พบผลลัพธ์ทั้งหมด 385 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 575/2500
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาที่ไม่สมบูรณ์และพยานหลักฐานที่ไม่น่าเชื่อถือ ศาลยกฟ้องคดีกู้ยืมเงิน
ฟ้องให้ชำระเงินกู้ จำเลยให้การว่าไม่เคยเซ็นสัญญากู้ให้โจทก์ ไม่เคยกรอกหรือยินยอมให้กรอกข้อความในสัญญาที่ฟ้องลายเซ็นในสัญญาไม่ใช่ของจำเลยเป็นคำให้การปฏิเสธทั้งความถูกต้องแท้จริงแห่งเอกสารและว่าหนี้นั้นไม่สมบูรณ์เมื่อคดีได้ความว่าลายมือชื่อเป็นของจำเลยแต่จำเลยมิได้เขียนข้อความเป็นสัญญากู้ จำเลยไม่ต้องรับผิด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1546/2500 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมต่อท้าย: รายการต่อเนื่องใช้ได้ แม้ไม่มีลายมือชื่อกำกับ
รายการต่อท้ายตัวพินัยกรรมซึ่งผู้ทำพินัยกรรมและพยานลงชื่อไว้ และรายการต่อท้ายนั้นเขียนต่อท้ายไว้หลังลายมือชื่อที่ผู้ทำพินัยกรรมและพยานที่เซ็นไว้ และไม่มีชื่อผู้ทำพินัยกรรมและพยายเซ็นกำกับรายการอีกทีหนึ่งก็นับว่าใช้ได้เพราะมันติดต่อเนื่องกับตัวพินัยกรรมแท้ สืบเนื่องเป็นฉบับเดียวกัน.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1215/2500
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลงลายมือชื่อในสัญญากู้ยืม การเซ็นชื่อยี่ห้อร้านค้าถือเป็นลายมือชื่อผู้กู้ได้ตามกฎหมาย
จำเลยทำเอกสารกู้ โดยจำเลยเซ็นชื่อยี่ห้อร้านค้าของจำเลยเป็นผู้กู้ ถือได้ว่าจำเลยลงลายมือชื่อโจทก์ใช้เอกสารนี้ฟ้องให้จำเลยใช้เงินกู้ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1010/2500
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การค้ำประกันโดยลายมือชื่อในช่องผู้ค้ำประกัน ย่อมแสดงเจตนาผูกพันตามสัญญา แม้ไม่มีข้อความระบุ
การที่จำเลยที่ 1 กรอกข้อความในสัญญากู้แล้วระบุให้จำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันเมื่อเขียนแล้วจำเลยที่ 1ลงชื่อเป็นผู้กู้แล้วบรรทัดต่อมา มีช่องผู้ค้ำประกันไม่มีข้อความอื่นเมื่อจำเลยที่ 2 ลงชื่อในช่องผู้ค้ำประกันก็ย่อมผูกพันตนในการชำระหนี้ที่ผู้กู้กู้ไปนั้นในฐานะผู้ค้ำประกันแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 749-750/2499 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องไม่สมบูรณ์-ขาดลายมือชื่อผู้เรียง-บทลงโทษไม้หวงห้าม-ศาลฎีกายกฟ้อง
ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษจำเลยโดยให้วางโทษฐานปาณีตาม ก.ม.อาญา ม.59 และให้ลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกิน 5 ปี จำเลยฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงไม่ได้เพราะต้องห้ามตาม ป.วิ.อาญา มาตรา 218
คำขอให้ลงโทษของโจทก์ ๆ มิได้อ้าง พ.ร.บ.ป่ไม้ พ.ศ.2484 ม.69,73 คงอ้างมาแต่ พ.ร.บ.ป่าไม้ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2494 ม.16,17 เช่นนี้ถือได้แล้วว่าฟ้องโจทก์ได้อ้างมาตราใน ก.ม.ซึ่งบัญญัติว่าการกระทำของจำเลยนั้นเป็นความผิดและความใน พ.ร.บ.ป่าไม้ พ.ศ.2484 ม.69,73 ได้ถูกยกเลิกตาม พ.ร.บ.ป่าไม้ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2494 ม.16,17 แล้วเมื่อศาลเห็นว่าข้อเท็จจริงตามฟ้องโจทก์สืบสม ศาลย่อมมีอำนาจลงโทษจำเลยได้แม้ศาลจะอ้าง ม.69 และ 73 แห่งพ.ร.บ.ป่าไม้ พ.ศ.2484 เป็นบทลงโทษด้วยก็หาทำให้จำเลยพ้นผิดไปได้ไม่จึงถือว่าฟ้องของโจทก์เป็นฟ้องที่สมบูรรณ์ตาม ป.วิ.อาญา ม.158(6) และการที่ศาลลงโทษจำเลยก็ชอบด้วยกระบวนวิธีพิจารณาแล้ว
ปัญหาว่าฟ้องของโจทก์เป็นฟ้องที่ไม่ชอบด้วย ก.ม.หรือไม่เพราะไม่มีลายมือชื่อผู้เรียงถือว่าเป็นปัญหาข้อ ก.ม.ที่เกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อย แม้จำเลยจะมิได้หยิบยกขึ้นโต้เถียงในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ แต่จำเลยย่อมหยิบยกขึ้นโต้เถียงในชั้นศาลฎีกาได้เสมอ
ปรากฏว่าฟ้องของโจทก์ไม่มีลายมือชื่อผู้เรียงจริง จึงถือว่าไม่เป็นฟ้องตาม ป.วิ.อาญา ม.158(7) ศาลต้องยกฟ้องเสียโดยไม่จำเป็นต้องพิจารณาถึงปัญหาอื่นอีก
จำเลยฎีกาว่าจำเลยได้ชำระค่าปรับตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นไว้แล้ว แต่จำเลยต้องถูกขังเกินกำหนดเวลาที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาให้จำคุกและปรับมา ศาลควรต้องหักเวลาที่ต้องขังเกินกำหนดโดยคิดเป็นเงินวันละ 1 บาท คืนให้จำเลยนั้น กรณีเป็นเรื่องบังคับตามคำพิพากษา เมื่อยังไม่ปรากฏว่าศาลล่างได้มีคำสั่งเกี่ยวกับเรื่องนี้ไว้อย่างไรย่อมถือว่ายังไม่มีปัญหามาสู่ศาลฎีกา ๆ จึงไม่วินิจฉัยให้.
คำขอให้ลงโทษของโจทก์ ๆ มิได้อ้าง พ.ร.บ.ป่ไม้ พ.ศ.2484 ม.69,73 คงอ้างมาแต่ พ.ร.บ.ป่าไม้ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2494 ม.16,17 เช่นนี้ถือได้แล้วว่าฟ้องโจทก์ได้อ้างมาตราใน ก.ม.ซึ่งบัญญัติว่าการกระทำของจำเลยนั้นเป็นความผิดและความใน พ.ร.บ.ป่าไม้ พ.ศ.2484 ม.69,73 ได้ถูกยกเลิกตาม พ.ร.บ.ป่าไม้ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2494 ม.16,17 แล้วเมื่อศาลเห็นว่าข้อเท็จจริงตามฟ้องโจทก์สืบสม ศาลย่อมมีอำนาจลงโทษจำเลยได้แม้ศาลจะอ้าง ม.69 และ 73 แห่งพ.ร.บ.ป่าไม้ พ.ศ.2484 เป็นบทลงโทษด้วยก็หาทำให้จำเลยพ้นผิดไปได้ไม่จึงถือว่าฟ้องของโจทก์เป็นฟ้องที่สมบูรรณ์ตาม ป.วิ.อาญา ม.158(6) และการที่ศาลลงโทษจำเลยก็ชอบด้วยกระบวนวิธีพิจารณาแล้ว
ปัญหาว่าฟ้องของโจทก์เป็นฟ้องที่ไม่ชอบด้วย ก.ม.หรือไม่เพราะไม่มีลายมือชื่อผู้เรียงถือว่าเป็นปัญหาข้อ ก.ม.ที่เกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อย แม้จำเลยจะมิได้หยิบยกขึ้นโต้เถียงในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ แต่จำเลยย่อมหยิบยกขึ้นโต้เถียงในชั้นศาลฎีกาได้เสมอ
ปรากฏว่าฟ้องของโจทก์ไม่มีลายมือชื่อผู้เรียงจริง จึงถือว่าไม่เป็นฟ้องตาม ป.วิ.อาญา ม.158(7) ศาลต้องยกฟ้องเสียโดยไม่จำเป็นต้องพิจารณาถึงปัญหาอื่นอีก
จำเลยฎีกาว่าจำเลยได้ชำระค่าปรับตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นไว้แล้ว แต่จำเลยต้องถูกขังเกินกำหนดเวลาที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาให้จำคุกและปรับมา ศาลควรต้องหักเวลาที่ต้องขังเกินกำหนดโดยคิดเป็นเงินวันละ 1 บาท คืนให้จำเลยนั้น กรณีเป็นเรื่องบังคับตามคำพิพากษา เมื่อยังไม่ปรากฏว่าศาลล่างได้มีคำสั่งเกี่ยวกับเรื่องนี้ไว้อย่างไรย่อมถือว่ายังไม่มีปัญหามาสู่ศาลฎีกา ๆ จึงไม่วินิจฉัยให้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 749-750/2499
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความสมบูรณ์ของฟ้องคดีป่าไม้และการขาดลายมือชื่อผู้เรียงฟ้องส่งผลต่อความชอบด้วยกฎหมายของคำพิพากษา
ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษจำเลยโดยให้วางโทษทั้งจำคุกและปรับ
ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ไขเพียงเล็กน้อยในข้อให้ลดโทษฐานปราณีตาม กฎหมายอาญา มาตรา 59 และให้ลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกิน 5 ปี จำเลยฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงไม่ได้เพราะต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218
คำขอให้ลงโทษของโจทก์ โจทก์มิได้อ้าง พระราชบัญญัติป่าไม้พ.ศ. 2484 มาตรา 69,73 คงอ้างมาแต่ พระราชบัญญัติป่าไม้(ฉบับที่ 3)พ.ศ. 2494 มาตรา16,17 เช่นนี้ถือได้แล้วว่าฟ้องโจทก์ได้อ้างมาตราในกฎหมายซึ่งบัญญัติว่าการกระทำของจำเลยนั้นเป็นความผิดและความใน พระราชบัญญัติป่าไม้พ.ศ.2484 มาตรา 69,73 ได้ถูกยกเลิกตามพระราชบัญญัติป่าไม้ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2494 มาตรา 16,17 แล้ว เมื่อศาลเห็นว่าข้อเท็จจริงตามฟ้องโจทก์สืบสมศาลย่อมมีอำนาจลงโทษจำเลยได้แม้ศาลจะอ้าง มาตรา 69 และ 73 แห่งพระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ.2484 เป็นบทลงโทษด้วยก็หาทำให้จำเลยพ้นผิดไปได้ไม่จึงถือว่าฟ้องของโจทก์เป็นฟ้องที่สมบูรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(6) และการที่ศาลลงโทษจำเลยก็ชอบด้วยกระบวนวิธีพิจารณาแล้ว
ปัญหาว่าฟ้องของโจทก์เป็นฟ้องที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรือไม่เพราะไม่มีลายมือชื่อผู้เรียงถือว่าเป็นปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยแม้จำเลยจะมิได้หยิบยกขึ้นโต้เถียงในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์แต่จำเลยย่อมหยิบยกขึ้นโต้เถียงในชั้นศาลฎีกาได้เสมอ
ปรากฏว่าฟ้องของโจทก์ไม่มีลายมือชื่อผู้เรียงจริงจึงถือว่าไม่เป็นฟ้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา158(7) ศาลต้องยกฟ้องเสียโดยไม่จำต้องพิจารณาถึงปัญหาอื่นอีก
จำเลยฎีกาว่าจำเลยได้ชำระค่าปรับตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นไว้แล้วแต่จำเลยต้องถูกขังเกินกำหนดเวลาที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาให้จำคุกและปรับมา ศาลควรต้องหักเวลาที่ต้องขังเกินกำหนดโดยคิดเป็นเงินวันละ1 บาท คืนให้จำเลยนั้นกรณีเป็นเรื่องบังคับตามคำพิพากษาเมื่อยังไม่ปรากฏว่าศาลล่างได้มีคำสั่งเกี่ยวกับเรื่องนี้ไว้อย่างไรย่อมถือว่ายังไม่มีปัญหามาสู่ศาลฎีกา ศาลฎีกาจึงไม่วินิจฉัยให้
ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ไขเพียงเล็กน้อยในข้อให้ลดโทษฐานปราณีตาม กฎหมายอาญา มาตรา 59 และให้ลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกิน 5 ปี จำเลยฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงไม่ได้เพราะต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218
คำขอให้ลงโทษของโจทก์ โจทก์มิได้อ้าง พระราชบัญญัติป่าไม้พ.ศ. 2484 มาตรา 69,73 คงอ้างมาแต่ พระราชบัญญัติป่าไม้(ฉบับที่ 3)พ.ศ. 2494 มาตรา16,17 เช่นนี้ถือได้แล้วว่าฟ้องโจทก์ได้อ้างมาตราในกฎหมายซึ่งบัญญัติว่าการกระทำของจำเลยนั้นเป็นความผิดและความใน พระราชบัญญัติป่าไม้พ.ศ.2484 มาตรา 69,73 ได้ถูกยกเลิกตามพระราชบัญญัติป่าไม้ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2494 มาตรา 16,17 แล้ว เมื่อศาลเห็นว่าข้อเท็จจริงตามฟ้องโจทก์สืบสมศาลย่อมมีอำนาจลงโทษจำเลยได้แม้ศาลจะอ้าง มาตรา 69 และ 73 แห่งพระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ.2484 เป็นบทลงโทษด้วยก็หาทำให้จำเลยพ้นผิดไปได้ไม่จึงถือว่าฟ้องของโจทก์เป็นฟ้องที่สมบูรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(6) และการที่ศาลลงโทษจำเลยก็ชอบด้วยกระบวนวิธีพิจารณาแล้ว
ปัญหาว่าฟ้องของโจทก์เป็นฟ้องที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรือไม่เพราะไม่มีลายมือชื่อผู้เรียงถือว่าเป็นปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยแม้จำเลยจะมิได้หยิบยกขึ้นโต้เถียงในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์แต่จำเลยย่อมหยิบยกขึ้นโต้เถียงในชั้นศาลฎีกาได้เสมอ
ปรากฏว่าฟ้องของโจทก์ไม่มีลายมือชื่อผู้เรียงจริงจึงถือว่าไม่เป็นฟ้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา158(7) ศาลต้องยกฟ้องเสียโดยไม่จำต้องพิจารณาถึงปัญหาอื่นอีก
จำเลยฎีกาว่าจำเลยได้ชำระค่าปรับตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นไว้แล้วแต่จำเลยต้องถูกขังเกินกำหนดเวลาที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาให้จำคุกและปรับมา ศาลควรต้องหักเวลาที่ต้องขังเกินกำหนดโดยคิดเป็นเงินวันละ1 บาท คืนให้จำเลยนั้นกรณีเป็นเรื่องบังคับตามคำพิพากษาเมื่อยังไม่ปรากฏว่าศาลล่างได้มีคำสั่งเกี่ยวกับเรื่องนี้ไว้อย่างไรย่อมถือว่ายังไม่มีปัญหามาสู่ศาลฎีกา ศาลฎีกาจึงไม่วินิจฉัยให้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1337/2499
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิสูจน์ลายมือชื่อในสัญญากู้ ศาลเทียบเคียงกับลายมือชื่อจริงในสำนวนได้
สัญญากู้ที่ส่งศาลจัดว่าเป็นพยานหลักฐานอันหนึ่ง เมื่อเถียงกันว่าลายมือชื่อผู้กู้ตามสัญญานั้นเป็นลายมือชื่อของจำเลยจริงหรือไม่ ศาลย่อมพิจารณาเทียบเคียงพิเคราะห์กับลายมือชื่อของจำเลยที่แท้จริงในท้องสำนวนซึ่งรับรองกันอยู่แล้วประกอบกับคำพยานแล้ววินิจฉัยชี้ขาดว่าเป็นลายมือชื่อของจำเลยตามที่เป็นข้อโต้เถียงกันได้ ไม่ผิดกระบวนพิจารณาอย่างใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1333/2499
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ลายมือชื่อในสัญญากู้เป็นหลักฐานสำคัญ ศาลเทียบเคียงลายมือชื่อในสำนวนเพื่อพิสูจน์
สัญญากู้ที่ส่งศาลจัดว่าเป็นพยานหลักฐานอันหนึ่ง เมื่อเถียงกันว่าลายมือชื่อผู้กู้ตามสัญญานั้นเป็นลายมือชื่อของจำเลยจริงหรือไม่ ศาลย่อมพิจารณาเทียบเคียงพิเคราะห์กับลายมือชื่อของจำเลยที่แท้จริงในท้องสำนวนซึ่งรับรองกันอยู่แล้วประกอบกับคำพยานแล้ววินิจฉัยชี้ขาดว่าเป็นลายมือชื่อของจำเลยตามที่เป็นข้อโต้เถียงกันได้ ไม่ผิดกระบวนพิจารณาอย่างใด.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1241/2499 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หลักฐานการกู้ยืมเงิน ไม่ต้องมีคำว่า 'กู้ยืม' ในเอกสาร หนังสือแสดงความเป็นหนี้ลงลายมือชื่อก็ใช้ได้
การกู้ยืมเงินนั้น ป.พ.พ.ม.653 มิได้มีความหมายเคร่งครัดถึงกับว่าจะต้องมีถ้อยคำว่ากู้ยืมเงินเป็นหลักฐานในเอกสาร
เมื่อโจทก์มีหนังสืออันอาจแสดงความเป็นหนี้ลงลายมือชื่อลูกหนี้ ก็เป็นหลักฐานแห่งการกู้ยืมได้
เมื่อโจทก์มีหนังสืออันอาจแสดงความเป็นหนี้ลงลายมือชื่อลูกหนี้ ก็เป็นหลักฐานแห่งการกู้ยืมได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1241/2499
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หลักฐานการกู้ยืมเงิน ไม่ต้องมีคำว่า 'กู้ยืม' โดยตรง หนังสือลงลายมือชื่อลูกหนี้ก็ใช้ได้
การกู้ยืมเงินนั้น ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 653 มิได้มีความหมายเคร่งครัดถึงกับว่าจะต้องมีถ้อยคำว่ากู้ยืมเงินเป็นหลักฐานในเอกสาร
เมื่อโจทก์มีหนังสืออันอาจแสดงความเป็นหนี้ลงลายมือชื่อลูกหนี้ ก็อาจเป็นหลักฐานแห่งการกู้ยืมได้
เมื่อโจทก์มีหนังสืออันอาจแสดงความเป็นหนี้ลงลายมือชื่อลูกหนี้ ก็อาจเป็นหลักฐานแห่งการกู้ยืมได้