พบผลลัพธ์ทั้งหมด 473 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 291/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนทรัพย์สินโดยเสน่หาเพื่อหลีกเลี่ยงเจ้าหนี้ ถือเป็นการเสียเปรียบเจ้าหนี้และอาจถูกเพิกถอนได้
นิติกรรมการโอนที่ดินรายพิพาทให้ผู้ร้องได้ทำเป็นการยกให้โดยเสน่หาดังนี้ ที่ผู้ร้องอ้างว่าได้ชำระหนี้แทนบิดาและจำเลยผู้โอนซึ่งเป็นมารดาจะถือว่าเป็นค่าตอบแทนโดยตรงหาได้ไม่ การที่บุตรชำระหนี้แทนบิดามารดาเป็นหน้าที่ทางศีลธรรมประการหนึ่ง ไม่มีผลเปลี่ยนแปลงประเภทนิติกรรมให้เป็นอื่นไปได้ ฉะนั้น การที่จำเลยโอนที่ดินรายพิพาทให้ผู้ร้องเพียงแต่จำเลยและสามีรู้ฝ่ายเดียวว่าเป็นทางให้เจ้าหนี้เสียเปรียบก็พอแล้วที่จะเพิกถอนการโอนได้ ข้อที่ผู้ร้องอ้างว่าจำเลยยังมีที่ดินอีกแปลงหนึ่งก็ปรากฏว่าจำเลยมีเจ้าหนี้อื่นอีกหลายราย บางรายก็ยังฟ้องร้องอยู่ราคาที่ดินที่ว่าก็ยังโต้เถียงกัน ไม่แน่ว่าทรัพย์สินของจำเลยจะพอชำระหนี้ครบถ้วนหรือไม่ ดังนี้ ถือว่าการที่จำเลยโอนที่ดินให้ผู้ร้องเป็นทางให้โจทก์ผู้เป็นเจ้าหนี้เสียเปรียบ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1898/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนี้ร่วมสามีภริยาจากการลงทุนประกอบอาชีพ และการยึดทรัพย์สินร่วมเพื่อชำระหนี้
กู้เงินมาลงทุนเพื่อประกอบอาชีพหาเลี้ยงครอบครัว จึงเป็นหนี้ของจำเลยและผู้ร้องซึ่งเป็นสามีภริยากัน สวนพิพาทไม่ว่าจะเป็นสินสมรสหรือสินเดิม จึงเป็นสินบริคณห์ที่โจทก์นำยึดใช้หนี้ได้ทั้งสิ้น
โจทก์มิใช้อิสลามศาสนิก จะบังคับคดีตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการใช้กฎหมายอิสลามในเขตจังหวัดปัตตานี ฯลฯ พ.ศ. 2489 มาตรา 3 มิได้
โจทก์มิใช้อิสลามศาสนิก จะบังคับคดีตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการใช้กฎหมายอิสลามในเขตจังหวัดปัตตานี ฯลฯ พ.ศ. 2489 มาตรา 3 มิได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1485/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การล้มละลาย: การพิสูจน์ว่าลูกหนี้มีทรัพย์สินเพียงพอชำระหนี้ได้ ทำให้ไม่ต้องพิจารณาหนี้สิน
ประเด็นสำคัญในคดีล้มละลายมีอยู่ว่า จำเลยซึ่งถูกฟ้องขอให้ล้มละลายเป็นผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัวซึ่งมีกำหนดจำนวนหนี้สินแน่นอนเกินกว่าพันบาทหรือไม่ (หลังจากใช้พระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2501 แล้ว จำนวนหนี้สินต้องไม่น้อยกว่าสามหมื่นบาท) เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่าจำเลยยังไม่มีหนี้สินล้นพ้นตัว การที่จำเลยจะเป็นหนี้โจทก์จริงหรือไม่ จึงไม่ใช่ประเด็นที่จะต้องชี้ขาดในชั้นนี้ เพราะไม่ทำให้ผลแห่งคำพิพากษาที่ยกฟ้องเปลี่ยนแปลงไป
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ในคดีล้มละลายวินิจฉัยว่า ตามเอกสารที่โจทก์อ้างฟ้อง จำเลยได้ยืมเงินไปจากโจทก์ แต่การยืมตามเอกสารบางฉบับ เป็นเวลากว่า 10 ปีแล้ว จำเลยไม่ได้รับสภาพหนี้จึงขาดอายุความ ส่วนหนี้ที่ไม่ขาดอายุความนั้น ไม่จำเป็นต้องชี้ขาดว่าจำเลยเป็นหนี้โจทก์อยู่เท่าใดแน่นอน เพราะจำเลยนำสืบได้ว่าจำเลยมีทรัพย์สินอาจชำระหนี้โจทก์ได้ทั้งหมด ไม่มีเหตุอันควรให้จำเลยล้มละลาย แม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษายกฟ้องโจทก์ แต่คำวินิจฉัยที่ว่า จำเลยยืมเงินไปจากโจทก์และหนี้ตามเอกสารบางฉบับยังไม่ขาดอายุความ อาจมีผลผูกพันจำเลยให้ต้องรับผิดในทางแพ่ง จำเลยจึงมีสิทธิฎีกาคัดค้านได้
(ข้อกฎหมายวรรคท้ายนี้ สรุปจำนวนผลที่ศาลฎีการับวินิจฉัยฎีกาของจำเลย)
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ในคดีล้มละลายวินิจฉัยว่า ตามเอกสารที่โจทก์อ้างฟ้อง จำเลยได้ยืมเงินไปจากโจทก์ แต่การยืมตามเอกสารบางฉบับ เป็นเวลากว่า 10 ปีแล้ว จำเลยไม่ได้รับสภาพหนี้จึงขาดอายุความ ส่วนหนี้ที่ไม่ขาดอายุความนั้น ไม่จำเป็นต้องชี้ขาดว่าจำเลยเป็นหนี้โจทก์อยู่เท่าใดแน่นอน เพราะจำเลยนำสืบได้ว่าจำเลยมีทรัพย์สินอาจชำระหนี้โจทก์ได้ทั้งหมด ไม่มีเหตุอันควรให้จำเลยล้มละลาย แม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษายกฟ้องโจทก์ แต่คำวินิจฉัยที่ว่า จำเลยยืมเงินไปจากโจทก์และหนี้ตามเอกสารบางฉบับยังไม่ขาดอายุความ อาจมีผลผูกพันจำเลยให้ต้องรับผิดในทางแพ่ง จำเลยจึงมีสิทธิฎีกาคัดค้านได้
(ข้อกฎหมายวรรคท้ายนี้ สรุปจำนวนผลที่ศาลฎีการับวินิจฉัยฎีกาของจำเลย)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1485/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คดีล้มละลาย: การพิสูจน์ฐานะลูกหนี้และการมีทรัพย์สินพอชำระหนี้เป็นปัจจัยสำคัญ
ประเด็นสำคัญในคดีล้มละลายมีอยู่ว่า จำเลยซึ่งถูกฟ้องขอให้ล้มละลายเป็นผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัวซึ่งมีกำหนดจำนวนหนี้สินแน่นอนเกินกว่าพันบาทหรือไม่ (หลังจากใช้พระราชบัญญัติล้มละลาย(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2511 แล้ว จำนวนหนี้สินต้องไม่น้อยกว่าสามหมื่นบาท)เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่าจำเลยยังไม่มีหนี้สินล้นพ้นตัว การที่จำเลยจะเป็นหนี้โจทก์จริงหรือไม่ จึงไม่ใช่ประเด็นที่จะต้องชี้ขาดในชั้นนี้ เพราะไม่ทำให้ผลแห่งคำพิพากษาที่ยกฟ้องเปลี่ยนแปลงไป
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ในคดีล้มละลายวินิจฉัยว่า ตามเอกสารที่โจทก์อ้างฟ้อง จำเลยได้ยืมเงินไปจากโจทก์ แต่การยืมตามเอกสารบางฉบับ เป็นเวลากว่า 10 ปีแล้ว จำเลยไม่ได้รับสภาพหนี้ จึงขาดอายุความ ส่วนหนี้ที่ยังไม่ขาดอายุความนั้นไม่จำเป็นต้องชี้ขาดว่าจำเลยเป็นหนี้โจทก์อยู่เท่าใดแน่นอน เพราะจำเลยนำสืบได้ว่าจำเลยมีทรัพย์สินอาจชำระหนี้โจทก์ได้ทั้งหมด ไม่มีเหตุอันควรให้จำเลยล้มละลาย แม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษายกฟ้องโจทก์ แต่คำวินิจฉัยที่ว่า จำเลยยืมเงินไปจากโจทก์และหนี้ตามเอกสารบางฉบับยังไม่ขาดอายุความ อาจมีผลผูกพันจำเลยให้ต้องรับผิดในทางแพ่ง จำเลยจึงมีสิทธิฎีกาคัดค้านได้ (ข้อกฎหมายวรรคท้ายนี้ สรุปจากผลที่ศาลฎีการับวินิจฉัยฎีกาของจำเลย)
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ในคดีล้มละลายวินิจฉัยว่า ตามเอกสารที่โจทก์อ้างฟ้อง จำเลยได้ยืมเงินไปจากโจทก์ แต่การยืมตามเอกสารบางฉบับ เป็นเวลากว่า 10 ปีแล้ว จำเลยไม่ได้รับสภาพหนี้ จึงขาดอายุความ ส่วนหนี้ที่ยังไม่ขาดอายุความนั้นไม่จำเป็นต้องชี้ขาดว่าจำเลยเป็นหนี้โจทก์อยู่เท่าใดแน่นอน เพราะจำเลยนำสืบได้ว่าจำเลยมีทรัพย์สินอาจชำระหนี้โจทก์ได้ทั้งหมด ไม่มีเหตุอันควรให้จำเลยล้มละลาย แม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษายกฟ้องโจทก์ แต่คำวินิจฉัยที่ว่า จำเลยยืมเงินไปจากโจทก์และหนี้ตามเอกสารบางฉบับยังไม่ขาดอายุความ อาจมีผลผูกพันจำเลยให้ต้องรับผิดในทางแพ่ง จำเลยจึงมีสิทธิฎีกาคัดค้านได้ (ข้อกฎหมายวรรคท้ายนี้ สรุปจากผลที่ศาลฎีการับวินิจฉัยฎีกาของจำเลย)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 691/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าใช้จ่ายทวงหนี้ไม่ใช่ค่าเสียหายพิเศษ - ฝ่ายผิดนัดไม่จำเป็นต้องรับผิด
ค่าใช้จ่ายในการติดตามทวงถามหนี้สิน มิใช่ผลเกิดขึ้นโดยตรงจากการผิดสัญญาไม่ชำระหนี้จะถือว่าเป็นค่าเสียหายพิเศษก็ไม่ได้ทั้งไม่มีกฎหมายบังคับให้ฝ่ายผิดนัดผิดสัญญาต้องรับผิด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 691/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าใช้จ่ายทวงหนี้ไม่ใช่ค่าเสียหายพิเศษ ผู้ผิดนัดไม่ต้องรับผิด
ค่าใช้จ่ายในการติดตามทวงถามหนี้สิน มิใช่ผลเกิดขึ้นโดยตรงจากการผิดสัญญาไม่ชำระหนี้. จะถือว่าเป็นค่าเสียหายพิเศษก็ไม่ได้. ทั้งไม่มีกฎหมายบังคับให้ฝ่ายผิดนัดผิดสัญญาต้องรับผิด.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 331/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตการอุทธรณ์และการรับผิดในหนี้สินของผู้ชำระบัญชี: ศาลฎีกาวินิจฉัยประเด็นความรับผิดชอบของจำเลยที่ 2 จากข้อความในฟ้องอุทธรณ์
โจทก์อุทธรณ์ว่า "ในประเด็นข้อที่ว่าจำเลยที่ 2 จะต้องรับผิดชอบในหนี้สินที่โจทก์ฟ้องเป็นส่วนตัวหรือไม่ …. เมื่อข้อเท็จจริงตามหลักฐานพยานและข้อกฎหมายดังโจทก์ได้กราบเรียนมาแล้วฟังได้ว่า จำเลยที่ 1 จะต้องรับผิดในการชำระหนี้ตามที่จำเลยที่ 2 ในฐานะผู้ชำระบัญชีรับสภาพหนี้ต่อโรงงานกระดาษไทยในจำนวนหนี้ของโรงพิมพ์อำพลพิทยาต่อโจทก์แล้ว จำเลยที่ 2 ในฐานะส่วนตัวก็ไม่ต้องรับผิดชอบต่อโจทก์อีก" แปลไม่ได้ว่าหมายความว่าถ้าจำเลยที่ 1 ไม่ต้องรับผิดจำเลยที่ 2 ต้องรับผิดเป็นส่วนตัว ดังที่โจทก์ฎีกา แต่ข้อความนั้นกลับทำให้เข้าใจในทางตรงข้ามว่าจำเลยที่ 2 ไม่ต้องรับผิดเป็นส่วนตัว คดีสำหรับจำเลยที่ 2 จึงเป็นอันยุติตั้งแต่ศาลชั้นต้น
จำเลยที่ 1 ซื้อเชื่อกระดาษจากโจทก์เพื่อพิมพ์เป็นแบบพิมพ์ส่งหน่วยราชการ แม้จำเลยจะเรียกค่าตอบแทนค่าว่าจ้าง การกระทำของจำเลยก็เป็นการทำให้แบบพิมพ์เหล่านั้นเป็นสินค้าอันเป็นการประกอบอุตสาหกรรม คดีจึงมีอายุความ 5 ปี ตามมาตรา 165 วรรคท้าย
จำเลยที่ 1 ซื้อเชื่อกระดาษจากโจทก์เพื่อพิมพ์เป็นแบบพิมพ์ส่งหน่วยราชการ แม้จำเลยจะเรียกค่าตอบแทนค่าว่าจ้าง การกระทำของจำเลยก็เป็นการทำให้แบบพิมพ์เหล่านั้นเป็นสินค้าอันเป็นการประกอบอุตสาหกรรม คดีจึงมีอายุความ 5 ปี ตามมาตรา 165 วรรคท้าย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 331/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับผิดในหนี้สินของผู้ชำระบัญชีและการตีความข้อความในฟ้องอุทธรณ์
โจทก์อุทธรณ์ว่า 'ในประเด็นข้อที่ว่าจำเลยที่ 2จะต้องรับผิดชอบในหนี้สินที่โจทก์ฟ้องเป็นส่วนตัวโจทก์หรือไม่ ..... เมื่อข้อเท็จจริงตามหลักฐานพยานและข้อกฎหมายดังโจทก์ได้กราบเรียนมาแล้วฟังได้ว่า. จำเลยที่ 1 จะต้องรับผิดในการชำระหนี้ตามที่จำเลยที่ 2ในฐานะผู้ชำระบัญชีรับสภาพหนี้ต่อโรงงานกระดาษไทยในจำนวนหนี้ของโรงพิมพ์อำพลพิทยาต่อโจทก์แล้ว. จำเลยที่ 2 ในฐานะส่วนตัวก็ไม่ต้องรับผิดชอบต่อโจทก์อีก'. แปลไม่ได้ว่าหมายความว่าถ้าจำเลยที่ 1 ไม่ต้องรับผิด.จำเลยที่2 ต้องรับผิดเป็นส่วนตัว ดังที่โจทก์ฎีกา. แต่ข้อความนั้นกลับทำให้เข้าใจในทางตรงข้ามว่าจำเลยที่ 2 ไม่ต้องรับผิดเป็นส่วนตัว. คดีสำหรับจำเลยที่ 2 จึงเป็นอันยุติตั้งแต่ศาลชั้นต้น.
จำเลยที่ 1 ซื้อเชื่อกระดาษจากโจทก์เพื่อพิมพ์เป็นแบบพิมพ์ส่งหน่วยราชการ. แม้จำเลยจะเรียกค่าตอบแทนว่าค่าจ้าง การกระทำของจำเลยก็เป็นการทำให้แบบพิมพ์เหล่านั้นเป็นสินค้าอันเป็นการประกอบอุตสาหกรรม. คดีจึงมีอายุความ 5 ปี ตามมาตรา 165 วรรคท้าย.
จำเลยที่ 1 ซื้อเชื่อกระดาษจากโจทก์เพื่อพิมพ์เป็นแบบพิมพ์ส่งหน่วยราชการ. แม้จำเลยจะเรียกค่าตอบแทนว่าค่าจ้าง การกระทำของจำเลยก็เป็นการทำให้แบบพิมพ์เหล่านั้นเป็นสินค้าอันเป็นการประกอบอุตสาหกรรม. คดีจึงมีอายุความ 5 ปี ตามมาตรา 165 วรรคท้าย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1798/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีแพ่ง, การโอนหนี้สิน, ความรับผิดของผู้บังคับบัญชาต่อลูกน้อง, และอายุความละเมิด
คดีที่โจทก์ฟ้องให้จำเลยสองคนรับผิดทางแพ่ง ปรากฏว่าจำเลยคนหนึ่งมีภูมิลำเนาอยู่ในเขตศาล และมูลคดีก็เกิดขึ้นในเขตศาลนั้น ทั้งพยานหลักฐานส่วนใหญ่ก็อยู่ในจังหวัดนั้นด้วยทั้งโจทก์ก็ได้ยื่นคำร้องจนศาลสั่งอนุญาตให้โจทก์ยื่นคำฟ้องต่อศาลได้ การที่ศาลรับฟ้องคดีนั้นไว้พิจารณาพิพากษาจึงเป็นการชอบแล้ว
เดิมกรมทางหลวงมีชื่อว่ากรมทางหลวงแผ่นดิน สังกัดกระทรวงคมนาคม ต่อมาได้มีกฎหมายบัญญัติให้กรมทางหลวงแผ่นดินอยู่ในสังกัดกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ และให้โอนบรรดากิจการ ทรัพย์สิน หนี้สิน ข้าราชการ ฯลฯ ไปเป็นของกรมทางหลวงนั้น โดยผลแห่งกฎหมาย หนี้สินและสิทธิเรียกร้องที่กรมทางหลวงแผ่นดินมีต่อจำเลยลูกหนี้ย่อมโอนไปยังกรมทางหลวงโจทก์ โดยมิพักต้องบอกกล่าวการโอนไปยังจำเลยซึ่งเป็นลูกหนี้แต่อย่างใดและโจทก์ย่อมมีอำนาจฟ้องจำเลยได้
การที่จำเลยที่ 1 รับราชการอยู่ใต้บังคับบัญชาของจำเลยที่ 2 ได้ยักยอกเงินของทางราชการไปด้วยความประมาทเลินเล่อของจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาเช่นนี้ จำเลยที่ 2 ต้องรับผิด
กรณีละเมิดนั้น เมื่อโจทก์เพิ่งได้ทราบเรื่องจำเลยยักยอกจากการตรวจสอบบัญชีและหลักฐานการสอบสวนจากพนักงานเจ้าหน้าที่และมาฟ้องคดีในเวลายังไม่ครบ 1 ปีนับแต่วันที่โจทก์รู้ตัวผู้กระทำละเมิดและรู้ถึงการกระทำละเมิด คดีของโจทก์จึงยังหาขาดอายุความไม่
เดิมกรมทางหลวงมีชื่อว่ากรมทางหลวงแผ่นดิน สังกัดกระทรวงคมนาคม ต่อมาได้มีกฎหมายบัญญัติให้กรมทางหลวงแผ่นดินอยู่ในสังกัดกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ และให้โอนบรรดากิจการ ทรัพย์สิน หนี้สิน ข้าราชการ ฯลฯ ไปเป็นของกรมทางหลวงนั้น โดยผลแห่งกฎหมาย หนี้สินและสิทธิเรียกร้องที่กรมทางหลวงแผ่นดินมีต่อจำเลยลูกหนี้ย่อมโอนไปยังกรมทางหลวงโจทก์ โดยมิพักต้องบอกกล่าวการโอนไปยังจำเลยซึ่งเป็นลูกหนี้แต่อย่างใดและโจทก์ย่อมมีอำนาจฟ้องจำเลยได้
การที่จำเลยที่ 1 รับราชการอยู่ใต้บังคับบัญชาของจำเลยที่ 2 ได้ยักยอกเงินของทางราชการไปด้วยความประมาทเลินเล่อของจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาเช่นนี้ จำเลยที่ 2 ต้องรับผิด
กรณีละเมิดนั้น เมื่อโจทก์เพิ่งได้ทราบเรื่องจำเลยยักยอกจากการตรวจสอบบัญชีและหลักฐานการสอบสวนจากพนักงานเจ้าหน้าที่และมาฟ้องคดีในเวลายังไม่ครบ 1 ปีนับแต่วันที่โจทก์รู้ตัวผู้กระทำละเมิดและรู้ถึงการกระทำละเมิด คดีของโจทก์จึงยังหาขาดอายุความไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1798/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนหนี้สินทางแพ่งของหน่วยงานราชการ และความรับผิดของผู้บังคับบัญชาต่อการกระทำของลูกน้อง
คดีที่โจทก์ฟ้องให้จำเลยสองคนรับผิดทางแพ่ง ปรากฏว่าจำเลยคนหนึ่งมีภูมิลำเนาอยู่ในเขตศาล และมูลคดีก็เกิดขึ้นในเขตศาลนั้น ทั้งพยานหลักฐานส่วนใหญ่ก็อยู่ในจังหวัดนั้นด้วย ทั้งโจทก์ก็ได้ยื่นคำร้องจนศาลสั่งอนุญาตให้โจทก์ยื่นคำฟ้องต่อศาลได้ การที่ศาลรับฟ้องคดีนั้นไว้พิจารณาพิพากษาจึงเป็นการชอบแล้ว
เดิมกรมทางหลวงมีชื่อว่ากรมทางหลวงแผ่นดิน สังกัดกระทรวงคมนาคมต่อมาได้มีกฎหมายบัญญัติให้กรมทางหลวงแผ่นดินอยู่ในสังกัดกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ และให้โอนบรรดากิจการ ทรัพย์สิน หนี้สิน ข้าราชการ ฯลฯ ไปเป็นของกรมทางหลวงนั้น โดยผลแห่งกฎหมาย หนี้สินและสิทธิเรียกร้องที่กรมทางหลวงแผ่นดินมีต่อจำเลยลูกหนี้ย่อมโอนไปยังกรมทางหลวงโจทก์ โดยมิพักต้องบอกกล่าวการโอนไปยังจำเลยซึ่งเป็นลูกหนี้แต่อย่างใด และโจทก์ย่อมมีอำนาจฟ้องจำเลยได้
การที่จำเลยที่ 1 รับราชการอยู่ใต้บังคับบัญชาของจำเลยที่ 2 ได้ยักยอกเงินของทางราชการไปด้วยความประมาทเลินเล่อของจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาเช่นนี้ จำเลยที่ 2 ต้องรับผิด
กรณีละเมิดนั้น เมื่อโจทก์เพิ่งได้ทราบเรื่องจำเลยยักยอกจากการตรวจสอบบัญชีและหลักฐานการสอบสวนจากพนักงานเจ้าหน้าที่และมาฟ้องคดีในเวลายังไม่ครบ 1 ปีนับแต่วันที่โจทก์รู้ตัวผู้กระทำละเมิดและรู้ถึงการกระทำละเมิด คดีของโจทก์จึงยังหาขาดอายุความไม่
เดิมกรมทางหลวงมีชื่อว่ากรมทางหลวงแผ่นดิน สังกัดกระทรวงคมนาคมต่อมาได้มีกฎหมายบัญญัติให้กรมทางหลวงแผ่นดินอยู่ในสังกัดกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ และให้โอนบรรดากิจการ ทรัพย์สิน หนี้สิน ข้าราชการ ฯลฯ ไปเป็นของกรมทางหลวงนั้น โดยผลแห่งกฎหมาย หนี้สินและสิทธิเรียกร้องที่กรมทางหลวงแผ่นดินมีต่อจำเลยลูกหนี้ย่อมโอนไปยังกรมทางหลวงโจทก์ โดยมิพักต้องบอกกล่าวการโอนไปยังจำเลยซึ่งเป็นลูกหนี้แต่อย่างใด และโจทก์ย่อมมีอำนาจฟ้องจำเลยได้
การที่จำเลยที่ 1 รับราชการอยู่ใต้บังคับบัญชาของจำเลยที่ 2 ได้ยักยอกเงินของทางราชการไปด้วยความประมาทเลินเล่อของจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาเช่นนี้ จำเลยที่ 2 ต้องรับผิด
กรณีละเมิดนั้น เมื่อโจทก์เพิ่งได้ทราบเรื่องจำเลยยักยอกจากการตรวจสอบบัญชีและหลักฐานการสอบสวนจากพนักงานเจ้าหน้าที่และมาฟ้องคดีในเวลายังไม่ครบ 1 ปีนับแต่วันที่โจทก์รู้ตัวผู้กระทำละเมิดและรู้ถึงการกระทำละเมิด คดีของโจทก์จึงยังหาขาดอายุความไม่