พบผลลัพธ์ทั้งหมด 35 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1238/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การงดเว้นภาษีโรงเรือน เจ้าของไม่ต้องมีชื่อในทะเบียนบ้านก็ได้รับสิทธิได้
พระราชบัญญัติ ญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พุทธศักราช 2475มาตรา 10 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดินแก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2475 มาตรา 3 ไม่ได้วางหลักเกณฑ์ ว่าโรงเรือนที่เจ้าของอยู่เอง เจ้าของจะต้องมีชื่อในทะเบียนด้วยจึงจะได้รับงดเว้นไม่ต้องเสียภาษีโรงเรือนตามกฎหมาย เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่า โรงเรือนพิพาทเป็นของโจทก์และโจทก์อยู่เองแม้โจทก์จะไม่มีชื่อในทะเบียนบ้าน โจทก์ก็ย่อมได้รับงดเว้นไม่ต้องเสียภาษีโรงเรือน จำเลยที่ 1 ในฐานะผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเข้ามาเกี่ยวข้องกับคดีในฐานะผู้ชี้ขาดคำร้องขอให้พิจารณาการประเมินใหม่ของโจทก์ ตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ ไม่ปรากฏว่าจำเลยที่ 1 แกล้งชี้ขาดและรับ ชำระภาษีไว้ จำเลยที่ 1 จึงไม่ต้องร่วมกับกรุงเทพมหานครจำเลยที่ 2 คืนภาษีที่จำเลยที่ 2 รับชำระไว้ให้โจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1238/2531
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การงดเว้นภาษีโรงเรือน เจ้าของอยู่เอง แม้ไม่มีชื่อในทะเบียนบ้านก็มีสิทธิ
พระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดินพุทธศักราช 2475 มาตรา 10แก้ไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดินแก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2475 มาตรา 3 ไม่ได้วางหลักเกณฑ์ว่าโรงเรือนที่เจ้าของอยู่เอง เจ้าของจะต้องมีชื่อในทะเบียนด้วยจึงจะได้รับงดเว้นไม่ต้องเสียภาษีโรงเรือนตามกฎหมายเมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่า โรงเรือนพิพาทเป็นของโจทก์และโจทก์อยู่เอง แม้โจทก์จะไม่มีชื่อในทะเบียนบ้าน โจทก์ก็ย่อมได้รับงดเว้นไม่ต้องเสียภาษีโรงเรือน
จำเลยที่ 1 ในฐานะผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเข้ามาเกี่ยวข้องกับคดีในฐานะผู้ชี้ขาดคำร้องขอให้พิจารณาการประเมินใหม่ของโจทก์ตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ ไม่ปรากฏว่าจำเลยที่ 1แกล้งชี้ขาดและรับชำระภาษีไว้ จำเลยที่ 1 จึงไม่ต้องร่วมกับกรุงเทพมหานครจำเลยที่ 2 คืนภาษีที่จำเลยที่ 2 รับชำระไว้ให้โจทก์.
จำเลยที่ 1 ในฐานะผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเข้ามาเกี่ยวข้องกับคดีในฐานะผู้ชี้ขาดคำร้องขอให้พิจารณาการประเมินใหม่ของโจทก์ตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ ไม่ปรากฏว่าจำเลยที่ 1แกล้งชี้ขาดและรับชำระภาษีไว้ จำเลยที่ 1 จึงไม่ต้องร่วมกับกรุงเทพมหานครจำเลยที่ 2 คืนภาษีที่จำเลยที่ 2 รับชำระไว้ให้โจทก์.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2318-2319/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิพาทเกี่ยวกับสัญชาติ: การแจ้งชื่อในทะเบียนบ้านคนญวนอพยพไม่ทำให้สัญชาติไทยสิ้นสุด
โจทก์เป็นคนมีสัญชาติไทยตามกฎหมาย แม้บิดามารดาของโจทก์จะไปแจ้งให้เจ้าหน้าที่จดแจ้งชื่อโจทก์เข้าในทะเบียนบ้านคนญวนอพยพก็ไม่ทำให้โจทก์ต้องสูญเสียสัญชาติไทยและกลายเป็นคนสัญชาติญวน
ก่อนฟ้องโจทก์และมารดาได้ขอให้เจ้าหน้าที่เพิกถอนชื่อโจทก์ออกจากทะเบียนบ้านคนญวนอพยพ แต่เจ้าหน้าที่ไม่จัดการให้โดยโต้แย้งว่าโจทก์เป็นคนต่างด้าว เช่นนี้ ย่อมถือได้ว่าจำเลยได้โต้แย้งสิทธิของโจทก์แล้ว โจทก์จึงมีอำนาจฟ้อง
ก่อนฟ้องโจทก์และมารดาได้ขอให้เจ้าหน้าที่เพิกถอนชื่อโจทก์ออกจากทะเบียนบ้านคนญวนอพยพ แต่เจ้าหน้าที่ไม่จัดการให้โดยโต้แย้งว่าโจทก์เป็นคนต่างด้าว เช่นนี้ ย่อมถือได้ว่าจำเลยได้โต้แย้งสิทธิของโจทก์แล้ว โจทก์จึงมีอำนาจฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2318-2319/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญชาติไทยไม่สูญเสียแม้ชื่อปรากฏในทะเบียนบ้านคนญวนอพยพ การโต้แย้งสิทธิทำให้มีอำนาจฟ้อง
โจทก์เป็นคนมีสัญชาติไทยตามกฎหมาย แม้บิดามารดาของโจทก์จะไปแจ้งให้เจ้าหน้าที่จดแจ้งชื่อโจทก์เข้าในทะเบียนบ้านคนญวนอพยพก็ไม่ทำให้โจทก์ต้องสูญเสียสัญชาติไทยและกลายเป็นคนสัญชาติญวน
ก่อนฟ้องโจทก์และมารดาได้ขอให้เจ้าหน้าที่เพิกถอนชื่อโจทก์ออกจากทะเบียนบ้านคนญวนอพยพ แต่เจ้าหน้าที่ไม่จัดการให้โดยโต้แย้งว่าโจทก์เป็นคนต่างด้าว เช่นนี้ ย่อมถือได้ว่าจำเลยได้โต้แย้งสิทธิของโจทก์แล้ว โจทก์จึงมีอำนาจฟ้อง.
ก่อนฟ้องโจทก์และมารดาได้ขอให้เจ้าหน้าที่เพิกถอนชื่อโจทก์ออกจากทะเบียนบ้านคนญวนอพยพ แต่เจ้าหน้าที่ไม่จัดการให้โดยโต้แย้งว่าโจทก์เป็นคนต่างด้าว เช่นนี้ ย่อมถือได้ว่าจำเลยได้โต้แย้งสิทธิของโจทก์แล้ว โจทก์จึงมีอำนาจฟ้อง.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4048/2528 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
แจ้งเท็จเกี่ยวกับสัญชาติและข้อมูลในทะเบียนบ้าน ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 267 และ 137
การที่จำเลยเป็นคนสัญชาติญวนไม่เคยมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านหลังหนึ่งเลย แล้วไปแจ้งให้เจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่ควบคุมทะเบียน จดข้อความเท็จลงในทะเบียนบ้านอีกหลังหนึ่ง ว่าจำเลยเป็นคนสัญชาติไทย ย้ายมาจากบ้านที่จำเลยไม่เคยมีชื่ออยู่นั้นการกระทำของจำเลย ย่อมเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 267
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยบังอาจแจ้งความเท็จต่อนายทะเบียนเขตดุสิตว่า จำเลยมีสัญชาติไทย ขอทำบัตรประชาชนคนไทยและนายทะเบียนเขตดุสิต ได้ออกบัตรประจำตัวประชาชนให้จำเลยอันเป็นเอกสารราชการซึ่งมีวัตถุประสงค์ สำหรับใช้เป็นหลักฐานยืนยันตัวบุคคลและสัญชาติ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่นายทะเบียนเขตดุสิตนั้น เมื่อปรากฏว่าบัตรประจำตัวประชาชน ที่เจ้าพนักงานออกให้นั้น ไม่มีการจดข้อความเท็จที่ว่าจำเลยมีสัญชาติไทย ลงไว้กรณีจึงไม่ครบองค์ประกอบที่จะเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 267 จำเลยคงมีความผิดฐานแจ้งความเท็จ แก่เจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 137 เท่านั้น
การที่จำเลยซึ่งถูกเจ้าหน้าที่จับกุมในข้อหาว่าเป็นคนญวนอพยพ หนีจากเขตควบคุมให้การปฏิเสธพร้อมทั้งแสดงบัตรประจำตัวประชาชน ให้เจ้าหน้าที่ตำรวจดูนั้นเป็นการปฏิเสธในฐานะผู้ต้องหาแม้ข้อความ ที่จำเลยให้การนั้นจะเป็นเท็จก็ไม่เป็นความผิดฐานแจ้งความเท็จ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 137 และจะเอาผิดแก่จำเลยฐานใช้ หรืออ้างเอกสารอันเกิดจากการกระทำผิดฐานแจ้งให้เจ้าพนักงาน จดข้อความเท็จลงในเอกสารราชการตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 268 ก็ไม่ได้อีกเช่นกัน
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยบังอาจแจ้งความเท็จต่อนายทะเบียนเขตดุสิตว่า จำเลยมีสัญชาติไทย ขอทำบัตรประชาชนคนไทยและนายทะเบียนเขตดุสิต ได้ออกบัตรประจำตัวประชาชนให้จำเลยอันเป็นเอกสารราชการซึ่งมีวัตถุประสงค์ สำหรับใช้เป็นหลักฐานยืนยันตัวบุคคลและสัญชาติ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่นายทะเบียนเขตดุสิตนั้น เมื่อปรากฏว่าบัตรประจำตัวประชาชน ที่เจ้าพนักงานออกให้นั้น ไม่มีการจดข้อความเท็จที่ว่าจำเลยมีสัญชาติไทย ลงไว้กรณีจึงไม่ครบองค์ประกอบที่จะเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 267 จำเลยคงมีความผิดฐานแจ้งความเท็จ แก่เจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 137 เท่านั้น
การที่จำเลยซึ่งถูกเจ้าหน้าที่จับกุมในข้อหาว่าเป็นคนญวนอพยพ หนีจากเขตควบคุมให้การปฏิเสธพร้อมทั้งแสดงบัตรประจำตัวประชาชน ให้เจ้าหน้าที่ตำรวจดูนั้นเป็นการปฏิเสธในฐานะผู้ต้องหาแม้ข้อความ ที่จำเลยให้การนั้นจะเป็นเท็จก็ไม่เป็นความผิดฐานแจ้งความเท็จ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 137 และจะเอาผิดแก่จำเลยฐานใช้ หรืออ้างเอกสารอันเกิดจากการกระทำผิดฐานแจ้งให้เจ้าพนักงาน จดข้อความเท็จลงในเอกสารราชการตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 268 ก็ไม่ได้อีกเช่นกัน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4048/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
แจ้งความเท็จเกี่ยวกับสัญชาติและข้อมูลทะเบียนบ้านเพื่อขอเอกสารราชการ
การที่จำเลยเป็นคนสัญชาติญวนไม่เคยมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน หลังหนึ่งเลยแล้วไปแจ้งให้เจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่ควบคุมทะเบียน จดข้อความเท็จลงในทะเบียนบ้านอีกหลังหนึ่งว่าจำเลยเป็นคนสัญชาติไทย ย้ายมาจากบ้านที่จำเลยไม่เคยมีชื่ออยู่นั้นการกระทำของจำเลย ย่อมเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 267 โจทก์ฟ้องว่าจำเลยบังอาจแจ้งความเท็จต่อนายทะเบียนเขตดุสิตว่า จำเลยมีสัญชาติไทย ขอทำบัตรประชาชนคนไทยและนายทะเบียนเขตดุสิต ได้ออกบัตรประจำตัวประชาชนให้จำเลยอันเป็นเอกสารราชการซึ่งมีวัตถุประสงค์ สำหรับใช้เป็นหลักฐานยืนยันตัวบุคคลและสัญชาติ โดยประการที่น่าจะเกิด ความเสียหายแก่นายทะเบียนเขตดุสิตนั้น เมื่อปรากฏว่าบัตรประจำตัวประชาชน ที่เจ้าพนักงานออกให้นั้น ไม่มีการจดข้อความเท็จที่ว่าจำเลยมีสัญชาติไทย ลงไว้กรณีจึงไม่ครบองค์ประกอบที่จะเป็นความผิดตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 267 จำเลยคงมีความผิดฐานแจ้งความเท็จ แก่เจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 137 เท่านั้น
การที่จำเลยซึ่งถูกเจ้าหน้าที่จับกุมในข้อหาว่าเป็นคนญวนอพยพ หนีจากเขตควบคุมให้การปฏิเสธพร้อมทั้งแสดงบัตรประจำตัวประชาชน ให้เจ้าหน้าที่ตำรวจดูนั้นเป็นการปฏิเสธในฐานะผู้ต้องหาแม้ข้อความ ที่จำเลยให้การนั้นจะเป็นเท็จก็ไม่เป็นความผิดฐานแจ้งความเท็จ ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา137 และจะเอาผิดแก่จำเลยฐานใช้ หรืออ้างเอกสารอันเกิดจากการกระทำผิดฐานแจ้งให้เจ้าพนักงาน จดข้อความเท็จลงในเอกสารราชการตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 268 ก็ไม่ได้อีกเช่นกัน
การที่จำเลยซึ่งถูกเจ้าหน้าที่จับกุมในข้อหาว่าเป็นคนญวนอพยพ หนีจากเขตควบคุมให้การปฏิเสธพร้อมทั้งแสดงบัตรประจำตัวประชาชน ให้เจ้าหน้าที่ตำรวจดูนั้นเป็นการปฏิเสธในฐานะผู้ต้องหาแม้ข้อความ ที่จำเลยให้การนั้นจะเป็นเท็จก็ไม่เป็นความผิดฐานแจ้งความเท็จ ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา137 และจะเอาผิดแก่จำเลยฐานใช้ หรืออ้างเอกสารอันเกิดจากการกระทำผิดฐานแจ้งให้เจ้าพนักงาน จดข้อความเท็จลงในเอกสารราชการตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 268 ก็ไม่ได้อีกเช่นกัน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1986/2524
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิสูจน์ความเป็นทายาทเพื่อคัดค้านการจัดการมรดก: พยานหลักฐานต้องหนักแน่นกว่าทะเบียนบ้านที่ไม่ชัดเจน
ผู้คัดค้านมิใช่ทายาทผู้มีสิทธิรับมรดก จึงไม่มีสิทธิคัดค้านการขอเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ร้อง ซึ่งเป็นมารดาผู้แทนโดยชอบธรรมของเด็กหญิงย. ทายาทโดยธรรมของนายกผู้ตาย ผู้ร้องจึงเป็นผู้มีส่วนได้เสียในทรัพย์มรดก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 466/2522 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การย้ายเข้าที่อยู่ใหม่ต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าบ้าน และการแจ้งย้ายเข้าต้องแสดงสำเนาทะเบียนบ้านเพื่อยืนยันความยินยอม
ตามพระราชบัญญัติทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2499 มาตรา 24 และ 29 เมื่อโจทก์จะย้ายที่อยู่เข้ามาอยู่ในบ้านที่ ย. เป็นเจ้าของบ้าน ตามปกติ ย. จะต้องไปแจ้งการย้ายต่อนายทะเบียน โจทก์ซึ่งเป็นผู้ย้ายที่อยู่จะไปแจ้งการย้ายต่อนายทะเบียนท้องถิ่นก็ได้ แต่ต้องนำสำเนาทะเบียนบ้านไปแสดงต่อนายทะเบียนด้วย ซึ่งมีความหมายอยู่ในตัวว่าเจ้าบ้านยินยอมให้ย้ายเข้าได้นั่นเอง จึงมอบทะเบียนบ้านให้ แต่เมื่อโจทก์ยื่นคำร้องต่อนายทะเบียนท้องถิ่น ขอย้ายเข้าบ้าน ย. โจทก์มีแต่ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ซึ่งไม่มีลายมือชื่อเจ้าบ้านผู้ยินยอมให้ย้ายเข้าไปแสดง ไม่ปรากฏว่ามีสำเนาทะเบียนบ้านไปแสดงด้วย ทั้งนี้เพราะ ย. ได้ฟ้องขับไล่โจทก์ คดีอยู่ระหว่างพิจารณาของศาล เช่นนี้ เป็นการเพียงพอที่นายทะเบียน ฯ ปฏิเสธการรับแจ้งย้ายเข้าให้โจทก์ได้อยู่แล้ว นายทะเบียน ฯ ไม่รับแจ้งย้ายเข้าให้โจทก์ก็ไม่ถือว่าจำเลยหรือเจ้าหน้าที่ของจำเลยจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำต่อโจทก์โดยผิดกฎหมายให้โจทก์เสียหาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1655/2520
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดผู้ช่วยนายทะเบียนจดทะเบียนบ้านเท็จ
จำเลยเป็นผู้ช่วยนายทะเบียนแขวง จดลงในทะเบียนบ้าน และลงลายมือชื่อรับรองว่า ต. ย้ายมาเข้าบ้านนั้นจากต่างจังหวัดอันเป็นเท็จเป็นความผิดตาม มาตรา 157,161,162,265 ลงโทษตาม มาตรา 161ซึ่งเป็นบทหนักในเวลานั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 449/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สถานะบริวารตามทะเบียนบ้านและการสิ้นสุดสิทธิอยู่ครองเมื่อถูกขับไล่
จำเลยแต่งงานกับ ฉ. แล้วจำเลยขึ้นทะเบียนอยู่บ้านพิพาทกับ ฉ.โดยลงว่าจำเลยเป็นหัวหน้าครอบครัวฉ. เป็นภริยา. จำเลยเช่าที่ดินซึ่งบ้านพิพาทปลูกอยู่จากบิดาโจทก์ได้เสียค่าเช่าตลอดมา. เมื่อจำเลยกับ ฉ. จดทะเบียนหย่ากันแล้ว จำเลยก็ยังไปมาหาสู่ ฉ..ดังนี้ถือว่าฉ.เป็นบริวารจำเลย. เมื่อศาลพิพากษาขับไล่จำเลยให้รื้อเรือนออกไปจากที่ดินโจทก์แล้ว ฉ. ไม่มีสิทธิจะอยู่ได้ต่อไป.