พบผลลัพธ์ทั้งหมด 47 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 47/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาจ้างทำของ การชำระหนี้ตกเป็นพ้นวิสัย และการบอกเลิกสัญญา
โจทก์จ้างจำเลยต่อเรือ เป็นสัญญาจ้างทำของจำเลยผู้รับจ้างมีหน้าที่ทำเรือให้เสร็จภายในกำหนดตามสัญญา โจทก์ซึ่งเป็นผู้ว่าจ้างก็จะต้องให้สินจ้างแก่จำเลยเพื่อผลสำเร็จแห่งการที่ทำนั้น เมื่อในสัญญาไม่ปรากฏว่าโจทก์จะต้องชำระสินจ้างให้จำเลยครบถ้วนก่อนวันที่ได้กำหนดตามสัญญา โจทก์จะพึงใช้สินจ้างแก่จำเลยก็ต่อเมื่อได้รับมอบเรือที่ได้ทำเสร็จเรียบร้อยในวันครบกำหนดเท่านั้น
จำเลยไม่สามารถส่งมอบเรือให้แก่โจทก์ในวันครบกำหนดตามสัญญา เนื่องจากเรือพิพาทถูกเจ้าหนี้จำเลยในคดีอื่นนำเจ้าพนักงานบังคับคดีทำการยึด การชำระหนี้ของจำเลยจึงตกเป็นพ้นวิสัย เพราะพฤติการณ์ซึ่งฝ่ายจำเลยต้องรับผิดชอบ ทั้งโจทก์ก็ปฏิเสธไม่ยอมรับเรือลำอื่นแทน ซึ่งยังต่อได้น้อยกว่าเรือพิพาท และได้ขอเงินมัดจำคืนจากจำเลยทั้งยังได้นำคดีมาฟ้องเรียกเงินมัดจำคืนจากจำเลยหลังจากวันครบกำหนดตามสัญญาเพียง 4 วัน ถือได้ว่าโจทก์ได้บอกเลิกสัญญากับจำเลยแล้ว จำเลยต้องคืนเงินมัดจำแก่โจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 378 (3)
จำเลยไม่สามารถส่งมอบเรือให้แก่โจทก์ในวันครบกำหนดตามสัญญา เนื่องจากเรือพิพาทถูกเจ้าหนี้จำเลยในคดีอื่นนำเจ้าพนักงานบังคับคดีทำการยึด การชำระหนี้ของจำเลยจึงตกเป็นพ้นวิสัย เพราะพฤติการณ์ซึ่งฝ่ายจำเลยต้องรับผิดชอบ ทั้งโจทก์ก็ปฏิเสธไม่ยอมรับเรือลำอื่นแทน ซึ่งยังต่อได้น้อยกว่าเรือพิพาท และได้ขอเงินมัดจำคืนจากจำเลยทั้งยังได้นำคดีมาฟ้องเรียกเงินมัดจำคืนจากจำเลยหลังจากวันครบกำหนดตามสัญญาเพียง 4 วัน ถือได้ว่าโจทก์ได้บอกเลิกสัญญากับจำเลยแล้ว จำเลยต้องคืนเงินมัดจำแก่โจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 378 (3)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 47/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาจ้างทำของ พ้นวิสัยจากเหตุเจ้าหนี้จำเลยยึดทรัพย์ และการบอกเลิกสัญญา
โจทก์จ้างจำเลยต่อเรือ เป็นสัญญาจ้างทำของจำเลยผู้รับจ้างมีหน้าที่ทำเรือให้เสร็จภายในกำหนดตามสัญญาโจทก์ซึ่งเป็นผู้ว่าจ้างก็จะต้องให้สินจ้างแก่จำเลยเพื่อผลสำเร็จแห่งการที่ทำนั้น เมื่อในสัญญาไม่ปรากฏว่าโจทก์จะต้องชำระสินจ้างให้จำเลยครบถ้วนก่อนวันที่ได้กำหนดตามสัญญา โจทก์จะพึงใช้สินจ้างแก่จำเลยก็ต่อเมื่อได้รับมอบเรือที่ได้ทำเสร็จเรียบร้อยในวันครบกำหนดเท่านั้น
จำเลยไม่สามารถส่งมอบเรือให้แก่โจทก์ในวันครบกำหนดตามสัญญา เนื่องจากเรือพิพาทถูกเจ้าหนี้จำเลยในคดีอื่นนำเจ้าพนักงานบังคับคดีทำการยึดการชำระหนี้ของจำเลยจึงตกเป็นพ้นวิสัย เพราะพฤติการณ์ซึ่งฝ่ายจำเลยต้องรับผิดชอบทั้งโจทก์ก็ปฏิเสธไม่ยอมรับเรือลำอื่นแทนซึ่งยังต่อได้น้อยกว่าเรือพิพาท และได้ขอเงินมัดจำคืนจากจำเลยทั้งยังได้นำคดีมาฟ้องเรียกเงินมัดจำคืนจากจำเลยหลังจากวันครบกำหนดตามสัญญาเพียง 4 วัน ถือได้ว่าโจทก์ได้บอกเลิกสัญญากับจำเลยแล้ว จำเลยต้องคืนเงินมัดจำแก่โจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 378(3)
จำเลยไม่สามารถส่งมอบเรือให้แก่โจทก์ในวันครบกำหนดตามสัญญา เนื่องจากเรือพิพาทถูกเจ้าหนี้จำเลยในคดีอื่นนำเจ้าพนักงานบังคับคดีทำการยึดการชำระหนี้ของจำเลยจึงตกเป็นพ้นวิสัย เพราะพฤติการณ์ซึ่งฝ่ายจำเลยต้องรับผิดชอบทั้งโจทก์ก็ปฏิเสธไม่ยอมรับเรือลำอื่นแทนซึ่งยังต่อได้น้อยกว่าเรือพิพาท และได้ขอเงินมัดจำคืนจากจำเลยทั้งยังได้นำคดีมาฟ้องเรียกเงินมัดจำคืนจากจำเลยหลังจากวันครบกำหนดตามสัญญาเพียง 4 วัน ถือได้ว่าโจทก์ได้บอกเลิกสัญญากับจำเลยแล้ว จำเลยต้องคืนเงินมัดจำแก่โจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 378(3)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 47/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาจ้างทำของ พ้นวิสัยจากเหตุผู้รับจ้างก่อหนี้ การบอกเลิกสัญญา และการคืนเงินมัดจำ
โจทก์จ้างจำเลยต่อเรือ. เป็นสัญญาจ้างทำของจำเลยผู้รับจ้างมีหน้าที่ทำเรือให้เสร็จภายในกำหนดตามสัญญา. โจทก์ซึ่งเป็นผู้ว่าจ้างก็จะต้องให้สินจ้างแก่จำเลยเพื่อผลสำเร็จแห่งการที่ทำนั้น. เมื่อในสัญญาไม่ปรากฏว่าโจทก์จะต้องชำระสินจ้างให้จำเลยครบถ้วนก่อนวันที่ได้กำหนดตามสัญญา. โจทก์จะพึงใช้สินจ้างแก่จำเลยก็ต่อเมื่อได้รับมอบเรือที่ได้ทำเสร็จเรียบร้อยในวันครบกำหนดเท่านั้น.
จำเลยไม่สามารถส่งมอบเรือให้แก่โจทก์ในวันครบกำหนดตามสัญญา. เนื่องจากเรือพิพาทถูกเจ้าหนี้จำเลยในคดีอื่นนำเจ้าพนักงานบังคับคดีทำการยึด. การชำระหนี้ของจำเลยจึงตกเป็นพ้นวิสัย เพราะพฤติการณ์ซึ่งฝ่ายจำเลยต้องรับผิดชอบ.ทั้งโจทก์ก็ปฏิเสธไม่ยอมรับเรือลำอื่นแทน. ซึ่งยังต่อได้น้อยกว่าเรือพิพาท และได้ขอเงินมัดจำคืนจากจำเลยทั้งยังได้นำคดีมาฟ้องเรียกเงินมัดจำคืนจากจำเลยหลังจากวันครบกำหนดตามสัญญาเพียง 4 วัน ถือได้ว่าโจทก์ได้บอกเลิกสัญญากับจำเลยแล้ว. จำเลยต้องคืนเงินมัดจำแก่โจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 378(3).
จำเลยไม่สามารถส่งมอบเรือให้แก่โจทก์ในวันครบกำหนดตามสัญญา. เนื่องจากเรือพิพาทถูกเจ้าหนี้จำเลยในคดีอื่นนำเจ้าพนักงานบังคับคดีทำการยึด. การชำระหนี้ของจำเลยจึงตกเป็นพ้นวิสัย เพราะพฤติการณ์ซึ่งฝ่ายจำเลยต้องรับผิดชอบ.ทั้งโจทก์ก็ปฏิเสธไม่ยอมรับเรือลำอื่นแทน. ซึ่งยังต่อได้น้อยกว่าเรือพิพาท และได้ขอเงินมัดจำคืนจากจำเลยทั้งยังได้นำคดีมาฟ้องเรียกเงินมัดจำคืนจากจำเลยหลังจากวันครบกำหนดตามสัญญาเพียง 4 วัน ถือได้ว่าโจทก์ได้บอกเลิกสัญญากับจำเลยแล้ว. จำเลยต้องคืนเงินมัดจำแก่โจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 378(3).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1818/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเหมาเจาะบ่อน้ำ: การชำระหนี้ไม่เป็นพ้นวิสัย, สิทธิบอกเลิกสัญญา, การคืนเงินและชดใช้ค่าเสื่อม
ข้อสัญญาที่มีวัตถุประสงค์เป็นการพ้นวิสัยนั้น จะต้องเป็นข้อสัญญาที่ผู้ให้สัญญาไม่มีทางปฏิบัติได้เลย
จำเลยทำสัญญารับจ้างเหมาโจทก์เจาะบ่อน้ำบาดาล เงื่อนไขที่กำหนดไว้ในข้อสัญญาที่ให้รับประกันปริมาณและคุณภาพน้ำให้ใช้บริโภคได้มีกำหนดเวลา 4 ปีนั้น เป็นเงื่อนไขที่สามารถปฏิบัติได้ หาเป็นการพ้นวิสัยไม่ การที่จำเลยไม่สามารถเจาะบ่อน้ำบาดาลให้โจทก์ใช้ได้ถึง 4 ปีตามสัญญา จึงไม่ใช่กรณีการชำระหนี้ตกเป็นพ้นวิสัย
ตามสัญญาจ้างเหมา ข้อ 13 ถือว่ารายการแนบท้ายหมาย จ.5, จ.6 เป็นส่วนหนึ่งของสัญญาด้วย และในรายการแนบท้ายดังกล่าว ข้อ 6 (14) (15) ผู้รับจ้างคือจำเลย ก็ได้สัญญาให้โจทก์ได้ใช้น้ำในประมาณตามที่กำหนด และรับรองให้โจทก์ได้ใช้น้ำบริโภคได้เป็นกำหนดเวลา 4 ปีนับแต่วันที่คณะกรรมการของโจทก์รับมอบงานงวดสุดท้ายและในรายการแนบท้าย ข้อ 6 (16) ก็ได้ระบุว่า ถ้าหากการดำเนินการของผู้รับจ้างได้ผลเป็นที่พอใจของผู้ว่าจ้างตามข้อ (14)และ (15) ผู้ว่าจ้างจะถือว่าผู้รับจ้างได้กระทำการให้ผู้ว่าจ้างถูกต้องเรียบร้อยเสร็จบริบูรณ์แล้ว ฉะนั้น เมื่อจำเลยเป็นฝ่ายผิดสัญญาไม่สามารถจะให้โจทก์ได้ใช้น้ำจนครบกำหนด 4 ปี โจทก์จึงมีสิทธิบอกเลิกสัญญาตามสัญญาข้อ 5 ได้ เพราะในสัญญาข้อนี้ได้ระบุไว้ว่า 'ฯลฯ หรือผู้รับจ้างทำผิดสัญญาข้อหนึ่งข้อใดก็ดี ผู้ว่าจ้างมีสิทธิที่จะบอกเลิกสัญญานี้ได้ ฯลฯ' ซึ่งข้อความนี้หาได้จำกัดเฉพาะสัญญาข้อ 5 ก. ข. ค. ไม่
โจทก์จ้างจำเลยขุดบ่อน้ำบาดาล จำเลยรับประกันปริมาณและคุณภาพน้ำให้ใช้บริโภคได้มีกำหนด 4 ปี เมื่อโจทก์ใช้สิทธิบอกเลิกสัญญากับจำเลยแล้ว คู่สัญญาแต่ละฝ่ายจำต้องให้อีกฝ่ายหนึ่งได้กลับคืนสู่ฐานะดังที่เป็นอยู่เดิม ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 391 การให้คู่สัญญากลับคืนสู่ฐานะเดิม จำเลยจะต้องคืนเงินค่าจ้างเหมาที่ได้รับไปแล้วแก่โจทก์ ส่วนโจทก์ก็จะต้องคืนสิ่งของต่างๆ ที่จำเลยนำมาติดตั้งให้โจทก์แก่จำเลยแต่ได้ปรากฏว่าสิ่งของต่าง ๆ ที่จะต้องคืนให้แก่จำเลยนั้น โจทก์ได้นำไปใช้แล้วเป็นเวลาถึง 18 เดือน ทั้งจำเลยก็ได้ลงทุนลงแรงขุดเจาะน้ำบาดาลจนให้โจทก์มีน้ำใช้บริโภคได้ การคืนเงินของจำเลยแก่โจทก์จึงต้องหักจำนวนเงินค่าเสื่อมราคาสิ่งของเพื่อชดเชยให้กลับคืนสู่สภาพเดิม กับค่าการงานในการติดตั้งให้จำเลย
จำเลยทำสัญญารับจ้างเหมาโจทก์เจาะบ่อน้ำบาดาล เงื่อนไขที่กำหนดไว้ในข้อสัญญาที่ให้รับประกันปริมาณและคุณภาพน้ำให้ใช้บริโภคได้มีกำหนดเวลา 4 ปีนั้น เป็นเงื่อนไขที่สามารถปฏิบัติได้ หาเป็นการพ้นวิสัยไม่ การที่จำเลยไม่สามารถเจาะบ่อน้ำบาดาลให้โจทก์ใช้ได้ถึง 4 ปีตามสัญญา จึงไม่ใช่กรณีการชำระหนี้ตกเป็นพ้นวิสัย
ตามสัญญาจ้างเหมา ข้อ 13 ถือว่ารายการแนบท้ายหมาย จ.5, จ.6 เป็นส่วนหนึ่งของสัญญาด้วย และในรายการแนบท้ายดังกล่าว ข้อ 6 (14) (15) ผู้รับจ้างคือจำเลย ก็ได้สัญญาให้โจทก์ได้ใช้น้ำในประมาณตามที่กำหนด และรับรองให้โจทก์ได้ใช้น้ำบริโภคได้เป็นกำหนดเวลา 4 ปีนับแต่วันที่คณะกรรมการของโจทก์รับมอบงานงวดสุดท้ายและในรายการแนบท้าย ข้อ 6 (16) ก็ได้ระบุว่า ถ้าหากการดำเนินการของผู้รับจ้างได้ผลเป็นที่พอใจของผู้ว่าจ้างตามข้อ (14)และ (15) ผู้ว่าจ้างจะถือว่าผู้รับจ้างได้กระทำการให้ผู้ว่าจ้างถูกต้องเรียบร้อยเสร็จบริบูรณ์แล้ว ฉะนั้น เมื่อจำเลยเป็นฝ่ายผิดสัญญาไม่สามารถจะให้โจทก์ได้ใช้น้ำจนครบกำหนด 4 ปี โจทก์จึงมีสิทธิบอกเลิกสัญญาตามสัญญาข้อ 5 ได้ เพราะในสัญญาข้อนี้ได้ระบุไว้ว่า 'ฯลฯ หรือผู้รับจ้างทำผิดสัญญาข้อหนึ่งข้อใดก็ดี ผู้ว่าจ้างมีสิทธิที่จะบอกเลิกสัญญานี้ได้ ฯลฯ' ซึ่งข้อความนี้หาได้จำกัดเฉพาะสัญญาข้อ 5 ก. ข. ค. ไม่
โจทก์จ้างจำเลยขุดบ่อน้ำบาดาล จำเลยรับประกันปริมาณและคุณภาพน้ำให้ใช้บริโภคได้มีกำหนด 4 ปี เมื่อโจทก์ใช้สิทธิบอกเลิกสัญญากับจำเลยแล้ว คู่สัญญาแต่ละฝ่ายจำต้องให้อีกฝ่ายหนึ่งได้กลับคืนสู่ฐานะดังที่เป็นอยู่เดิม ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 391 การให้คู่สัญญากลับคืนสู่ฐานะเดิม จำเลยจะต้องคืนเงินค่าจ้างเหมาที่ได้รับไปแล้วแก่โจทก์ ส่วนโจทก์ก็จะต้องคืนสิ่งของต่างๆ ที่จำเลยนำมาติดตั้งให้โจทก์แก่จำเลยแต่ได้ปรากฏว่าสิ่งของต่าง ๆ ที่จะต้องคืนให้แก่จำเลยนั้น โจทก์ได้นำไปใช้แล้วเป็นเวลาถึง 18 เดือน ทั้งจำเลยก็ได้ลงทุนลงแรงขุดเจาะน้ำบาดาลจนให้โจทก์มีน้ำใช้บริโภคได้ การคืนเงินของจำเลยแก่โจทก์จึงต้องหักจำนวนเงินค่าเสื่อมราคาสิ่งของเพื่อชดเชยให้กลับคืนสู่สภาพเดิม กับค่าการงานในการติดตั้งให้จำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1367/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การชำระหนี้ตามคำพิพากษา: ส่งมอบห้องหรือคืนเงิน, การบังคับตามลำดับ และเหตุพ้นวิสัย
คำพิพากษาศาลชั้นต้นซึ่งถึงที่สุดไปแล้วบังคับว่า ให้จำเลยส่งมอบห้องพิพาทให้โจทก์ ถ้าไม่สามารถส่งมอบห้องได้ ก็ให้จำเลยคืนเงินแก่โจทก์ 12,500 บาท ดังนี้เป็นการกำหนดให้จำเลยกระทำการชำระหนี้ทีละอย่างก่อนหลังตามลำดับ กล่าวคือ ไม่สามารถจะกระทำอย่างแรกแล้วจึงให้กระทำอย่างหลัง ไม่ใช่เป็นการกระทำหลายอย่างอันลูกหนี้จะพึงเลือกได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 198 การที่จำเลยอ้างว่าจำเลยต้องใช้ห้องพิพาทเพื่อประกอบอาชีพนั้น เหตุเพียงเท่านี้ยังไม่เป็นอันพ้นวิสัยอันจะเป็นมูลให้จำเลยยกขึ้นอ้างว่าไม่สามารถส่งมอบห้องพิพาทได้ ฉะนั้น โอกาสที่จำเลยจะขอคืนเงินให้โจทก์ จึงยังไม่อาจเกิดขึ้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 960/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาซื้อขายและการชำระหนี้ เมื่อการชำระหนี้ตกเป็นพ้นวิสัยจากเหตุสุดวิสัย จำเลยต้องคืนเงินมัดจำ
โจทก์ฟ้องขอให้ศาลบังคับให้จำเลยชดใช้ค่าสินไหมทดแทนฐานผิดสัญญา โจทก์ฎีกาว่าจำเลยที่ 2 ยื่นคำให้การเกินกำหนด ศาลรับคำให้การโดยไม่ไต่สวนหรือให้โอกาสคัดค้าน ศาลอุทธรณ์สั่งว่า แม้คำสั่งศาลแพ่งจะชอบหรือไม่ ก็ไม่ทำให้คดีของโจทก์เสียหาย ไม่จำต้องมีคำสั่งเป็นอย่างอื่น โจทก์เถียงมาในฎีกาว่าโจทก์เสียหาย เพราะโจทก์ลงทุนไปเกินกว่า 100,000 บาท จึงเป็นฎีกาไม่ตรงกับเรื่อง เพราะศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่าคดีของโจทก์ไม่เสียหายในกระบวนพิจารณา
ข้อที่ว่าพยานจำเลยมิได้รับรองสำเนาเอกสาร จำเลยมิได้ยกขึ้นโต้เถียงในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ ข้อโต้แย้งของโจทก์ที่ว่าไม่มีผู้ใดรับรองสำเนาจึงตกไป
จำเลยไม่ต้องรับผิดในการที่เทศบาลไม่อนุญาตให้โจทก์ก่อสร้างในที่ที่จำเลยยอมให้โจทก์ทำการปลูกสร้าง
จำเลยขายที่ดินที่ยอมให้โจทก์ทำการก่อสร้างภายหลังจากที่ต้องระงับการก่อสร้างเพราะไม่ได้รับอนุญาตจากเทศบาล จึงเป็นพฤติการณ์ภายหลังที่การชำระหนี้ตกเป็นพ้นวิสัย เพราะเหตุที่จำเลยไม่ต้องรับผิดไปแล้ว ไม่เป็นเหตุที่โจทก์จะอ้างขึ้นให้จำเลยต้องรับผิดต่อโจทก์ตามสัญญาอีกได้
โจทก์กล่าวฟ้องอ้างเหตุให้จำเลยรับผิดเพราะจำเลยผิดสัญญาไม่รื้อห้องแถว เป็นเหตุให้โจทก์ก่อสร้างไม่ได้และเอาที่ดินไปขายให้ผู้อื่น หาได้อ้างเหตุให้จำเลยต้องใช้เบี้ยปรับเพราะโจทก์ก่อสร้างไม่ได้โดยพฤติการณ์ที่โจทก์ไม่ต้องรับผิดตามสัญญาข้ออื่น จึงไม่มีประเด็นที่จะยกขึ้นให้ศาลฎีกาวินิจฉัยในข้อนี้
แม้ตามสัญญาแบ่งการชำระเงินเป็นงวด ๆ ก็จริง แต่ก็มิได้มีอะไรที่แสดงให้เห็นว่าเป็นการชำระหนี้ตอบแทนกันเป็นส่วน ๆ ดังนั้น เมื่อจำเลยมิได้ชำระหนี้แก่โจทก์ครบถ้วน จำเลยก็ไม่มีสิทธิได้รับเงินที่จำเลยรับไปเป็นค่าตอบแทนจากโจทก์ เมื่อได้รับมาแล้วก็ต้องคืนให้โจทก์ไป มิใช่สิทธิเรียกร้องเงินจำนวนนี้คืนจะระงับไปพร้อมกับสิทธิเรียกร้องให้ชำระหนี้ตามสัญญาด้วย
ข้อที่ว่าพยานจำเลยมิได้รับรองสำเนาเอกสาร จำเลยมิได้ยกขึ้นโต้เถียงในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ ข้อโต้แย้งของโจทก์ที่ว่าไม่มีผู้ใดรับรองสำเนาจึงตกไป
จำเลยไม่ต้องรับผิดในการที่เทศบาลไม่อนุญาตให้โจทก์ก่อสร้างในที่ที่จำเลยยอมให้โจทก์ทำการปลูกสร้าง
จำเลยขายที่ดินที่ยอมให้โจทก์ทำการก่อสร้างภายหลังจากที่ต้องระงับการก่อสร้างเพราะไม่ได้รับอนุญาตจากเทศบาล จึงเป็นพฤติการณ์ภายหลังที่การชำระหนี้ตกเป็นพ้นวิสัย เพราะเหตุที่จำเลยไม่ต้องรับผิดไปแล้ว ไม่เป็นเหตุที่โจทก์จะอ้างขึ้นให้จำเลยต้องรับผิดต่อโจทก์ตามสัญญาอีกได้
โจทก์กล่าวฟ้องอ้างเหตุให้จำเลยรับผิดเพราะจำเลยผิดสัญญาไม่รื้อห้องแถว เป็นเหตุให้โจทก์ก่อสร้างไม่ได้และเอาที่ดินไปขายให้ผู้อื่น หาได้อ้างเหตุให้จำเลยต้องใช้เบี้ยปรับเพราะโจทก์ก่อสร้างไม่ได้โดยพฤติการณ์ที่โจทก์ไม่ต้องรับผิดตามสัญญาข้ออื่น จึงไม่มีประเด็นที่จะยกขึ้นให้ศาลฎีกาวินิจฉัยในข้อนี้
แม้ตามสัญญาแบ่งการชำระเงินเป็นงวด ๆ ก็จริง แต่ก็มิได้มีอะไรที่แสดงให้เห็นว่าเป็นการชำระหนี้ตอบแทนกันเป็นส่วน ๆ ดังนั้น เมื่อจำเลยมิได้ชำระหนี้แก่โจทก์ครบถ้วน จำเลยก็ไม่มีสิทธิได้รับเงินที่จำเลยรับไปเป็นค่าตอบแทนจากโจทก์ เมื่อได้รับมาแล้วก็ต้องคืนให้โจทก์ไป มิใช่สิทธิเรียกร้องเงินจำนวนนี้คืนจะระงับไปพร้อมกับสิทธิเรียกร้องให้ชำระหนี้ตามสัญญาด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 149/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาซื้อขายรถยนต์มีเงื่อนไข การพ้นวิสัย และผลกระทบต่อสิทธิเรียกร้องตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
โจทก์ขายรถยนต์เฟี้ยตให้จำเลยราคา 55,000 บาท โดยให้จำเลยชำระราคาด้วยเงินสด 20,000 บาท กับรถยนต์ออสตินของจำเลยตีราคา 35,000 บาท โจทก์จำเลยส่งมอบรถยนต์และเงินสดให้แก่กันแล้ว และตกลงจะไปโอนทะเบียนรถยนต์ให้กันเมื่อโจทก์ผ่อนชำระราคาครบ และรับโอนทะเบียนมาจากกรมสวัสดิการฯ แล้ว ดังนี้ แสดงว่าทั้งสองฝ่ายยังไม่มีเจตนาโอนกรรมสิทธิ์รถยนต์ให้กันจนกว่าการจะได้เป็นไปตามเงื่อนไขแล้ว
ระหว่างที่เงื่อนไขยังไม่สำเร็จ รถยนต์เฟี้ยตซึ่งอยู่ในครอบครองของจำเลยถูกเพลิงไหม้ใช้การไม่ได้ โดยไม่ใช่ความผิดของฝ่ายใด เป็นการพ้นวิสัยที่โจทก์จะโอนกรรมสิทธิ์รถยนต์เฟี้ยตให้จำเลยได้ ดังนี้ โจทก์ก็ไม่มีสิทธิจะเรียกร้องให้จำเลยโอนกรรมสิทธิ์รถยนต์ออสตินให้โจทก์ได้ เพราะเป็นสัญญาต่างตอบแทนกันตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 372 วรรคแรก เมื่อกรรมสิทธิ์ยังไม่โอนมายังโจทก์ ก็ไม่เรียกว่าเป็นสัญญามีวัตถุประสงค์เป็นการก่อให้เกิดหรือโอนทรัพยสิทธิในทรัพย์นั้นตามมาตรา 370 และมาตรา 371 ก็บัญญัติว่า สัญญาต่างตอบแทน ถ้ามีเงื่อนไขบังคับก่อนและทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งสัญญานั้นสูญหรือทำลายลงในระหว่างที่เงื่อนไขยังไม่สำเร็จ จะนำมาตรา 370 มาใช้บังคับไม่ได้อีกด้วย
ระหว่างที่เงื่อนไขยังไม่สำเร็จ รถยนต์เฟี้ยตซึ่งอยู่ในครอบครองของจำเลยถูกเพลิงไหม้ใช้การไม่ได้ โดยไม่ใช่ความผิดของฝ่ายใด เป็นการพ้นวิสัยที่โจทก์จะโอนกรรมสิทธิ์รถยนต์เฟี้ยตให้จำเลยได้ ดังนี้ โจทก์ก็ไม่มีสิทธิจะเรียกร้องให้จำเลยโอนกรรมสิทธิ์รถยนต์ออสตินให้โจทก์ได้ เพราะเป็นสัญญาต่างตอบแทนกันตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 372 วรรคแรก เมื่อกรรมสิทธิ์ยังไม่โอนมายังโจทก์ ก็ไม่เรียกว่าเป็นสัญญามีวัตถุประสงค์เป็นการก่อให้เกิดหรือโอนทรัพยสิทธิในทรัพย์นั้นตามมาตรา 370 และมาตรา 371 ก็บัญญัติว่า สัญญาต่างตอบแทน ถ้ามีเงื่อนไขบังคับก่อนและทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งสัญญานั้นสูญหรือทำลายลงในระหว่างที่เงื่อนไขยังไม่สำเร็จ จะนำมาตรา 370 มาใช้บังคับไม่ได้อีกด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 149/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาซื้อขายรถยนต์มีเงื่อนไข การพ้นวิสัย และผลกระทบต่อสิทธิหน้าที่ของคู่สัญญา
โจทก์ขายรถยนต์เฟี้ยตให้จำเลยราคา 55,000 บาท โดยให้จำเลยชำระราคาด้วยเงินสด 20,000 บาท กับรถยนต์ออสตินของจำเลยตีราคา 35,000 บาท โจทก์จำเลยส่งมอบรถยนต์และเงินสดให้แก่กันแล้ว และตกลงจะไปโอนทะเบียนรถยนต์ให้กันเมื่อโจทก์ผ่อนชำระราคาครบและรับโอนทะเบียนมาจากกรมสวัสดิการฯ แล้ว ดังนี้ แสดงว่าทั้งสองฝ่ายยังไม่มีเจตนาโอนกรรมสิทธิ์รถยนต์ให้กันจนกว่าการจะได้เป็นไปตามเงื่อนไขแล้ว
ระหว่างที่เงื่อนไขยังไม่สำเร็จ รถยนต์เฟี้ยตซึ่งอยู่ในครอบครองของจำเลยถูกเพลิงไหม้ใช้การไม่ได้โดยไม่ใช่ความผิดของฝ่ายใด เป็นการพ้นวิสัยที่โจทก์จะโอนกรรมสิทธิ์รถยนต์เฟี้ยตให้จำเลยได้ ดังนี้ โจทก์ก็ไม่มีสิทธิจะเรียกร้องให้จำเลยโอนกรรมสิทธิ์รถยนต์ออสตินให้โจทก์ได้เพราะเป็นสัญญาต่างตอบแทนกัน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 372 วรรคแรก และเมื่อกรรมสิทธิ์ยังไม่โอนมายังโจทก์ ก็ไม่เรียกว่าเป็นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์เป็นการก่อให้เกิดหรือโอนทรัพยสิทธิในทรัพย์นั้น ตามมาตรา 370และมาตรา 371 ก็บัญญัติว่า สัญญาต่างตอบแทนถ้ามีเงื่อนไขบังคับก่อน และทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งสัญญานั้นสูญหรือทำลายลงในระหว่างที่เงื่อนไขยังไม่สำเร็จ จะนำมาตรา 370 มาใช้บังคับไม่ได้อีกด้วย
ระหว่างที่เงื่อนไขยังไม่สำเร็จ รถยนต์เฟี้ยตซึ่งอยู่ในครอบครองของจำเลยถูกเพลิงไหม้ใช้การไม่ได้โดยไม่ใช่ความผิดของฝ่ายใด เป็นการพ้นวิสัยที่โจทก์จะโอนกรรมสิทธิ์รถยนต์เฟี้ยตให้จำเลยได้ ดังนี้ โจทก์ก็ไม่มีสิทธิจะเรียกร้องให้จำเลยโอนกรรมสิทธิ์รถยนต์ออสตินให้โจทก์ได้เพราะเป็นสัญญาต่างตอบแทนกัน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 372 วรรคแรก และเมื่อกรรมสิทธิ์ยังไม่โอนมายังโจทก์ ก็ไม่เรียกว่าเป็นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์เป็นการก่อให้เกิดหรือโอนทรัพยสิทธิในทรัพย์นั้น ตามมาตรา 370และมาตรา 371 ก็บัญญัติว่า สัญญาต่างตอบแทนถ้ามีเงื่อนไขบังคับก่อน และทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งสัญญานั้นสูญหรือทำลายลงในระหว่างที่เงื่อนไขยังไม่สำเร็จ จะนำมาตรา 370 มาใช้บังคับไม่ได้อีกด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1015/2493 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบังคับชำระหนี้ตามลำดับก่อนหลัง และการไม่สามารถอ้างเหตุพ้นวิสัยเพื่อเลี่ยงการชำระหนี้
คำพิพากษาของศาลบังคับให้จำเลยโอนขายนากับเรือนให้โจทก์ ถ้าไม่สามารถโอนขายได้จึงให้คืนเงิน ดังนี้เป็นการกำหนดให้กระทำการชำระหนี้ทีละอย่างก่อนหลังตามลำดับ ไม่ใช่เป็นการกระทำหลายอย่างอันลูกหนี้จะพึงเลือกได้ตาม ป.ม.แพ่งฯ มาตรา 198
การที่จำเลยเอาทรัพย์ไปจำนองสหกรณ์ไว้ไม่ทำให้การโอนขายที่ดินและเรือนเป็นอันพ้นวิสัยอันจะเป็นเหตุให้จำ เลยยกขึ้นอ้างว่า ไม่สามารถจะโอนขายที่ดินและเรือนได้ฉะนั้นโอกาศที่จำเลยจะขอคืนเงินให้โจทก์ จึงยังไม่อาจเกิดขึ้น
การที่จำเลยเอาทรัพย์ไปจำนองสหกรณ์ไว้ไม่ทำให้การโอนขายที่ดินและเรือนเป็นอันพ้นวิสัยอันจะเป็นเหตุให้จำ เลยยกขึ้นอ้างว่า ไม่สามารถจะโอนขายที่ดินและเรือนได้ฉะนั้นโอกาศที่จำเลยจะขอคืนเงินให้โจทก์ จึงยังไม่อาจเกิดขึ้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 319/2492 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การชำระหนี้พ้นวิสัยต้องเกิดจากเหตุที่ทำให้ปฏิบัติการชำระหนี้ไม่ได้ การเจรจาตกลงกับบุคคลอื่นไม่ถือเป็นเหตุ
ป.ม.แพ่ง ฯ มาตรา 219 ที่บัญญัติถึงการชำระหนี้ กลายเป็นพ้นวิสัยนั้น หมายถึงว่ามีเหตุการณ์เกิดขึ้น ซึ่งทำให้ปฏิบัติการชำระหนี้นั้นไม่ได้
จำเลยทำสัญญาจะขายที่ดินให้แก่โจทก์ เวลาเจ้าพนักงานไปรังวัด มีผู้ร้องคัดค้านว่าจำเลยนำเจ้าพนักงานรังวัดรุกล้ำเข้าไปในที่ดินของเขา จำเลยจึงขอต่อเจ้าพนักงานให้งดรังวัดไว้ก่อน เพื่อทำความตกลงกับผู้ร้อง ดังนี้ ยังไม่เรียกว่าจะทำให้การรังวัดและโอนขายให้โจทก์ไม่ได้
ข้อความในรายงานพิจารณานั้น ศาลจดไว้ตามสมควรแก่รูปคดี ศาลไม่มีหน้าที่จดทุกอย่างที่คู่ความประสงค์ให้จด ศาลจะจดให้ฉะเพาะแต่ที่เป็นสาระแห่งคดีเท่านั้น
เมื่อข้อเท็จจริงได้ความพอจะวินิจฉัยคดีแล้ว ศาลย่อมไม่จำต้องฟังข้อเท็จจริงอื่นอันไม่สำคัญแก่รูปคดี และสั่งงดสืบพะยานเสียได้.
โจทก์เคยฟ้องจำเลยโดยอ้างสัญญาเดิมและอ้างว่าสัญญาใหม่ที่นำมาฟ้องในคดีนี้ใช้ไม่ได้ ต่อเมื่อศาลยกฟ้องแล้ว จึงหวนกลับเอาสัญญาใหม่มาฟ้องอีก ดังนี้ ย่อมฟ้องได้เพราะเป็นคนละประเด็น ไม่ต้องห้ามตาม ป.ม.วิ.แพ่ง มาตรา 144.
จำเลยทำสัญญาจะขายที่ดินให้แก่โจทก์ เวลาเจ้าพนักงานไปรังวัด มีผู้ร้องคัดค้านว่าจำเลยนำเจ้าพนักงานรังวัดรุกล้ำเข้าไปในที่ดินของเขา จำเลยจึงขอต่อเจ้าพนักงานให้งดรังวัดไว้ก่อน เพื่อทำความตกลงกับผู้ร้อง ดังนี้ ยังไม่เรียกว่าจะทำให้การรังวัดและโอนขายให้โจทก์ไม่ได้
ข้อความในรายงานพิจารณานั้น ศาลจดไว้ตามสมควรแก่รูปคดี ศาลไม่มีหน้าที่จดทุกอย่างที่คู่ความประสงค์ให้จด ศาลจะจดให้ฉะเพาะแต่ที่เป็นสาระแห่งคดีเท่านั้น
เมื่อข้อเท็จจริงได้ความพอจะวินิจฉัยคดีแล้ว ศาลย่อมไม่จำต้องฟังข้อเท็จจริงอื่นอันไม่สำคัญแก่รูปคดี และสั่งงดสืบพะยานเสียได้.
โจทก์เคยฟ้องจำเลยโดยอ้างสัญญาเดิมและอ้างว่าสัญญาใหม่ที่นำมาฟ้องในคดีนี้ใช้ไม่ได้ ต่อเมื่อศาลยกฟ้องแล้ว จึงหวนกลับเอาสัญญาใหม่มาฟ้องอีก ดังนี้ ย่อมฟ้องได้เพราะเป็นคนละประเด็น ไม่ต้องห้ามตาม ป.ม.วิ.แพ่ง มาตรา 144.