พบผลลัพธ์ทั้งหมด 83 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1724/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้อง คชก. และการบอกเลิกสัญญาเช่านาที่ชอบด้วยกฎหมาย
โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนคำวินิจฉัยของคณะกรรมการเช่า ที่ดินเพื่อเกษตรกรรมประจำตำบล (คชก.ตำบล) และคณะกรรมการเช่า ที่ดินเพื่อเกษตรกรรมประจำจังหวัด (คชก.จังหวัด) ตาม พ.ร.บ.การเช่า ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2524 แต่ ตาม พ.ร.บ. ดังกล่าวเพียงบัญญัติว่า คชก.ตำบล และ คชก.จังหวัด ประกอบด้วย บุคคลใด บ้างไม่มีกฎหมายรับรองให้คณะกรรมการดังกล่าวมีสภาพเป็นนิติบุคคลหรือบุคคลธรรมดาแต่อย่างใด คณะกรรมการดังกล่าวจึงไม่อยู่ในฐานะ ที่ถูก ฟ้องร้องได้
ปัญหาเรื่องอำนาจฟ้องเป็นปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน ศาลฎีกามีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยเองได้
โจทก์ส่งหนังสือบอกเลิกการเช่านาให้จำเลยผู้เช่านา และส่งสำเนาหนังสือดังกล่าวพร้อมทั้งแสดงเหตุแห่งการบอกเลิกการเช่า ไปยังคณะกรรมการควบคุมการเช่า ประจำอำเภอแล้วก่อนสิ้นระยะเวลาการเช่านาเกินกว่า 1 ปี และคณะกรรมการควบคุมการเช่านาประจำอำเภอมิได้ยับยั้งการบอกเลิกการเช่านาตาม พ.ร.บ. ควบคุมการเช่านาพ.ศ. 2517 มาตรา 39 วรรคท้าย การบอกเลิกการเช่านาของโจทก์จึงชอบด้วย กฎหมาย และมีผลใช้ บังคับ แม้ระหว่างสัญญาการเช่านายังไม่สิ้นสุดลง พ.ร.บ. ควบคุมการเช่านา พ.ศ. 2517 จะถูก ยกเลิกโดยพ.ร.บ. การเช่า ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2524 แต่ มาตรา 66แห่ง พ.ร.บ. ดังกล่าวให้ถือว่าการเช่านาที่อยู่ในบังคับแห่ง พ.ร.บ.ควบคุมการเช่านา พ.ศ. 2517 เป็นการเช่านาที่อยู่ในบังคับแห่งพ.ร.บ. ฉบับ ใหม่ต่อไป และมาตรา 37 แห่ง พ.ร.บ.การเช่า ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2524 ได้ บัญญัติเงื่อนไขและวิธีการที่ผู้ให้เช่านาจะต้อง ปฏิบัติเมื่อประสงค์จะให้การเช่า นาสิ้นสุดลงเมื่อสิ้นระยะเวลาการเช่านาไว้เช่นเดียวกับมาตรา 39แห่ง พ.ร.บ. ควบคุมการเช่านา พ.ศ. 2517 ด้วย การบอกเลิกการเช่านาของโจทก์จึงชอบด้วย กฎหมายและมีผลใช้ บังคับต่อไป
เมื่อสัญญาเช่านาระหว่างโจทก์จำเลยสิ้นสุดลงแล้ว จำเลยจะเข้าทำนาของโจทก์ได้ อีกต่อเมื่อโจทก์มิได้ลงมือทำประโยชน์ภายใน1 ปี และจำเลยแสดงความจำนง จะเช่า นา ซึ่ง โจทก์จะต้อง ให้จำเลยเช่า นา เว้นแต่โจทก์จะร้องต่อ คชก.ตำบล ก่อนสิ้นกำหนด 1 ปีเพื่อขอขยายเวลาการเข้าทำประโยชน์ในที่นานั้นตาม มาตรา 38 แห่งพ.ร.บ. การเช่า ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2524 เท่านั้น แต่ จำเลยร้องขอต่อ คชก.ตำบล ขอเช่า ทำนาของโจทก์ หลังจากสัญญาการเช่านาสิ้นสุดลงไม่ถึง 1 ปี และไม่ปรากฏว่าโจทก์ลงมือทำประโยชน์แล้วหรือไม่ คชก.ตำบล จึงไม่มีอำนาจวินิจฉัยคำร้อง ของ จำเลย เนื่องจากพ.ร.บ. การเช่า ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2524 หามีบทบัญญัติใด ให้อำนาจ คชก.ตำบล ที่จะวินิจฉัยคำร้อง ของ ผู้เช่านาในกรณีเช่นนี้ไม่
ปัญหาเรื่องอำนาจฟ้องเป็นปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน ศาลฎีกามีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยเองได้
โจทก์ส่งหนังสือบอกเลิกการเช่านาให้จำเลยผู้เช่านา และส่งสำเนาหนังสือดังกล่าวพร้อมทั้งแสดงเหตุแห่งการบอกเลิกการเช่า ไปยังคณะกรรมการควบคุมการเช่า ประจำอำเภอแล้วก่อนสิ้นระยะเวลาการเช่านาเกินกว่า 1 ปี และคณะกรรมการควบคุมการเช่านาประจำอำเภอมิได้ยับยั้งการบอกเลิกการเช่านาตาม พ.ร.บ. ควบคุมการเช่านาพ.ศ. 2517 มาตรา 39 วรรคท้าย การบอกเลิกการเช่านาของโจทก์จึงชอบด้วย กฎหมาย และมีผลใช้ บังคับ แม้ระหว่างสัญญาการเช่านายังไม่สิ้นสุดลง พ.ร.บ. ควบคุมการเช่านา พ.ศ. 2517 จะถูก ยกเลิกโดยพ.ร.บ. การเช่า ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2524 แต่ มาตรา 66แห่ง พ.ร.บ. ดังกล่าวให้ถือว่าการเช่านาที่อยู่ในบังคับแห่ง พ.ร.บ.ควบคุมการเช่านา พ.ศ. 2517 เป็นการเช่านาที่อยู่ในบังคับแห่งพ.ร.บ. ฉบับ ใหม่ต่อไป และมาตรา 37 แห่ง พ.ร.บ.การเช่า ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2524 ได้ บัญญัติเงื่อนไขและวิธีการที่ผู้ให้เช่านาจะต้อง ปฏิบัติเมื่อประสงค์จะให้การเช่า นาสิ้นสุดลงเมื่อสิ้นระยะเวลาการเช่านาไว้เช่นเดียวกับมาตรา 39แห่ง พ.ร.บ. ควบคุมการเช่านา พ.ศ. 2517 ด้วย การบอกเลิกการเช่านาของโจทก์จึงชอบด้วย กฎหมายและมีผลใช้ บังคับต่อไป
เมื่อสัญญาเช่านาระหว่างโจทก์จำเลยสิ้นสุดลงแล้ว จำเลยจะเข้าทำนาของโจทก์ได้ อีกต่อเมื่อโจทก์มิได้ลงมือทำประโยชน์ภายใน1 ปี และจำเลยแสดงความจำนง จะเช่า นา ซึ่ง โจทก์จะต้อง ให้จำเลยเช่า นา เว้นแต่โจทก์จะร้องต่อ คชก.ตำบล ก่อนสิ้นกำหนด 1 ปีเพื่อขอขยายเวลาการเข้าทำประโยชน์ในที่นานั้นตาม มาตรา 38 แห่งพ.ร.บ. การเช่า ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2524 เท่านั้น แต่ จำเลยร้องขอต่อ คชก.ตำบล ขอเช่า ทำนาของโจทก์ หลังจากสัญญาการเช่านาสิ้นสุดลงไม่ถึง 1 ปี และไม่ปรากฏว่าโจทก์ลงมือทำประโยชน์แล้วหรือไม่ คชก.ตำบล จึงไม่มีอำนาจวินิจฉัยคำร้อง ของ จำเลย เนื่องจากพ.ร.บ. การเช่า ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2524 หามีบทบัญญัติใด ให้อำนาจ คชก.ตำบล ที่จะวินิจฉัยคำร้อง ของ ผู้เช่านาในกรณีเช่นนี้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1724/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสิ้นสุดสัญญาเช่านา, การบอกเลิกสัญญา, สิทธิผู้เช่า, อำนาจคณะกรรมการเช่าที่ดิน, การลงมือทำประโยชน์
พระราชบัญญัติ ญญัติการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2524บัญญัติว่า คณะกรรมการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรมประจำตำบล และคณะกรรมการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรมประจำจังหวัด ประกอบด้วยบุคคลใดบ้าง โดยไม่มีกฎหมายรับรองให้คณะกรรมการดังกล่าวมีสภาพเป็นนิติบุคคลหรือบุคคลธรรมดาแต่อย่างใด คณะกรรมการดังกล่าวจึงไม่อยู่ในฐานะที่ถูกฟ้องร้องได้ ปัญหาเรื่องอำนาจฟ้องเป็นปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน ศาลมีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยเองได้ โจทก์ส่งหนังสือบอกเลิกการเช่านาให้จำเลยผู้เช่านา และส่งสำเนาหนังสือดังกล่าวพร้อมทั้งแสดงเหตุแห่งการบอกเลิกการเช่าไปยังคณะกรรมการควบคุมการเช่าประจำอำเภอแล้วก่อนสิ้นระยะเวลาการเช่านาเกินกว่า 1 ปี โดยคณะกรรมการควบคุมการเช่านาประจำอำเภอมิได้ยับยั้งการบอกเลิกการเช่านาตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่านาพ.ศ. 2517 มาตรา 39 วรรคท้าย การบอกเลิกการเช่านาของโจทก์จึงชอบด้วยกฎหมาย และมีผลใช้บังคับ แม้ระหว่างสัญญาการเช่านายังไม่สิ้นสุดลง พระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ. 2517 จะถูกยกเลิกโดยพระราชบัญญัติการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2524 แต่มาตรา 66 แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าวให้ถือว่าการเช่านาที่อยู่ในบังคับแห่งพระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ. 2517 เป็นการเช่านาที่อยู่ในบังคับแห่งพระราชบัญญัติฉบับใหม่ต่อไป และมาตรา 37 แห่งพระราชบัญญัติการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2524ได้บัญญัติเงื่อนไขและวิธีการที่ผู้ให้เช่านาจะต้องปฏิบัติเมื่อประสงค์จะให้การเช่านาสิ้นสุดลงเมื่อสิ้นระยะเวลาการเช่านาไว้เช่นเดียวกับมาตรา 39 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมการเช่านาพ.ศ. 2517 ด้วย การบอกเลิกการเช่านาของโจทก์จึงชอบด้วยกฎหมายและมีผลใช้บังคับต่อไป เมื่อสัญญาเช่านาระหว่างโจทก์จำเลยสิ้นสุดลงแล้ว จำเลยจะเข้าทำนาของโจทก์ได้อีกต่อเมื่อโจทก์มิได้ลงมือทำประโยชน์ภายใน 1 ปีและจำเลยแสดงความจำนงจะเช่านา ซึ่งโจทก์จะต้องให้จำเลยเช่านาเว้นแต่โจทก์จะร้องต่อคณะกรรมการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรมประจำตำบลก่อนสิ้นกำหนด 1 ปี เพื่อขอขยายเวลาการเข้าทำประโยชน์ในที่นานั้นตามมาตรา 38 แห่งพระราชบัญญัติการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรมพ.ศ. 2524 เท่านั้น แต่จำเลยร้องขอต่อคณะกรรมการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรมประจำตำบลขอเช่าทำนาของโจทก์หลังจากสัญญาการเช่านาสิ้นสุดลงไม่ถึง 1 ปีและไม่ปรากฏว่าโจทก์ลงมือทำประโยชน์แล้วหรือไม่คณะกรรมการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรมประจำตำบลจึงไม่มีอำนาจวินิจฉัยคำร้องของจำเลยเนื่องจากพระราชบัญญัติการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2524 หามีบทบัญญัติใดให้อำนาจคณะกรรมการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรมประจำตำบลที่จะวินิจฉัยคำร้องของผู้เช่านาในกรณีเช่นนี้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3360/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การต่ออายุสัญญาเช่านาหลังพ.ร.บ.ควบคุมการเช่านาถูกยกเลิก โดยใช้มาตรา 66 แห่ง พ.ร.บ.การเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
ผู้ร้องบอกเลิกการเช่านาพิพาทซึ่งผู้เช่าได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ.2517 แต่คณะกรรมการควบคุมการเช่านาได้มีมติยับยั้งการบอกเลิกการเช่ามีกำหนดสองปี มีผลให้ผู้เช่ามีสิทธิทำนาต่อไปถึงปี พ.ศ.2525 ระหว่างนั้นพระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ.2517 ถูกยกเลิกโดยพระราชบัญญัติการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ.2524 ซึ่งใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 15 สิงหาคม 2524 และ มาตรา 66 แห่งพระราชบัญญัติฉบับใหม่ให้ถือว่าการเช่านาที่อยู่ในบังคับแห่งพระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ.2517 เป็นการเช่าที่อยู่ในบังคับแห่งพระราชบัญญัติฉบับใหม่ต่อไป ดังนั้นสิทธิการเช่านาพิพาทอันเกิดจากการใช้สิทธิยับยั้งการบอกเลิกการเช่าจึงยังไม่สิ้นสุดและอยู่ในบังคับแห่งพระราชบัญญัติการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ.2524 ด้วย คำวินิจฉัยของคณะกรรมการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรมประจำตำบลและประจำจังหวัดให้ยับยั้งการบอกเลิกการเช่านาพิพาทอีกเป็นครั้งที่สองตามพระราชบัญญัติฉบับใหม่ จึงชอบด้วยกฎหมาย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3360/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเช่านา: สิทธิการเช่ายังคงมีผลต่อเนื่อง แม้มีการเปลี่ยนกฎหมาย โดยมาตรา 66 พ.ร.บ.การเช่าที่ดินฯ 2524
ผู้ร้องบอกเลิกการเช่านาพิพาทซึ่งผู้เช่าได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ.2517 แต่คณะกรรมการควบคุมการเช่านาได้มีมติยับยั้งการบอกเลิกการเช่ามีกำหนดสองปี มีผลให้ผู้เช่ามีสิทธิทำนาต่อไปถึงปี พ.ศ.2525ระหว่างนั้นพระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ.2517 ถูกยกเลิกโดยพระราชบัญญัติการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ.2524ซึ่งใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 15 สิงหาคม 2524 และ มาตรา 66 แห่งพระราชบัญญัติฉบับใหม่ให้ถือว่าการเช่านาที่อยู่ในบังคับแห่งพระราชบัญญัติควบคุมการเช่านาพ.ศ.2517 เป็นการเช่าที่อยู่ในบังคับแห่งพระราชบัญญัติฉบับใหม่ต่อไป ดังนั้นสิทธิการเช่านาพิพาทอันเกิดจากการใช้สิทธิยับยั้งการบอกเลิกการเช่าจึงยังไม่สิ้นสุดและอยู่ในบังคับแห่งพระราชบัญญัติการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ.2524ด้วย คำวินิจฉัยของคณะกรรมการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรมประจำตำบลและประจำจังหวัดให้ยับยั้งการบอกเลิกการเช่านาพิพาทอีกเป็นครั้งที่สองตามพระราชบัญญัติฉบับใหม่ จึงชอบด้วยกฎหมาย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1799/2530 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องซ้อน-สิทธิซื้อคืนที่เช่า: การโอนขายที่ดินเช่าและสิทธิของผู้เช่าตาม พ.ร.บ.ควบคุมการเช่านา
เดิมโจทก์ฟ้องจำเลยที่ 1 ถึงที่ 6 อ้างว่าไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา ขอให้บังคับจำเลยที่ 1 ถึงที่ 6 จดทะเบียนโอนขายที่ดินให้แก่โจทก์ ขณะคดียังอยู่ในระหว่างพิจารณาของศาลชั้นต้นโจทก์ฟ้องจำเลยที่ 1 ถึงที่ 7 เป็นคดีใหม่ โดยเพิ่มข้อหาว่าจำเลยที่ 1 ถึงที่ 6 ร่วมกันแสดงเจตนาลวงโอนขายที่ดินพิพาทให้แก่จำเลยที่ 7 โดยสมยอม ขอให้เพิกถอนนิติกรรมซื้อขายและโอนที่ดินดังกล่าวให้โจทก์ ดังนี้มูลค่าที่โจทก์ฟ้องเป็นเรื่องเดียวกัน มีประเด็นเกี่ยวข้องกันโดยตรง ทั้งเกี่ยวกับทรัพย์สินรายเดียวกัน ฟ้องของโจทก์เกี่ยวกับจำเลยที่ 1 ถึงที่ 6 จึงเป็นฟ้องซ้อนต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 173 (1) การที่โจทก์ถอนฟ้องคดีเดิมหลังจากฟ้องคดีใหม่ ไม่ทำให้โจทก์มีสิทธิฟ้องจำเลยที่ 1 ถึงที่ 6 ในคดีใหม่ได้
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 569 และพระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ. 2517 มาตรา 29 สัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์หรือการเช่านาย่อมไม่ระงับไปเพราะการโอนกรรมสิทธิ์ทรัพย์สินหรือนาที่ให้เช่าผู้รับโอนจะต้องรับไปทั้งสิทธิและหน้าที่ของผู้โอนซึ่งมีต่อผู้เช่า จำเลยที่ 1 ผู้ให้เช่านาพิพาทโอนขายที่นาพิพาทให้แก่จำเลยที่ 2 ถึงที่ 6 โดยไม่ได้แจ้งการขายให้แก่โจทก์ทั้งสองซึ่งเป็นผู้เช่าก่อน โจทก์ทั้งสองจึงมีสิทธิซื้อที่นาพิพาทคืนจากจำเลยที่ 2 ถึงที่ 6 ตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ. 2517 มาตรา 41 เมื่อจำเลยที่ 2 ถึงที่ 6 โอนขายนาพิพาทต่อไปให้จำเลยที่ 7 จำเลยที่ 7 ผู้รับโอนย่อมรับไปทั้งสิทธิและหน้าที่ซึ่งจำเลยที่ 2 ถึงที่ 6 มีอยู่ต่อโจทก์ทั้งสองผู้เช่านาพิพาทโจทก์ทั้งสองจึงมีสิทธิที่จะซื้อนาจากจำเลยที่ 7 ตามราคาและวิธีการชำระเงินตามที่จำเลยที่ 2 ถึงที่ 6 ซื้อไว้
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 569 และพระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ. 2517 มาตรา 29 สัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์หรือการเช่านาย่อมไม่ระงับไปเพราะการโอนกรรมสิทธิ์ทรัพย์สินหรือนาที่ให้เช่าผู้รับโอนจะต้องรับไปทั้งสิทธิและหน้าที่ของผู้โอนซึ่งมีต่อผู้เช่า จำเลยที่ 1 ผู้ให้เช่านาพิพาทโอนขายที่นาพิพาทให้แก่จำเลยที่ 2 ถึงที่ 6 โดยไม่ได้แจ้งการขายให้แก่โจทก์ทั้งสองซึ่งเป็นผู้เช่าก่อน โจทก์ทั้งสองจึงมีสิทธิซื้อที่นาพิพาทคืนจากจำเลยที่ 2 ถึงที่ 6 ตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ. 2517 มาตรา 41 เมื่อจำเลยที่ 2 ถึงที่ 6 โอนขายนาพิพาทต่อไปให้จำเลยที่ 7 จำเลยที่ 7 ผู้รับโอนย่อมรับไปทั้งสิทธิและหน้าที่ซึ่งจำเลยที่ 2 ถึงที่ 6 มีอยู่ต่อโจทก์ทั้งสองผู้เช่านาพิพาทโจทก์ทั้งสองจึงมีสิทธิที่จะซื้อนาจากจำเลยที่ 7 ตามราคาและวิธีการชำระเงินตามที่จำเลยที่ 2 ถึงที่ 6 ซื้อไว้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1403-1404/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิซื้อคืนนาที่เช่า เมื่อผู้ขายไม่แจ้งสิทธิก่อนตามพ.ร.บ.ควบคุมการเช่านา
คดีสำนวนแรกโจทก์ฟ้องให้จำเลยที่ 1 ขายนาพิพาทให้แก่โจทก์ซึ่งเป็นผู้เช่านาพิพาทจากจำเลยที่ 2 ก่อนที่จำเลยที่ 2 ขายนาพิพาทให้แก่จำเลยที่ 1 เนื่องจากจำเลยที่ 2 ขายนาพิพาทโดยมิได้แจ้งให้โจทก์ทราบก่อนอันเป็นการฝ่าฝืนพระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ. 2517 คดีสำนวนหลังโจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายที่เข้าทำนาไม่ได้จากจำเลยที่ 2 จำเลยทั้งสองสำนวนให้การต่อสู้ว่าโจทก์มิใช่ผู้เช่านาจากจำเลยที่ 2 มาก่อน ศาลชั้นต้นรวมการพิจารณาพิพากษาเข้าด้วยกันโดยพิพากษาให้จำเลยที่ 1 ขายนาพิพาทแก่โจทก์และให้จำเลยที่ 2 ใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์ตามฟ้องจำเลยทั้งสองสำนวนอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์พิพากษายืน จำเลยทั้งสองฎีกาต่อมา ดังนี้คดีสำนวนหลังเป็นการฟ้องในมูลละเมิดทุนทรัพย์ที่พิพาทไม่เกิน 20,000 บาท จึงต้องห้ามอุทธรณ์ในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 224 จำเลยที่ 2 อุทธรณ์ประเด็นที่ว่า โจทก์มิใช่ผู้เช่านาพิพาท จึงไม่มีสิทธิซื้อนาคืนและไม่ได้รับความเสียหายเป็นอุทธรณ์ในข้อเท็จจริง แม้ศาลอุทธรณ์จะรับวินิจฉัยให้ก็ไม่ชอบด้วยกระบวนพิจารณา จำเลยที่ 2 ไม่มีสิทธิฎีกาต่อมา ข้อเท็จจริงคงยุติไปตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย คงรับวินิจฉัยเฉพาะฎีกาของจำเลยที่ 1 เกี่ยวกับสำนวนแรกที่ว่าโจทก์เป็นผู้เช่านาจากจำเลยที่ 2 หรือไม่
จำเลยที่ 2 ขายนาพิพาทให้จำเลยที่ 1 โดยไม่ได้แจ้งให้โจทก์ทราบเพื่อใช้สิทธิซื้อก่อนตามที่พระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ. 2517 มาตรา 41 วรรคแรก บังคับไว้ โจทก์จึงมีสิทธิซื้อนาพิพาทคืนจากจำเลยที่ 1 ในราคาและวิธีการชำระเงินที่จำเลยที่ 2 ได้ขายให้แก่จำเลยที่ 1 ตามที่มาตรา 41 วรรคสี่ บัญญัติไว้.
จำเลยที่ 2 ขายนาพิพาทให้จำเลยที่ 1 โดยไม่ได้แจ้งให้โจทก์ทราบเพื่อใช้สิทธิซื้อก่อนตามที่พระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ. 2517 มาตรา 41 วรรคแรก บังคับไว้ โจทก์จึงมีสิทธิซื้อนาพิพาทคืนจากจำเลยที่ 1 ในราคาและวิธีการชำระเงินที่จำเลยที่ 2 ได้ขายให้แก่จำเลยที่ 1 ตามที่มาตรา 41 วรรคสี่ บัญญัติไว้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1403-1404/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิซื้อคืนนาที่เช่าเมื่อมีการขายฝ่าฝืนพ.ร.บ.ควบคุมการเช่านา และขอบเขตการอุทธรณ์คดีมูลค่าทรัพย์สินต่ำกว่า 20,000 บาท
คดีสำนวนแรกโจทก์ฟ้องให้จำเลยที่ 1 ขายนาพิพาทให้แก่โจทก์ซึ่งเป็นผู้เช่านาพิพาทจากจำเลยที่ 2 ก่อนที่จำเลยที่ 2 ขายนาพิพาทให้แก่จำเลยที่ 1 เนื่องจากจำเลยที่ 2 ขายนาพิพาทโดยมิได้แจ้งให้โจทก์ทราบก่อนอันเป็นการฝ่าฝืนพระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ. 2517 คดีสำนวนหลังโจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายที่เข้าทำนาไม่ได้จากจำเลยที่ 2 จำเลยทั้งสองสำนวนให้การต่อสู้ว่าโจทก์มิใช่ผู้เช่านาจากจำเลยที่ 2 มาก่อน ศาลชั้นต้นรวมการพิจารณาพิพากษาเข้าด้วยกันโดยพิพากษาให้จำเลยที่ 1 ขายนาพิพาทแก่โจทก์และให้จำเลยที่ 2 ใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์ตามฟ้องจำเลยทั้งสองสำนวนอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์พิพากษายืน จำเลยทั้งสองฎีกาต่อมา ดังนี้คดีสำนวนหลังเป็นการฟ้องในมูลละเมิดทุนทรัพย์ที่พิพาทไม่เกิน 20,000 บาท จึงต้องห้ามอุทธรณ์ในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 224 จำเลยที่2 อุทธรณ์ประเด็นที่ว่า โจทก์มิใช่ผู้เช่านาพิพาท จึงไม่มีสิทธิซื้อนาคืนและไม่ได้รับความเสียหายเป็นอุทธรณ์ในข้อเท็จจริง แม้ศาลอุทธรณ์จะรับวินิจฉัยให้ก็ไม่ชอบด้วยกระบวนพิจารณา จำเลยที่ 2 ไม่มีสิทธิฎีกาต่อมา ข้อเท็จจริงคงยุติไปตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย คงรับวินิจฉัยเฉพาะฎีกาของจำเลยที่ 1 เกี่ยวกับสำนวนแรกที่ว่าโจทก์เป็นผู้เช่านาจากจำเลยที่ 2 หรือไม่
จำเลยที่ 2 ขายนาพิพาทให้จำเลยที่ 1 โดยไม่ได้แจ้งให้โจทก์ทราบเพื่อใช้สิทธิซื้อก่อนตามที่พระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ. 2517 มาตรา 41 วรรคแรก บังคับไว้ โจทก์จึงมีสิทธิซื้อนาพิพาทคืนจากจำเลยที่ 1 ในราคาและวิธีการชำระเงินที่จำเลยที่ 2 ได้ขายให้แก่จำเลยที่ 1 ตามที่มาตรา 41วรรคสี่ บัญญัติไว้.
จำเลยที่ 2 ขายนาพิพาทให้จำเลยที่ 1 โดยไม่ได้แจ้งให้โจทก์ทราบเพื่อใช้สิทธิซื้อก่อนตามที่พระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ. 2517 มาตรา 41 วรรคแรก บังคับไว้ โจทก์จึงมีสิทธิซื้อนาพิพาทคืนจากจำเลยที่ 1 ในราคาและวิธีการชำระเงินที่จำเลยที่ 2 ได้ขายให้แก่จำเลยที่ 1 ตามที่มาตรา 41วรรคสี่ บัญญัติไว้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3636/2529 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบอกเลิกสัญญาเช่านาต้องทำตามรูปแบบที่กฎหมายกำหนด (พระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ. 2517) มิเช่นนั้นการบอกเลิกไม่ชอบ
การเช่านาและการบอกเลิกการเช่านาพิพาทอยู่ในบังคับของพระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ. 2517 เมื่อโจทก์บอกเลิกการเช่านาพิพาทก่อนสิ้นกำหนดระยะเวลาการเช่านา โดยจำเลยรับทราบและไม่ประสงค์จะเช่านาพิพาทเช่นกัน จึงเป็นการแสดงเจตนาของทั้งสองฝ่ายว่า ผู้ให้เช่านากับผู้เช่านาตกลงเลิกการเช่านาพิพาท ซึ่งกรณีนี้มาตรา 31 (3) ของพระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ. 2517 ให้ทำเป็นหนังสือต่อหน้านายอำเภอหรือผู้ที่นายอำเภอมอบหมาย การเช่านาจึงจะสิ้นสุดลงก่อนกำหนดระยะเวลาเช่านา ดังนั้น เมื่อหนังสือบอกเลิกการเช่านาพิพาทไม่ได้ทำต่อหน้านายอำเภอหรือผู้ที่นายอำเภอมอบหมายจึงไม่เป็นผลให้การเช่านาพิพาทสิ้นสุดลงก่อนกำหนดระยะเวลาเช่า การบอกเลิกสัญญาเช่าของโจทก์จึงไม่ชอบ
พระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ. 2517 เป็นกฎหมายพิเศษ นอกเหนือกฎหมายธรรมดา จึงต้องบังคับตามกฎหมายพิเศษ
พระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ. 2517 เป็นกฎหมายพิเศษ นอกเหนือกฎหมายธรรมดา จึงต้องบังคับตามกฎหมายพิเศษ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3636/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบอกเลิกสัญญาเช่านาต้องทำตามเงื่อนไขพ.ร.บ.ควบคุมการเช่านาพ.ศ.2517 แม้ทั้งสองฝ่ายตกลงเลิกสัญญา
การเช่านาและการบอกเลิกการเช่านาพิพาทอยู่ในบังคับของพระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ. 2517 เมื่อโจทก์บอกเลิกการเช่านาพิพาทก่อนสิ้นกำหนดระยะเวลาการเช่านา โดยจำเลยรับทราบและไม่ประสงค์จะเช่านาพิพาทเช่นกัน จึงเป็นการแสดงเจตนาของทั้งสองฝ่ายว่า ผู้ให้เช่านากับผู้เช่านาตกลงเลิกการเช่านาพิพาท ซึ่งกรณีนี้มาตรา 31(3) ของพระราชบัญญัติควบคุมการเช่านาพ.ศ. 2517 ให้ทำเป็นหนังสือต่อหน้านายอำเภอหรือผู้ที่นายอำเภอมอบหมาย การเช่านาจึงจะสิ้นสุดลงก่อนกำหนดระยะเวลาเช่านา ดังนั้น เมื่อหนังสือบอกเลิกการเช่านาพิพาทไม่ได้ทำต่อหน้านายอำเภอหรือผู้ที่นายอำเภอมอบหมายจึงไม่เป็นผลให้การเช่านาพิพาทสิ้นสุดลงก่อนกำหนดระยะเวลาเช่า การบอกเลิกสัญญาเช่าของโจทก์จึงไม่ชอบ
พระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ. 2517 เป็นกฎหมายพิเศษ นอกเหนือกฎหมายธรรมดา จึงต้องบังคับตามกฎหมายพิเศษ
พระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ. 2517 เป็นกฎหมายพิเศษ นอกเหนือกฎหมายธรรมดา จึงต้องบังคับตามกฎหมายพิเศษ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2650/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิซื้อคืนที่นาของผู้เช่าช่วงเมื่อมีการโอนสิทธิการเช่า และผลกระทบของมติคณะกรรมการควบคุมการเช่านา
จำเลยที่1ให้จำเลยที่2เช่านาพิพาทและยอมรับรู้ในการที่จำเลยที่2เอานาพิพาทไปให้โจทก์เช่าช่วงด้วยโจทก์ย่อมได้รับความคุ้มครองตามพ.ร.บ.ควบคุมการเช่านาพ.ศ.2517มาตรา41เมื่อจำเลยที่2ซื้อนาพิพาทจากจำเลยที่1โดยไม่แจ้งให้โจทก์ทราบก่อนโจทก์ย่อมมีสิทธิซื้อนาพิพาทคืนจากจำเลยที่2ได้นับแต่วันที่จำเลยที่1จดทะเบียนโอนขายนาพิพาทให้จำเลยที่2ส่วนมติคณะกรรมการควบคุมการเช่านาประจำจังหวัดที่ให้โจทก์คืนนาแก่จำเลยที่2เพราะโจทก์ตักดินไปขายมีขึ้นภายหลังที่โจทก์มีสิทธิซื้อนาพิพาทคืนจากจำเลยที่2จึงมิอาจลบล้างสิทธิของโจทก์ได้.