พบผลลัพธ์ทั้งหมด 70 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 833/2523 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อาวัลตั๋วแลกเงิน: ผู้จ่ายเป็นผู้รับอาวัลได้, สิทธิสั่งห้ามการจ่ายเงินไม่มีผล
โจทก์ออกตั๋วแลกเงินสั่งสาขาธนาคารจำเลยที่ 3 ให้จ่ายเงินแก่จำเลยที่ 1 หรือตามคำสั่ง โดยสาขาธนาคารของจำเลยที่ 3 ผู้จ่ายลงลายมือชื่อด้านหน้าของตั๋วแลกเงินใต้ข้อความว่า "เป็นอาวัลค้ำประกันผู้สั่งจ่าย" ต้องถือว่าการลงลายมือชื่อของสาขาธนาคารจำเลยที่ 3 ดังกล่าวเป็นอาวัล และผู้จ่ายเป็นผู้รับอาวัลได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 938 วรรคสองตอนสุดท้าย
มาตรา 939 วรรคสามที่บัญญัติว่า "อนึ่งเพียงแต่ลงลายมือชื่อผู้รับอาวัลในด้านหน้าแห่งตั๋วเงิน ท่านก็จัดว่าเป็นคำรับอาวัลแล้ว เว้นแต่เป็นลายมือชื่อของผู้จ่ายหรือสั่งจ่าย" นั้นหมายความว่า ถ้าผู้จ่ายลงลายมือชื่อด้านหน้าของตั๋วเงินอย่างเดียวโดยไม่มีถ้อยสำนวนตามที่บัญญัติไว้ในวรรคสอง กฎหมายจึงไม่ให้ถือว่าเป็นคำรับอาวัล เพราะการลงลายมือชื่อดังกล่าวเป็นการรับรองการจ่ายเงินตามมาตรา 931 อยู่แล้ว หากมาตรา 939 วรรคสามไม่ยกเว้นไว้ก็จะเป็นทั้งคำรับรองการจ่ายเงินและคำรับอาวัลซ้ำกัน ไม่อาจทราบได้ว่าลงลายมือชื่อในฐานะใด
สาขาธนาคารจำเลยที่ 3 เป็นผู้รับอาวัลต้องบังคับตามมาตรา 9401คือจำเลยที่ 3 มีความผูกพันอย่าเดียวกับโจทก์ผู้สั่งจ่าย การที่จำเลยที่ 3 จ่ายเงินตามตั๋วเงินซึ่งสาขาของตนรับอาวัลจึงเป็นการปฏิบัติไปตามกฎหมาย โจทก์ผู้สั่งจ่ายไม่มีอำนาจสั่งห้ามจำเลยที่ 3 จ่ายเงิน
อำนาจสั่งห้ามตามมาตรา 992 เป็นบทบัญญัติว่าด้วยเรื่องเช็คโดยเฉพาะจะนำมาใช้กับตั๋วแลกเงินไม่ได้
มาตรา 939 วรรคสามที่บัญญัติว่า "อนึ่งเพียงแต่ลงลายมือชื่อผู้รับอาวัลในด้านหน้าแห่งตั๋วเงิน ท่านก็จัดว่าเป็นคำรับอาวัลแล้ว เว้นแต่เป็นลายมือชื่อของผู้จ่ายหรือสั่งจ่าย" นั้นหมายความว่า ถ้าผู้จ่ายลงลายมือชื่อด้านหน้าของตั๋วเงินอย่างเดียวโดยไม่มีถ้อยสำนวนตามที่บัญญัติไว้ในวรรคสอง กฎหมายจึงไม่ให้ถือว่าเป็นคำรับอาวัล เพราะการลงลายมือชื่อดังกล่าวเป็นการรับรองการจ่ายเงินตามมาตรา 931 อยู่แล้ว หากมาตรา 939 วรรคสามไม่ยกเว้นไว้ก็จะเป็นทั้งคำรับรองการจ่ายเงินและคำรับอาวัลซ้ำกัน ไม่อาจทราบได้ว่าลงลายมือชื่อในฐานะใด
สาขาธนาคารจำเลยที่ 3 เป็นผู้รับอาวัลต้องบังคับตามมาตรา 9401คือจำเลยที่ 3 มีความผูกพันอย่าเดียวกับโจทก์ผู้สั่งจ่าย การที่จำเลยที่ 3 จ่ายเงินตามตั๋วเงินซึ่งสาขาของตนรับอาวัลจึงเป็นการปฏิบัติไปตามกฎหมาย โจทก์ผู้สั่งจ่ายไม่มีอำนาจสั่งห้ามจำเลยที่ 3 จ่ายเงิน
อำนาจสั่งห้ามตามมาตรา 992 เป็นบทบัญญัติว่าด้วยเรื่องเช็คโดยเฉพาะจะนำมาใช้กับตั๋วแลกเงินไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 833/2523
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อาวัลตั๋วแลกเงิน: การระบุสถานะผู้รับอาวัลและขอบเขตอำนาจของผู้สั่งจ่าย
โจทก์ออกตั๋วแลกเงินสั่งสาขาธนาคารจำเลยที่ 3 ให้จ่ายเงินแก่จำเลยที่ 1 หรือตามคำสั่ง โดยสาขาธนาคารของจำเลยที่ 3 ผู้จ่ายลงลายมือชื่อด้านหน้าของตั๋วแลกเงินใต้ข้อความว่า 'เป็นอาวัลค้ำประกันผู้สั่งจ่าย' ต้องถือว่าการลงลายมือชื่อของสาขาธนาคารจำเลยที่ 3 ดังกล่าวเป็นอาวัล และผู้จ่ายเป็นผู้รับอาวัลได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 938 วรรคสองตอนสุดท้าย
มาตรา 939 วรรคสามที่บัญญัติว่า 'อนึ่งเพียงแต่ลงลงลายมือชื่อผู้รับอาวัลในด้านหน้าแห่งตั๋วเงิน ท่านก็จัดว่าเป็นคำรับอาวัลแล้ว เว้นแต่เป็นลายมือชื่อของผู้จ่ายหรือผู้สั่งจ่าย' นั้นหมายความว่า ถ้าผู้จ่ายลงลายมือชื่อด้านหน้าของตั๋วเงินอย่างเดียวโดยไม่มีถ้อยคำสำนวนตามที่บัญญัติไว้ในวรรคสอง กฎหมายจึงไม่ให้ถือว่าเป็นคำรับอาวัล เพราะการลงลายมือชื่อดังกล่าวเป็นการรับรองการจ่ายเงินตามมาตรา 931 อยู่แล้ว หากมาตรา939 วรรคสามไม่ยกเว้นไว้ก็จะเป็นทั้งคำรับรองการจ่ายเงินและคำรับอาวัลซ้ำกัน ไม่อาจทราบได้ว่าลงลายมือชื่อในฐานะใด
สาขาธนาคารจำเลยที่ 3 เป็นผู้รับอาวัลต้องบังคับตามมาตรา 940 คือจำเลยที่ 3 มีความผูกพันอย่างเดียวกับโจทก์ผู้สั่งจ่าย การที่จำเลยที่ 3 จ่ายเงินตามตั๋วแลกเงินซึ่งสาขาของตนรับอาวัลจึงเป็นการปฏิบัติไปตามกฎหมาย โจทก์ผู้สั่งจ่ายไม่มีอำนาจสั่งห้ามจำเลยที่ 3 จ่ายเงิน
อำนาจสั่งห้ามตามมาตรา 992 เป็นบทบัญญัติว่าด้วยเรื่องเช็คโดยเฉพาะจะนำมาใช้กับตั๋วแลกเงินไม่ได้
มาตรา 939 วรรคสามที่บัญญัติว่า 'อนึ่งเพียงแต่ลงลงลายมือชื่อผู้รับอาวัลในด้านหน้าแห่งตั๋วเงิน ท่านก็จัดว่าเป็นคำรับอาวัลแล้ว เว้นแต่เป็นลายมือชื่อของผู้จ่ายหรือผู้สั่งจ่าย' นั้นหมายความว่า ถ้าผู้จ่ายลงลายมือชื่อด้านหน้าของตั๋วเงินอย่างเดียวโดยไม่มีถ้อยคำสำนวนตามที่บัญญัติไว้ในวรรคสอง กฎหมายจึงไม่ให้ถือว่าเป็นคำรับอาวัล เพราะการลงลายมือชื่อดังกล่าวเป็นการรับรองการจ่ายเงินตามมาตรา 931 อยู่แล้ว หากมาตรา939 วรรคสามไม่ยกเว้นไว้ก็จะเป็นทั้งคำรับรองการจ่ายเงินและคำรับอาวัลซ้ำกัน ไม่อาจทราบได้ว่าลงลายมือชื่อในฐานะใด
สาขาธนาคารจำเลยที่ 3 เป็นผู้รับอาวัลต้องบังคับตามมาตรา 940 คือจำเลยที่ 3 มีความผูกพันอย่างเดียวกับโจทก์ผู้สั่งจ่าย การที่จำเลยที่ 3 จ่ายเงินตามตั๋วแลกเงินซึ่งสาขาของตนรับอาวัลจึงเป็นการปฏิบัติไปตามกฎหมาย โจทก์ผู้สั่งจ่ายไม่มีอำนาจสั่งห้ามจำเลยที่ 3 จ่ายเงิน
อำนาจสั่งห้ามตามมาตรา 992 เป็นบทบัญญัติว่าด้วยเรื่องเช็คโดยเฉพาะจะนำมาใช้กับตั๋วแลกเงินไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 653/2521 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเรียกร้องดอกเบี้ยจากตั๋วแลกเงิน แม้ไม่มีข้อตกลงดอกเบี้ย ผู้รับรองตั๋วแลกเงินต้องรับผิดร่วมกับผู้อื่น
ในกรณีตั๋วแลกเงินมิได้ระบุถึงเรื่องดอกเบี้ยไว้ แม้เป็นกรณีที่โจทก์ผู้ทรงใช้สิทธิเรียกร้องโดยตรงจากจำเลยที่ 1 ผู้จ่ายซึ่งได้ทำการรับรองตั๋วแลกเงินแล้วไม่ใช่เรียกร้องเอาจากบุคคลอื่นซึ่งตนใช้สิทธิไล่เบี้ยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 968 โจทก์ก็มีสิทธิเรียกเอาดอกเบี้ยได้เมื่อตั๋วแลกเงินถึงกำหนดชำระและมีการผิดนัดแล้วตามหลักหนี้ทั่วไปดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 204, 224
เมื่อโจทก์ผู้ทรงมีสิทธิไล่เบี้ยเรียกเอาดอกเบี้ยอัตราร้อยละห้าต่อปีนับแต่วันถึงกำหนดชำระจากบรรดาผู้สลักหลัง ผู้สั่งจ่าย และบุคคลอื่น ๆ ซึ่งต้องรับผิดตามตั๋วแลกเงินนั้นได้แล้ว ก็ย่อมมีสิทธิเรียกเอาดอกเบี้ยในอัตราร้อยละห้าต่อปีจากจำเลยที่ 1 ผู้รับรองตั๋วแลกเงินซึ่งต้องร่วมกันกับบุคคลดังกล่าวรับผิดต่อโจทก์ผู้ทรงได้ด้วยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 967, 968 (2)
เมื่อโจทก์ผู้ทรงมีสิทธิไล่เบี้ยเรียกเอาดอกเบี้ยอัตราร้อยละห้าต่อปีนับแต่วันถึงกำหนดชำระจากบรรดาผู้สลักหลัง ผู้สั่งจ่าย และบุคคลอื่น ๆ ซึ่งต้องรับผิดตามตั๋วแลกเงินนั้นได้แล้ว ก็ย่อมมีสิทธิเรียกเอาดอกเบี้ยในอัตราร้อยละห้าต่อปีจากจำเลยที่ 1 ผู้รับรองตั๋วแลกเงินซึ่งต้องร่วมกันกับบุคคลดังกล่าวรับผิดต่อโจทก์ผู้ทรงได้ด้วยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 967, 968 (2)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 653/2521
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ดอกเบี้ยตั๋วแลกเงิน: สิทธิเรียกดอกเบี้ยจากผู้รับรอง แม้ไม่ได้ไล่เบี้ย
ในกรณีตั๋วแลกเงินมิได้ระบุถึงเรื่องดอกเบี้ยไว้ แม้เป็นกรณีที่โจทก์ผู้ทรงใช้สิทธิเรียกร้องโดยตรงจากจำเลยที่ 1 ผู้จ่ายซึ่งได้ทำการรับรองตั๋วแลกเงินแล้ว ไม่ใช่เรียกร้องเอาจากบุคคลซึ่งตนใช้สิทธิไล่เบี้ยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 968 โจทก์ก็มีสิทธิเรียกเอาดอกเบี้ยได้เมื่อตั๋วแลกเงินถึงกำหนดชำระและมีการผิดนัดแล้วตามหลักหนี้ทั่วไปดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 204,224
เมื่อโจทก์ผู้ทรงมีสิทธิไล่เบี้ยเรียกเอาดอกเบี้ยอัตราร้อยละห้าต่อปีนับแต่วันถึงกำหนดชำระจากบรรดาผู้สลักหลังผู้สั่งจ่าย และบุคคลอื่น ๆ ซึ่งต้องรับผิดตามตั๋วแลกเงินนั้นได้แล้วก็ย่อมมีสิทธิเรียกเอาดอกเบี้ยในอัตราร้อยละห้าต่อปีจากจำเลยที่ 1 ผู้รับรองตั๋วแลกเงินซึ่งต้องร่วมกันกับบุคคลดังกล่าวรับผิดต่อโจทก์ผู้ทรงได้ด้วยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 967,968(2)
เมื่อโจทก์ผู้ทรงมีสิทธิไล่เบี้ยเรียกเอาดอกเบี้ยอัตราร้อยละห้าต่อปีนับแต่วันถึงกำหนดชำระจากบรรดาผู้สลักหลังผู้สั่งจ่าย และบุคคลอื่น ๆ ซึ่งต้องรับผิดตามตั๋วแลกเงินนั้นได้แล้วก็ย่อมมีสิทธิเรียกเอาดอกเบี้ยในอัตราร้อยละห้าต่อปีจากจำเลยที่ 1 ผู้รับรองตั๋วแลกเงินซึ่งต้องร่วมกันกับบุคคลดังกล่าวรับผิดต่อโจทก์ผู้ทรงได้ด้วยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 967,968(2)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1416/2521 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ตั๋วแลกเงิน: สิทธิเรียกร้อง, ดอกเบี้ย, และผลของการสละตั๋ว
กฎหมายมิได้บังคับให้ต้องนำผู้แปลเอกสารภาษาต่างประเทศมาสืบเพื่อรับรองความถูกต้องของคำแปล เมื่อจำเลยเห็นว่าคำแปลตอนไหนไม่ถูกต้องหรือคลาดเคลื่อนอย่างไร จำเลยก็ชอบที่จะโต้แย้งหรือแสดงคำแปลที่ถูกต้องได้
การที่โจทก์ผู้สั่งจ่ายและต้องรับผิดเมื่อจำเลยผู้จ่ายซึ่งได้รับรองตั๋วแลกเงินแล้วไม่ยอมจ่ายเงินนั้น ได้เข้าถือเอาตั๋วแลกเงินโดยผู้รับเงินและตัวแทนสละตั๋วแลกเงินนั้นให้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 970 โจทก์จึงมีสิทธิเรียกเอาเงินตามตั๋วแลกเงินและดอกเบี้ยในจำนวนเงินนั้น คิดอัตราร้อยละห้าต่อปี นับแต่วันที่ได้ใช้เงินไปได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 969
เมื่อหนี้ตามตั๋วแลกเงินมีกำหนดระยะเวลาชำระแน่นอนอยู่แล้ว โจทก์ไม่จำต้องบอกกล่าวทวงถามอีก
การที่โจทก์ผู้สั่งจ่ายและต้องรับผิดเมื่อจำเลยผู้จ่ายซึ่งได้รับรองตั๋วแลกเงินแล้วไม่ยอมจ่ายเงินนั้น ได้เข้าถือเอาตั๋วแลกเงินโดยผู้รับเงินและตัวแทนสละตั๋วแลกเงินนั้นให้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 970 โจทก์จึงมีสิทธิเรียกเอาเงินตามตั๋วแลกเงินและดอกเบี้ยในจำนวนเงินนั้น คิดอัตราร้อยละห้าต่อปี นับแต่วันที่ได้ใช้เงินไปได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 969
เมื่อหนี้ตามตั๋วแลกเงินมีกำหนดระยะเวลาชำระแน่นอนอยู่แล้ว โจทก์ไม่จำต้องบอกกล่าวทวงถามอีก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1416/2521
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ตั๋วแลกเงิน: สิทธิเรียกร้องเงิน, ดอกเบี้ย, และผลของการเวนคืนตั๋ว
กฎหมายมิได้บังคับให้ต้องนำผู้แปลเอกสารภาษาต่างประเทศมาสืบเพื่อรับรองความถูกต้องของคำแปล เมื่อจำเลยเห็นว่าคำแปลตอนไหนไม่ถูกต้องหรือคลาดเคลื่อนอย่างไรจำเลยก็ชอบที่จะโต้แย้งหรือแสดงคำแปลที่ถูกต้องได้
การที่โจทก์ผู้สั่งจ่ายและต้องรับผิดเมื่อจำเลยผู้จ่ายซึ่งได้รับรองตั๋วแลกเงินแล้วไม่ยอมจ่ายเงินนั้น ได้เข้าถือเอาตั๋วแลกเงินโดยผู้รับเงินและตัวแทนสละตั๋วแลกเงินนั้นให้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 970 โจทก์จึงมีสิทธิเรียกเอาเงินตามตั๋วแลกเงินและดอกเบี้ยในจำนวนเงินนั้นคิดอัตราร้อยละห้าต่อปีนับแต่วันที่ได้ใช้เงินไปได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 969
เมื่อหนี้ตามตั๋วแลกเงินมีกำหนดระยะเวลาชำระแน่นอนอยู่แล้วโจทก์ไม่จำต้องบอกกล่าวทวงถามอีก
การที่โจทก์ผู้สั่งจ่ายและต้องรับผิดเมื่อจำเลยผู้จ่ายซึ่งได้รับรองตั๋วแลกเงินแล้วไม่ยอมจ่ายเงินนั้น ได้เข้าถือเอาตั๋วแลกเงินโดยผู้รับเงินและตัวแทนสละตั๋วแลกเงินนั้นให้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 970 โจทก์จึงมีสิทธิเรียกเอาเงินตามตั๋วแลกเงินและดอกเบี้ยในจำนวนเงินนั้นคิดอัตราร้อยละห้าต่อปีนับแต่วันที่ได้ใช้เงินไปได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 969
เมื่อหนี้ตามตั๋วแลกเงินมีกำหนดระยะเวลาชำระแน่นอนอยู่แล้วโจทก์ไม่จำต้องบอกกล่าวทวงถามอีก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 857/2518 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องแย้งเกี่ยวเนื่องกับคำฟ้องเดิม: มูลหนี้จากตั๋วแลกเงินเชื่อมโยงกับสัญญาซื้อขาย, ศาลรับฟ้องแย้งได้
โจทก์ฟ้องขอให้จำเลยชำระเงินตามตั๋วแลกเงิน 4 ฉบับซึ่งจำเลยเป็นผู้รับรองโดยกล่าวในฟ้องว่า มูลค่าของตั๋วแต่ละฉบับคือมูลค่าของสินค้าซึ่งจำเลยสั่งซื้อและรับไปจากโจทก์แล้ว จำเลยให้การและฟ้องแย้งว่ามูลหนี้ตามตั๋วที่โจทก์ฟ้องเกิดจากสัญญาซื้อขายเหล็กเส้นที่จำเลยซื้อจากโจทก์ โจทก์เป็นฝ่ายผิดสัญญา จำเลยจึงจำต้องยับยั้งการจ่ายเงินตามตั๋ว และการผิดสัญญาซึ่งเป็นมูลหนี้ของตั๋วเหล่านี้เป็นเหตุให้จำเลยเสียหาย จึงฟ้องแย้งเรียกค่าเสียหายดังนี้ฟ้องแย้งเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับคำฟ้องเดิม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2598/2518 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องตั๋วสัญญาใช้เงิน: กำหนด 3 ปีตามมาตรา 1001 แตกต่างจากตั๋วแลกเงิน/เช็ค
อายุความฟ้องผู้ออกตั๋วสัญญาใช้เงินมีกำหนด 3 ปีตามมาตรา 1001 ส่วนมาตรา 1002 เป็นกำหนดอายุความฟ้องคดีเช็คและตั๋วแลกเงิน (ในกรณีที่เป็นผู้สลักหลังและผู้สั่งจ่าย)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2598/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องคดีตั๋วสัญญาใช้เงิน: ผู้ออกตั๋วมีกำหนด 3 ปี แตกต่างจากเช็คและตั๋วแลกเงิน
อายุความฟ้องผู้ออกตั๋วสัญญาใช้เงินมีกำหนด 3 ปีตามมาตรา 1001ส่วนมาตรา 1002 เป็นกำหนดอายุความฟ้องคดีเช็คและตั๋วเงินสด(ในกรณีที่เป็นผู้สลักหลังและผู้สั่งจ่าย)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1384/2518 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การซื้อขายตั๋วแลกเงินลด การค้ำประกัน และการวินิจฉัยพยานของศาล
โจทก์ฟ้องห้างหุ้นส่วนจำกัดจำเลยที่ 1 กับจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการว่า จำเลยทั้งสองนำตั๋วแลกเงินของ อ.มาขายลดให้โจทก์ โดยตกลงว่าถ้าโจทก์เรียกเก็บเงินไม่ได้จำเลยยอมชำระเงินตามตั๋วคืนให้โจทก์ โจทก์เรียกเก็บเงินไม่ได้ จึงขอให้จำเลยร่วมกันชำระหนี้ เมื่อจำเลยให้การว่า อ.เป็นผู้ขายตั๋วแลกเงินให้โจทก์ จำเลยที่ 1 เป็นเพียงผู้ค้ำประกัน ดังนี้ การที่ศาลล่างฟังว่าจำเลยที่ 2 เชิด ช.เป็นตัวแทนของห้างจำเลยที่ 1 นำตั๋วแลกเงินไปขายลดแก่โจทก์ก็ดี และที่ศาลอุทธรณ์ฟังว่า ช.ลงชื่อเป็นผู้ค้ำประกันเป็นวิธีปฏิบัติของโจทก์ซึ่งเป็นธนาคารในกรณีที่จำเลยผู้เป็นลูกค้าเอาตั๋วแลกเงินของผู้อื่นมาขายลดให้ก็ดี เป็นอำนาจของศาลในการที่จะวินิจฉัยและเชื่อฟังพยานที่คู่ความนำสืบเพียงใด ไม่เป็นการฟังพยานไม่ชอบหรือนอกประเด็น
จำเลยฎีกาว่า คดีของโจทก์ขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165 (1) และโจทก์ไม่มีสิทธิคิดดอกเบี้ยทบต้น แต่ข้อที่จำเลยฎีกาทั้งสองประการนี้ ศาลชั้นต้นมิได้กำหนดเป็นประเด็นไว้ จำเลยก็ไม่โต้แย้งคัดค้าน ทั้งไม่ยกขึ้นว่ากล่าวในชั้นอุทธรณ์ ศาลฎีกาย่อมไม่รับวินิจฉัย
จำเลยฎีกาว่า คดีของโจทก์ขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165 (1) และโจทก์ไม่มีสิทธิคิดดอกเบี้ยทบต้น แต่ข้อที่จำเลยฎีกาทั้งสองประการนี้ ศาลชั้นต้นมิได้กำหนดเป็นประเด็นไว้ จำเลยก็ไม่โต้แย้งคัดค้าน ทั้งไม่ยกขึ้นว่ากล่าวในชั้นอุทธรณ์ ศาลฎีกาย่อมไม่รับวินิจฉัย