พบผลลัพธ์ทั้งหมด 393 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 327/2493
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การได้กรรมสิทธิ์จากการครอบครองปรปักษ์หลังแจ้งเจตนาเปลี่ยนลักษณะการครอบครอง
การที่จำเลยซึ่งเป็นบุตรของเจ้าหนี้ซึ่งยึดถือนาพิพาทไว้ทำต่างดอกเบี้ย ได้แจ้งแก่โจทก์ซึ่งเป็นลูกหนี้ว่า มารดาได้ยกนาพิพาทนั้นให้แล้ว จำเลยจะเอาเป็นกรรมสิทธิ์และยอมเพิ่มเงินให้โจทก์ ซึ่งฝ่ายโจทก์ก็ตกลง แต่การโอนทะเบียนขัดข้องจึงเลยไม่ได้ให้เงินที่เพิ่มขึ้นนั้นแก่โจทก์ จำเลยครอบครองนาพิพาทตลอดมากว่า 10 ปีแล้ว ดังนี้ถือว่าจำเลยได้เปลี่ยนลักษณะแห่งการครอบครองแทนเป็นครอบครองในฐานะเป็นเจ้าของตั้งแต่แจ้งแก่โจทก์ดังกล่าว จำเลยย่อมได้กรรมสิทธิ์ตาม ป.ม.แพ่ง ม.1382
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1846/2493 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเปลี่ยนแปลงข้อกล่าวหาจากฆ่าคนตายโดยเจตนาเป็นประมาท และผลกระทบต่อการพิพากษา
โจทก์ฟ้องหาว่าจำเลยฆ่าคนตายโดยเจตนา ทางพิจารณาได้ความว่าจำเลยทำให้คนตายโดยประมาทถือว่าข้อเท็จจริงที่ได้ความตามทางพิจารณาต่างกับข้อเท็จ จริงที่กล่าวในฟ้องต้องพิพากษายกฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1846/2493
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเปลี่ยนแปลงข้อกล่าวหาจากฆ่าคนตายโดยเจตนาเป็นทำให้ตายโดยประมาท ทำให้ต้องยกฟ้อง
โจทก์ฟ้องหาว่า จำเลยฆ่าคนตายโดยเจตนา ทางพิจารณาได้ความว่า จำเลยทำให้คนตายโดยประมาท ถือว่าข้อเท็จจริงที่ได้ความตามทางพิจารณาต่างกับข้อเท็จจริงที่กล่าวในฟ้อง ต้องพิพากษายกฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1035/2493 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเปลี่ยนตัวเจ้าหนี้และการคงอยู่ของสัญญาเดิม ไม่ถือเป็นการขาดอายุความของสิทธิเรียกร้อง
เจ้าของที่ดินร่วมกัน 2 คนไปกู้เงินเขามาแล้วมอบโฉนดและที่ดินให้ผู้ให้กู้ทำต่างดอกเบี้ย ภายหลังเจ้าของร่วมคนหนึ่งถึงแก่กรรมเจ้าของร่วมคนที่เหลือจึงให้คนอื่นไปไถ่ที่ดินมาจากผู้ให้กู้เดิม เมื่อไถ่มาแล้วหาได้ทำใบกู้ใหม่ไม่คนอื่นนั้นคงรับสัญญากู้ฉบับเดิมนั้นเองมายึดถือไว้ดังนี้เป็นเรื่องเปลี่ยนตัวเจ้า หนี้หาได้มีการเปลี่ยนตัวลูกหนี้ไม่ การครอบครองของเจ้าหนี้ยังคงเป็นการครอบครองแทน ลูกหนี้ทั้งหมดทายาทของเจ้าของร่วมที่ถึงแก่กรรม จึงมาฟ้องขอแบ่งที่ดินจากเจ้าของร่วมที่มีชีวิตอยู่ได้ ไม่ถือว่าคดีขาดอายุความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 660/2492
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขายข้าวเกินราคาที่ตกลงในที่ประชุม ไม่ถือเป็นการฝ่าฝืนประกาศเดิม หากทางการอนุมัติให้เปลี่ยนแปลงได้
ข้าหลวงประจำจังหวัดในฐานะพนักงานเจ้าหน้าที่ ตามพระราชบัญญัติการค้าข้าว ได้ออกประกาศกำหนดราคาข้าวสารที่ 1 กระสอบละ 115 บาทต่อมาข้าวมีราคาสูงขึ้นถึงกระสอบละ 180-190 บาทข้าหลวงประจำจังหวัดพร้อมทั้ง คณะกรรมการจังหวัดและเจ้าของโรงสีต่างๆมาประชุมพร้อมกันตกลงขอให้เจ้าของโรงสีขายข้าวช่วยเหลือข้าราชการในราคาถูกก่อน คือ ข้าวที่ 1 กระสอบละ 145 บาท ส่วนประชาชนขอให้ลดลงไปบ้างหลังจากที่ได้ตกลงในที่ประชุมแล้ว จำเลยได้ขายข้าวสารให้แก่ ร.ต.ต.สุนทร ราคากระสอบละ 180 บาท ต่อจากนั้นมาได้มีประกาศยกเลิกประกาศเดิมที่ให้ขายข้าวสาร ที่ 1 กระสอบละ 115 บาทเสีย ดังนี้ เป็นที่เห็นได้ว่าโดยมติที่ประชุมดังกล่าวแล้ว เป็นเหตุให้จำเลยเข้าใจว่าทางการอนุมัติมิต้องปฏิบัติตามคำสั่งกำหนดราคาข้าวเดิมนั้นแล้วจะว่าจำเลยเจตนาฝ่าฝืนคำสั่งหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 483/2492 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำพิพากษาผูกพันคู่ความจนกว่าจะเปลี่ยนแปลงโดยศาลสูงขึ้นไป ศาลชั้นต้นเพิกถอนคำพิพากษาเดิมไม่ได้
ป.ม.วิ.แพ่งมาตรา 145 คำพิพากษาของศาลย่อมผูกพันคู่ความจนคำพิพากษานั้นจะได้ถูกเปลี่ยนแปลงไปแก้ไข กลับหรืองดเสีย ถ้าหากมี การแก้ไขเปลี่ยนแปลงกลับหรืองดเสียนี้ ตามปกติเป็นอำนาจของศาลสูงขึ้นไป คือศาลอุทธรณ์ หรือศาลฎีกา แล้วแต่กรณี ศาลชั้นต้นจะเพิกถอนคำพิพากษาของตัวเองหาได้ไม่
เดิมจำเลยฟ้องขับไล่โจทก์ในคดีนี้ออกจากที่เช่า โจทก์ต่อสู้ในคดีเดิมนั้นว่ามติของคณะกรรมการควบคุมค่าเช่าใช้ไม่ได้ ศาลชั้นต้นไม่ยอมให้โจทก์สืบในข้อนี้ พิพากษาขับไล่โจทก์ โจทก์อุทธรณ์ขอให้ทุเลาการบังคับ และให้รอการพิจารณาไว้ก่อนโดยโจทก์ได้ยื่นฟ้องทำลายมติคณะกรรมการแล้ว แต่โจทก์ยื่นอุทธรณ์เกินกำหนด ศาลจึงไม่รับอุทธรณ์ คดีนั้นถึงที่สุด ต่อมาศาลพิพากษาให้ทำลายมติคณะกรรมการ โจทก์จึงมาฟ้องคดีนี้ขอให้ทำลายคำพิพากษาในคดีเดิมที่ขับไล่โจทก์นั้นเสีย ดังนี้ โจทก์ย่อมฟ้องไม่ได้เพราะต้องห้ามตามมาตรา 144 ประกอบกับมาตรา 145 และ 148 ป.ม.วิ.แพ่ง.
เดิมจำเลยฟ้องขับไล่โจทก์ในคดีนี้ออกจากที่เช่า โจทก์ต่อสู้ในคดีเดิมนั้นว่ามติของคณะกรรมการควบคุมค่าเช่าใช้ไม่ได้ ศาลชั้นต้นไม่ยอมให้โจทก์สืบในข้อนี้ พิพากษาขับไล่โจทก์ โจทก์อุทธรณ์ขอให้ทุเลาการบังคับ และให้รอการพิจารณาไว้ก่อนโดยโจทก์ได้ยื่นฟ้องทำลายมติคณะกรรมการแล้ว แต่โจทก์ยื่นอุทธรณ์เกินกำหนด ศาลจึงไม่รับอุทธรณ์ คดีนั้นถึงที่สุด ต่อมาศาลพิพากษาให้ทำลายมติคณะกรรมการ โจทก์จึงมาฟ้องคดีนี้ขอให้ทำลายคำพิพากษาในคดีเดิมที่ขับไล่โจทก์นั้นเสีย ดังนี้ โจทก์ย่อมฟ้องไม่ได้เพราะต้องห้ามตามมาตรา 144 ประกอบกับมาตรา 145 และ 148 ป.ม.วิ.แพ่ง.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 483/2492
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำพิพากษาผูกพันคู่ความจนกว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงโดยศาลสูงกว่าเท่านั้น ศาลชั้นต้นเพิกถอนคำพิพากษาเดิมไม่ได้
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 145 คำพิพากษาของศาลย่อมผูกพันคู่ความจนคำพิพากษานั้นจะได้ถูกเปลี่ยนแปลงไปแก้ไข กลับหรืองดเสีย ถ้าหากมี การแก้ไขเปลี่ยนแปลงกลับหรืองดเสียนี้ตามปกติเป็นอำนาจของศาลสูงขึ้นไป คือศาลอุทธรณ์ หรือศาลฎีกา แล้วแต่กรณี ศาลชั้นต้นจะเพิกถอนคำพิพากษาของตัวเองหาได้ไม่
เดิมจำเลยฟ้องขับไล่โจทก์ในคดีนี้ออกจากที่เช่า โจทก์ต่อสู้ในคดีเดิมนั้นว่ามติของคณะกรรมการควบคุมค่าเช่าใช้ไม่ได้ ศาลชั้นต้นไม่ยอมให้โจทก์สืบในข้อนี้ พิพากษาขับไล่โจทก์ โจทก์อุทธรณ์ขอให้ทุเลาการบังคับ และให้รอการพิจารณาไว้ก่อนโดยโจทก์ได้ยื่นฟ้องทำลายมติคณะกรรมการแล้ว แต่โจทก์ยื่นอุทธรณ์เกินกำหนด ศาลจึงไม่รับอุทธรณ์
คดีนั้นถึงที่สุด ต่อมาศาลพิพากษาให้ทำลายมติคณะกรรมการโจทก์จึงมาฟ้องคดีนี้ขอให้ทำลายคำพิพากษาในคดีเดิมที่ขับไล่โจทก์นั้นเสียดังนี้ โจทก์ย่อมฟ้องไม่ได้เพราะต้องห้ามตามมาตรา 144 ประกอบกับมาตรา 145 และ 148 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
เดิมจำเลยฟ้องขับไล่โจทก์ในคดีนี้ออกจากที่เช่า โจทก์ต่อสู้ในคดีเดิมนั้นว่ามติของคณะกรรมการควบคุมค่าเช่าใช้ไม่ได้ ศาลชั้นต้นไม่ยอมให้โจทก์สืบในข้อนี้ พิพากษาขับไล่โจทก์ โจทก์อุทธรณ์ขอให้ทุเลาการบังคับ และให้รอการพิจารณาไว้ก่อนโดยโจทก์ได้ยื่นฟ้องทำลายมติคณะกรรมการแล้ว แต่โจทก์ยื่นอุทธรณ์เกินกำหนด ศาลจึงไม่รับอุทธรณ์
คดีนั้นถึงที่สุด ต่อมาศาลพิพากษาให้ทำลายมติคณะกรรมการโจทก์จึงมาฟ้องคดีนี้ขอให้ทำลายคำพิพากษาในคดีเดิมที่ขับไล่โจทก์นั้นเสียดังนี้ โจทก์ย่อมฟ้องไม่ได้เพราะต้องห้ามตามมาตรา 144 ประกอบกับมาตรา 145 และ 148 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 399/2492 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยอมแพ้คดีหลังแถลงยอมสาบาลต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ การเปลี่ยนแปลงคำแถลงภายหลังย่อมรับฟังไม่ได้
คู่ความได้แถลงต่อศาลโดยจำเลยแถลงว่า ถ้าโจทก์สาบาลต่อสิ่งศักดิสิทธิได้ว่าโจทก์ได้ให้จำเลยกู้เงินไปจริงตามฟ้อง จำเลยยอมแพ้คดี ถ้าโจทก์ไม่ยอมสาบาล โจทก์ยอมแพ้ ครั้งถึงกำหนดนัด โจทก์ไม่ยอมสาบาล ศาลชั้นต้นจดรายงานพิจารณาไว้ชัดเจนว่า ฝ่ายโจทก์ไม่ยอมสาบาลจึงเป็นอันว่าโจทก์ยอมแพ้คดีแก่จำเลย (ที่ 1) ในครั้งนั้นมิได้มีการกล่าวอ้างที่หลงเข้าใจผิดแต่ประการใด ต่อมาอีกหลายวัน โจทก์ยื่นคำร้องอ้างว่าเข้าใจผิดในคำสาบาล ดังนี้ ย่อมรับฟังไม่ได้
เมื่อลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดต่อเจ้าหนี้แล้ว ผู้ค้ำประกันก็หลุดพ้นจากความรับผิดไปด้วย.
เมื่อลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดต่อเจ้าหนี้แล้ว ผู้ค้ำประกันก็หลุดพ้นจากความรับผิดไปด้วย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 399/2492
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยอมแพ้คดีหลังแถลงต่อศาล การเปลี่ยนแปลงข้อตกลงภายหลังย่อมไม่รับฟังได้ ผู้ค้ำประกันหลุดพ้นความรับผิด
คู่ความได้แถลงต่อศาล โดยจำเลยแถลงว่า ถ้าโจทก์สาบานต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ได้ว่าโจทก์ได้ให้จำเลยกู้เงินไปจริงตามฟ้องจำเลยยอมแพ้คดีถ้าโจทก์ไม่ยอมสาบานโจทก์ยอมแพ้ครั้นถึงกำหนดนัด โจทก์ไม่ยอมสาบาน ศาลชั้นต้นจดรายงานพิจารณาไว้ชัดเจนว่า ฝ่ายโจทก์ไม่ยอมสาบาน จึงเป็นอันว่าโจทก์ยอมแพ้คดีแก่จำเลย (ที่1) ในครั้งนั้นมิได้มีการกล่าวอ้างที่หลงเข้าใจผิดแต่ประการใด ต่อมาอีกหลายวัน โจทก์ยื่นคำร้องอ้างว่าเข้าใจผิดในคำสาบานดังนี้ ย่อมรับฟังไม่ได้
เมื่อลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดต่อเจ้าหนี้แล้ว ผู้ค้ำประกันก็หลุดพ้นจากความรับผิดไปด้วย
เมื่อลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดต่อเจ้าหนี้แล้ว ผู้ค้ำประกันก็หลุดพ้นจากความรับผิดไปด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 241/2492 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดของผู้ขายเมื่อสินค้าไม่ถึงมือผู้ซื้อ แม้จะเปลี่ยนวิธีการขนส่ง
ทำสัญญาซื้อข้าวสารกัน 230 กระสอบที่จังหวัดเพ็ชรบุรี ตกลงให้ส่งทางรถไฟและส่งมอบกันที่จังหวัดชุมพร ผู้ขายได้ส่งข้าวสารไปให้ผู้ซื้อ 1 ตู้ 115 กระสอบ ต่อมาทางรถไฟชำรุด ผู้ซื้อตกลงให้ผู้ขายส่งข้าวที่ยังเหลืออยู่ทางเรือ ผู้ขายได้จัดการจ้างเรือบันทุกส่งไปให้ผู้ซื้อแล้วปรากฎว่าข้าวสารส่งไปไม่ถึงมือผู้ซื้อ ดังนี้ ผู้ขายคงมีหน้าที่ต้องรับผิดต่อผู้ซื้อตามเดิม
ผู้รับจ้างบันทึกนั้น ไม่ใช่ผู้ขนส่งตามความหมาย ในมาตรา 463, 608 ป.ม.แพ่งฯ
ผู้รับจ้างบันทึกนั้น ไม่ใช่ผู้ขนส่งตามความหมาย ในมาตรา 463, 608 ป.ม.แพ่งฯ