พบผลลัพธ์ทั้งหมด 46 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2243/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การคุมขังเพื่อเนรเทศผู้เคยได้สัญชาติไทยโดยการเกิดเป็นโมฆะ การหลบหนีจึงไม่เป็นความผิด
จำเลยเคยได้สัญชาติไทยโดยการเกิด ต่อมาจำเลยถูกเพิกถอนสัญชาติไทยตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 337 จึงไม่อาจเนรเทศจำเลยได้ตามพระราชบัญญัติการเนรเทศ พ.ศ. 2499 มาตรา 5 วรรคสอง ดังนี้ การที่เจ้าพนักงานคุมขังจำเลยไว้เพื่อการเนรเทศจึงเป็นการคุมขังไว้โดยไม่ชอบ เมื่อจำเลยหลบหนีไประหว่างการคุมขังดังกล่าวจึงไม่เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 190
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2243/2531
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การคุมขังเพื่อเนรเทศผู้เคยมีสัญชาติไทยโดยการเกิดเป็นคุมขังที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย การหลบหนีจึงไม่เป็นความผิด
จำเลยเคยได้สัญชาติไทยโดยการเกิด ต่อมาจำเลยถูกเพิกถอนสัญชาติไทยตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 337 จึงไม่อาจเนรเทศจำเลยได้ตามพระราชบัญญัติการเนรเทศ พ.ศ. 2499 มาตรา 5 วรรคสอง ดังนี้การที่เจ้าพนักงานคุมขังจำเลยไว้เพื่อการเนรเทศจึงเป็นการคุมขังไว้โดยไม่ชอบเมื่อจำเลยหลบหนีไประหว่างการคุมขังดังกล่าวจึงไม่เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 190
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3039/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลคุมขังจำเลยในคดีเช็ค: ประกาศคณะปฏิวัติไม่ได้ตัดสิทธิศาล
ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 196 ซึ่งได้ยกเลิกและบัญญัติความใหม่เกี่ยวกับการควบคุมตัวผู้ต้องหาไว้ในมาตรา 5 (1) แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค ฯ นั้น เป็นการเปลี่ยนแปลงแก้ไขอำนาจการควบคุมผู้ต้องหาที่ได้กระทำความผิดดังกล่าวในชั้นสอบสวนเท่านั้น ไม่รวมถึงอำนาจคุมขังจำเลยในชั้นพิจารณาของศาล ซึ่งคงเป็นไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 196 ข้อ 2 ที่บัญญัติให้พนักงานสอบสวนหรือศาลดำเนินการปล่อยตัวผู้ต้องหาหรือจำเลยตามความในมาตรา 5 ของพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค ฯนั้น เป็นบทบัญญัติที่ใช้เฉพาะผู้ต้องหาหรือจำเลยที่ถูกควบคุมหรือต้องขังอยู่ตามพระราชบัญญัติดังกล่าวในวันที่ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 196 มีผลใช้บังคับเท่านั้น หาใช่เป็นการตัดอำนาจศาลในการคุมขังจำเลยในระหว่างพิจารณาภายหลังวันดังกล่าวไม่.
ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 196 ข้อ 2 ที่บัญญัติให้พนักงานสอบสวนหรือศาลดำเนินการปล่อยตัวผู้ต้องหาหรือจำเลยตามความในมาตรา 5 ของพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค ฯนั้น เป็นบทบัญญัติที่ใช้เฉพาะผู้ต้องหาหรือจำเลยที่ถูกควบคุมหรือต้องขังอยู่ตามพระราชบัญญัติดังกล่าวในวันที่ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 196 มีผลใช้บังคับเท่านั้น หาใช่เป็นการตัดอำนาจศาลในการคุมขังจำเลยในระหว่างพิจารณาภายหลังวันดังกล่าวไม่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3039/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตการใช้ประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 196 กับอำนาจคุมขังจำเลยในชั้นพิจารณา และความชอบธรรมของสัญญาประกัน
ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 196 ซึ่งได้ยกเลิกและบัญญัติความใหม่เกี่ยวกับการควบคุมตัวผู้ต้องหาไว้ในมาตรา 5(1) แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค ฯ นั้น เป็นการเปลี่ยนแปลงแก้ไขอำนาจการควบคุมผู้ต้องหาที่ได้กระทำความผิดดังกล่าวในชั้นสอบสวนเท่านั้น ไม่รวมถึงอำนาจคุมขังจำเลยในชั้นพิจารณาของศาล ซึ่งคงเป็นไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 196 ข้อ 2 ที่บัญญัติให้พนักงานสอบสวนหรือศาลดำเนินการปล่อยตัวผู้ต้องหาหรือจำเลยตามความในมาตรา 5ของพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค ฯนั้น เป็นบทบัญญัติที่ใช้เฉพาะผู้ต้องหาหรือจำเลยที่ถูกควบคุมหรือต้องขังอยู่ตามพระราชบัญญัติดังกล่าวในวันที่ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 196 มีผลใช้บังคับเท่านั้น หาใช่เป็นการตัดอำนาจศาลในการคุมขังจำเลยในระหว่างพิจารณาภายหลังวันดังกล่าวไม่.
ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 196 ข้อ 2 ที่บัญญัติให้พนักงานสอบสวนหรือศาลดำเนินการปล่อยตัวผู้ต้องหาหรือจำเลยตามความในมาตรา 5ของพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค ฯนั้น เป็นบทบัญญัติที่ใช้เฉพาะผู้ต้องหาหรือจำเลยที่ถูกควบคุมหรือต้องขังอยู่ตามพระราชบัญญัติดังกล่าวในวันที่ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 196 มีผลใช้บังคับเท่านั้น หาใช่เป็นการตัดอำนาจศาลในการคุมขังจำเลยในระหว่างพิจารณาภายหลังวันดังกล่าวไม่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 550/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กำหนดระยะเวลายื่นฎีกาสำหรับผู้ถูกคุมขัง: การยื่นฎีกาหลังกำหนดระยะเวลา แม้ศาลชั้นต้นรับคำร้อง ก็เป็นเหตุให้ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
จำเลยมีสิทธิฎีกาคัดค้านคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภายในหนึ่งเดือนนับแต่วันอ่าน เมื่อวันครบกำหนดหนึ่งเดือนที่จำเลยจะยื่นฎีกาได้ตรงกับวันศุกร์และมิใช่วันหยุดราชการ จำเลยซึ่งถูกคุมขังอยู่ในเรือนจำก็ต้องยื่นฎีกาต่อพัสดีภายในระยะเวลาดังกล่าวเช่นกัน การที่จำเลยยื่นฎีกาต่อพัสดีเมื่อพ้นระยะเวลาหนึ่งเดือนแล้วแม้ศาลชั้นต้นได้มีคำสั่งรับฎีกาของจำเลยไว้ศาลฎีกาก็วินิจฉัยให้ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3243/2528 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขัดขวางการจับกุมและช่วยเหลือผู้ถูกคุมขัง: การกระทำความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา
ขณะที่ร้อยตำรวจตรี พ. ควบคุมตัว ส. ผู้ต้องหา ใน ข้อหาไม่ยืนทำความเคารพเพลงสรรเสริญพระบารมี ซึ่งเป็นความผิดมีโทษตามพระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ พุทธศักราช 2485 จะนำขึ้นรถยนต์ไปสถานีตำรวจเพื่อดำเนินคดีจำเลยได้เข้าโอบกอดจับตัว ร้อยตำรวจตรี พ. ไว้ และพวกของจำเลยอีกสองคนได้ช่วยกันยื้อแย่งเอาตัว ส. ขึ้นรถยนต์หลบหนีไปถือว่า ส. ถูกคุมขังอยู่ตามอำนาจของเจ้าพนักงานผู้มีอำนาจสืบสวนคดีอาญาตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 1 (12), 191 แล้วการกระทำของ จำเลยจึงเป็นความผิดตามมาตรา 138, 140, 191
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3243/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงานและช่วยเหลือผู้ถูกคุมขังหลบหนี ถือเป็นความผิดอาญา
ขณะที่ร้อยตำรวจตรี พ.ควบคุมตัวส. ผู้ต้องหา ในข้อหาไม่ยืนทำความเคารพเพลงสรรเสริญพระบารมี ซึ่งเป็นความผิดมีโทษตามพระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ พุทธศักราช 2485 จะนำขึ้นรถยนต์ไปสถานีตำรวจเพื่อดำเนินคดีจำเลยได้เข้าโอบกอดจับตัวร้อยตำรวจตรีพ.ไว้ และพวกของจำเลยอีกสองคนได้ช่วยกันยื้อแย่งเอาตัว ส. ขึ้นรถยนต์หลบหนีไปถือว่า ส.ถูกคุมขังอยู่ตามอำนาจของเจ้าพนักงานผู้มีอำนาจสืบสวนคดีอาญา ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 1(12),191 แล้วการกระทำของ จำเลยจึงเป็นความผิดตามมาตรา 138,140,191
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 757/2521
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การหักวันคุมขังสำหรับผู้ถูกควบคุมทั้งในฐานะภัยต่อสังคมและผู้ต้องหาอาญา
คำสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ฉบับที่ 22 นอกจากจะมุ่งหมายให้พนักงานฝ่ายปกครองและตำรวจมีอำนาจควบคุมและสอบสวนผู้เป็นภัยต่อสังคมเพื่อการอบรมแล้ว ยังให้อำนาจพนักงานสอบสวนควบคุมผู้นั้นเพื่อดำเนินคดีอาญาโดยไม่ต้องปฏิบัติตามวิธีการและกำหนดระยะเวลาควบคุมดังบัญญัติไว้ในกฎหมายอีกด้วย คดีนี้ นอกจากจำเลยจะถูกเรียกตัวมาสอบสวนเพื่ออบรมฐานเป็นบุคคลที่เป็นภัยต่อสังคมแล้ว ยังถูกตั้งข้อหาว่าได้กระทำผิดอาญาด้วย ดังนั้น การที่จำเลยถูกควบคุมตัวอยู่ระหว่างนั้นต้องถือว่าถูกควบคุมไว้เพื่อสอบสวนคดีความผิดอาญาด้วยจึงชอบที่จะต้องหักวันคุมขังให้ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 22
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2159/2518 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าพนักงานเรียกเงินจากผู้ต้องหาเพื่อไม่จับกุม ไม่ถือเป็นการคุมขังและเรียกทรัพย์สินโดยมิชอบ
จำเลยที่ 1 ที่ 2 ที่ 3 เป็นเจ้าหน้าทีตำรวจ มีหน้าที่สืบสวนและจับกุมผู้กระทำผิดกฎหมาย ได้ร่วมกันตรวจค้นพบกัญชาและกล้องสูบกัญชาซึ่งเป็นของผิดกฎหมายในบ้านพักขง จ. แล้วไม่จับกุมนำส่งพนักงานสอบสวนเพื่อดำเนินคดีตามกฎหมายตามตำแหน่งหน้าที่ของตน แต่กลับร่วมกับจำเลยที่ 4 ซึ่งเป็นพลเรือนเรียกร้องเอาเงินจาก ว.เพื่อไม่กระทำการจับกุมตามหน้าที่แล้วให้ ว. ไปเอาเงินมาให้ ดังนี้ การกระทำของจำเลยที่ 1 ที่ 2 ที่ 3 เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 149 แต่ไม่เป็นความผิดตามมาตรา 148 เพราะจำเลยไม่ได้ใช้อำนาจในตำแหน่งโดยมิชอบโดยแล้งขู่ว่าจะจับ ว. โดยไม่ได้กระทำความผิดและเมื่อการกระทำของจำเลยที่ 1 ที่ 2 ที่ 3 เป็นความผิดตามมาตรา 149 ซึ่งเป็นบทเฉพาะแล้วแม้โจทก์จะขอให้ลงโทษตามมาตรา 157 มาด้วย ก็ไม่จำต้องปรับบทด้วยมาตรา 157 ซึ่งเป็นบททั่วไปอีกบทหนึ่ง ส่วนจำเลยที่ 4 ซึ่งเป็นพลเรือน มีฐานะเป็นผู้สนับสนุนการกระทำผิดของจำเลยที่ 2 ที่ 3 จึงมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 149,86 เท่านั้น
ในกรณีดังกล่าวข้างต้น การที่จำเลยที่ 1 ที่ 2 ที่ 3 เรียกเงินจาก ว.แล้วให้ ว.ไปเอาเงินก็เพื่อจะไม่จับกุม ว. ไม่ใช่ว่าจับกุมแล้วเรียกเงินเพื่อจะปล่อยแม้ขณะที่ ว. จะไปเอาเงิน จำเลยจะให้พวกจำเลยคนหนึ่งไปด้วยเป็นทำนองว่าเพื่อควบคุมตัว ว. โดยปริยาย แต่เมื่อมีผู้ทักท้วงขึ้น จำเลยก็มิได้ไปด้วย เพียงแต่ให้ ว. ลงชื่อในบันทึกการจับกุมไว้เท่านั้น โดยกล่าวว่าถ้าไม่ยอมลงชื่อจะจับไปสถานีตำรวจ ตามพฤติการณ์ดังกล่าวจึงยังถือไม่ได้ว่าจำเลยได้จับควบคุมตัว ว.อันจะเข้าเกณฑ์ว่ามีการคุมขังแล้วดังที่บัญญํติไว้ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 191 ตามที่แก้ไข และมาตรา 204 จึงไม่มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 191, 204
การที่ศาลอุทธรณ์ปรับบทลงโทษจำเลยมานั้นยังคลาดเคลื่อนอยู่ เมื่อศาลฎีกาเห็นสมควรแก้ไขให้ถูกต้อง และเป็นเหตุอยู่ในส่วนลักษณะคดี ศาลฎีกย่อมมีอำนาจพิพากษาแก้ตลอดไปถึงจำเลยที่มิได้ฎีกาในปัญหาดังกล่าวนี้ด้วย
ในกรณีดังกล่าวข้างต้น การที่จำเลยที่ 1 ที่ 2 ที่ 3 เรียกเงินจาก ว.แล้วให้ ว.ไปเอาเงินก็เพื่อจะไม่จับกุม ว. ไม่ใช่ว่าจับกุมแล้วเรียกเงินเพื่อจะปล่อยแม้ขณะที่ ว. จะไปเอาเงิน จำเลยจะให้พวกจำเลยคนหนึ่งไปด้วยเป็นทำนองว่าเพื่อควบคุมตัว ว. โดยปริยาย แต่เมื่อมีผู้ทักท้วงขึ้น จำเลยก็มิได้ไปด้วย เพียงแต่ให้ ว. ลงชื่อในบันทึกการจับกุมไว้เท่านั้น โดยกล่าวว่าถ้าไม่ยอมลงชื่อจะจับไปสถานีตำรวจ ตามพฤติการณ์ดังกล่าวจึงยังถือไม่ได้ว่าจำเลยได้จับควบคุมตัว ว.อันจะเข้าเกณฑ์ว่ามีการคุมขังแล้วดังที่บัญญํติไว้ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 191 ตามที่แก้ไข และมาตรา 204 จึงไม่มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 191, 204
การที่ศาลอุทธรณ์ปรับบทลงโทษจำเลยมานั้นยังคลาดเคลื่อนอยู่ เมื่อศาลฎีกาเห็นสมควรแก้ไขให้ถูกต้อง และเป็นเหตุอยู่ในส่วนลักษณะคดี ศาลฎีกย่อมมีอำนาจพิพากษาแก้ตลอดไปถึงจำเลยที่มิได้ฎีกาในปัญหาดังกล่าวนี้ด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1338/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสนับสนุนการหลบหนีของผู้ต้องขัง ศาลฎีกาวินิจฉัยว่าจำเลยมีความผิดฐานสนับสนุน ไม่ใช่ทำให้หลุดพ้นจากการคุมขัง
จำเลยส่งใบเลื่อยให้แก่ ห. ซึ่งถูกคุมขังตามอำนาจของพนักงานสอบสวน ห. ใช้ใบเลื่อยที่จำเลยส่งให้นั้นเลื่อยลูกกรงห้องขังแล้วหลบหนีไป การกระทำของจำเลยมิได้เป็นการทำให้ ห. หลุดพ้นจากการคุมขังอันเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 191 แต่จำเลยเป็นเพียงผู้สนับสนุนให้ ห. ผู้ถูกคุมขังหลบหนีจากการคุมขังซึ่งเป็นความผิดตามมาตรา 190 ประกอบด้วยมาตรา 86
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 191 แต่บรรยายฟ้องมาเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 190 ประกอบด้วยมาตรา 86 จึงเป็นการอ้างบทมาตราผิด ศาลมีอำนาจลงโทษจำเลยตามบทมาตราที่ถูกต้องได้
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 191 แต่บรรยายฟ้องมาเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 190 ประกอบด้วยมาตรา 86 จึงเป็นการอ้างบทมาตราผิด ศาลมีอำนาจลงโทษจำเลยตามบทมาตราที่ถูกต้องได้