พบผลลัพธ์ทั้งหมด 26 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1170/2498 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบอกเลิกพินัยกรรมต้องทำลายหรือขีดฆ่าพินัยกรรม การบอกเลิกด้วยวาจาไม่มีผลทางกฎหมาย
การเพิกถอนพินัยกรรมโดยบอกเลิกด้วยวาจา ไม่มีผลตามกฎหมาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1170/2498
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบอกเลิกพินัยกรรมต้องทำลายหรือขีดฆ่าพินัยกรรม การบอกเลิกด้วยวาจาไม่มีผล
การเพิกถอนพินัยกรรมโดยบอกเลิกด้วยวาจา ไม่มีผลตามกฎหมาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 249/2492 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าปากเปล่าและผลกระทบเมื่อบอกเลิกก่อนกำหนด ผู้เช่าไม่มีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหาย
ตกลงเช่าสวนกัน โดยไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือ แม้ผู้เช่าจะได้ชำระค่าเช่าล่วงหน้าไปแล้วและถูกผู้ให้เช่าบอกเลิกการเช่าเสียก่อนครบกำหนดก็ตาม ผู้เช่าจะฟ้องเรียกค่าเสียหายจากผู้ให้เช่าไม่ได้ ต้องห้ามตามมาตรา 538 ป.ม.แพ่งฯ.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 281/2490
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าไม่จดทะเบียนเกิน 3 ปี: สมบูรณ์แค่ 3 ปี, เช่าค้าไม่อยู่ใน พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า, สิทธิบอกเลิก
สัญญาเช่าระบุว่า ให้เช่ากันตลอดไป แต่มิได้จดทะเบียนการเช่านั้นแม้จะถือว่าเช่ากันเกินสามปี ก็สมบูรณ์เพียง 3 ปี
เช่าเพื่อประกอบการค้า ไม่เข้าอยู่ในความคุ้มครองของพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าในภาวะคับขัน
เช่าเพื่อประกอบการค้า ไม่เข้าอยู่ในความคุ้มครองของพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าในภาวะคับขัน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1129/2554
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เหตุห้างหุ้นส่วนเหลือวิสัยที่จะดำรงอยู่ต่อไปได้ โจทก์มีอำนาจฟ้องได้โดยไม่ต้องบอกเลิกก่อน
การที่โจทก์ทั้งสามฟ้องคดีอ้างว่า มีเหตุอื่นใดๆ ทำให้ห้างหุ้นส่วนเหลือวิสัยที่จะดำรงคงอยู่ต่อไปได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1057 (3) อันก่อสิทธิฟ้องคดีได้โดยสมบูรณ์หาใช่กรณีที่ผู้เป็นหุ้นส่วนของห้างหุ้นส่วนที่ตั้งขึ้นโดยไม่มีกำหนดการอย่างหนึ่งอย่างใดเป็นยุติประสงค์จะเลิกห้างหุ้นส่วนสามัญโดยไม่มีเหตุอันจะต้องดำเนินการตามมาตรา 1056 ประกอบมาตรา 1055 (4) ไม่ โจทก์ทั้งสามจึงมีอำนาจฟ้องโดยหาต้องดำเนินการตามมาตรา 1056 ก่อน
การที่จำเลยและโจทก์ที่ 3 หย่าขาดกันตามคำพิพากษาตามยอมนั้น หาอาจหมายความว่า โจทก์ทั้งสามและจำเลยตกลงกันให้จัดการทรัพย์สินโดยวิธีอื่นในระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วนด้วยกัน อันเป็นข้อยกเว้นไม่ต้องชำระบัญชีตาม ป.พ.พ. มาตรา 1061 ได้ไม่
การที่จำเลยและโจทก์ที่ 3 หย่าขาดกันตามคำพิพากษาตามยอมนั้น หาอาจหมายความว่า โจทก์ทั้งสามและจำเลยตกลงกันให้จัดการทรัพย์สินโดยวิธีอื่นในระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วนด้วยกัน อันเป็นข้อยกเว้นไม่ต้องชำระบัญชีตาม ป.พ.พ. มาตรา 1061 ได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1217/2551
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแก้ไขแผนฟื้นฟูและการไม่ยอมรับสิทธิตามสัญญาหลังบอกเลิกสัญญาแล้ว
ผู้บริหารแผนเสนอขอแก้ไขแผน เรื่องการไม่ยอมรับสิทธิตามสัญญาจ้างผู้บริหารตาม พ.ร.บ.ล้มละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 90/63 วรรคหนึ่ง และศาลมีคำสั่งเห็นชอบด้วยข้อเสนอขอแก้ไขแผนแล้ว แต่ข้อกำหนดที่ขอแก้ไขในแผนดังกล่าวจะดำเนินการได้หรือไม่ย่อมเป็นปัญหาในชั้นปฏิบัติตามแผนที่ขอแก้ไข ซึ่งศาลมีอำนาจที่จะตรวจสอบเนื้อหาและรายละเอียดข้อเท็จจริงของการใช้อำนาจของผู้บริหารแผนดังกล่าวได้อีกว่าถูกต้องเป็นธรรมหรือไม่
การไม่ยอมรับทรัพย์สินของลูกหนี้หรือสิทธิตามสัญญาที่มีภาระเกินควรกว่าประโยชน์ที่จะพึงได้ตาม พ.ร.บ.ล้มละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 90/41 ทวิ จะต้องเป็นสัญญาที่มีผลใช้บังคับอยู่มิใช่ได้มีการบอกเลิกสัญญาไปแล้ว เมื่อปรากฏข้อเท็จจริงในชั้นปฏิบัติตามแผนที่ขอแก้ไขว่า สิทธิตามสัญญาจ้างผู้ร้องได้มีการบอกเลิกสัญญาไปแล้ว แม้ยังมีคดีอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลแรงงานกลางว่าเป็นการเลิกจ้างไม่เป็นธรรมหรือไม่ ผู้บริหารแผนก็ยื่นข้อเสนอขอแก้ไขแผนเพื่อจะขอใช้อำนาจไม่ยอมรับสิทธิตามสัญญาจ้างผู้ร้องตามมาตรา 90/41 ทวิ ไม่ได้
การไม่ยอมรับทรัพย์สินของลูกหนี้หรือสิทธิตามสัญญาที่มีภาระเกินควรกว่าประโยชน์ที่จะพึงได้ตาม พ.ร.บ.ล้มละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 90/41 ทวิ จะต้องเป็นสัญญาที่มีผลใช้บังคับอยู่มิใช่ได้มีการบอกเลิกสัญญาไปแล้ว เมื่อปรากฏข้อเท็จจริงในชั้นปฏิบัติตามแผนที่ขอแก้ไขว่า สิทธิตามสัญญาจ้างผู้ร้องได้มีการบอกเลิกสัญญาไปแล้ว แม้ยังมีคดีอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลแรงงานกลางว่าเป็นการเลิกจ้างไม่เป็นธรรมหรือไม่ ผู้บริหารแผนก็ยื่นข้อเสนอขอแก้ไขแผนเพื่อจะขอใช้อำนาจไม่ยอมรับสิทธิตามสัญญาจ้างผู้ร้องตามมาตรา 90/41 ทวิ ไม่ได้