักหนี้กันแล้วอย่างไร จำเลยยังคงเป็นหนี้โจทก์อยู่อีกเท่าใด