พบผลลัพธ์ทั้งหมด 87 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2226/2524 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การริบทรัพย์ในความผิด พ.ร.บ.กำหนดราคาสินค้าฯ เงินจากการขายของกลางไม่เข้าข่ายทรัพย์สินที่ใช้ในการกระทำผิด
พระราชบัญญัติกำหนดราคาสินค้าและป้องกันการผูกขาด พ.ศ.2522มิได้บัญญัติเรื่องริบทรัพย์ไว้โดยเฉพาะ จึงอยู่ในบังคับแห่งหลักว่าด้วยการริบทรัพย์ทั่วไปตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 33
จำเลยจำหน่ายปูนซีเมนต์เกินกว่าราคาที่กำหนดไว้ตามประกาศคณะกรรมการกลาง ความผิดของจำเลยอยู่ที่การฝ่าฝืนประกาศของคณะกรรมการกลางตามมาตรา 43 แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว ปูนซีเมนต์ซึ่งจำเลยได้ขายไปแล้วมิใช่ทรัพย์สินที่ใช้ในการกระทำความผิดอันจะพึงริบได้ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 33(1) เงินที่ได้จากการขายปูนซีเมนต์จึงริบไม่ได้
เมื่อไม่ริบของกลางและมิได้ปรับจำเลย ก็ไม่มีทางที่จะสั่งจ่ายเงินรางวัลได้
จำเลยจำหน่ายปูนซีเมนต์เกินกว่าราคาที่กำหนดไว้ตามประกาศคณะกรรมการกลาง ความผิดของจำเลยอยู่ที่การฝ่าฝืนประกาศของคณะกรรมการกลางตามมาตรา 43 แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว ปูนซีเมนต์ซึ่งจำเลยได้ขายไปแล้วมิใช่ทรัพย์สินที่ใช้ในการกระทำความผิดอันจะพึงริบได้ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 33(1) เงินที่ได้จากการขายปูนซีเมนต์จึงริบไม่ได้
เมื่อไม่ริบของกลางและมิได้ปรับจำเลย ก็ไม่มีทางที่จะสั่งจ่ายเงินรางวัลได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2226/2524
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การริบทรัพย์ในความผิด พ.ร.บ.กำหนดราคาสินค้า: ทรัพย์ที่ขายไปแล้วไม่เป็นทรัพย์สินที่ใช้ในการกระทำความผิด
พระราชบัญญัติกำหนดราคาสินค้าและป้องกันการผูกขาด พ.ศ.2522มิได้บัญญัติเรื่องริบทรัพย์ไว้โดยเฉพาะ จึงอยู่ในบังคับแห่งหลักว่าด้วยการริบทรัพย์ทั่วไปตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 33
จำเลยจำหน่ายปูนซิเมนต์เกินกว่าราคาที่กำหนดไว้ตามประกาศคณะกรรมการกลาง ความผิดของจำเลยอยู่ที่การฝ่าฝืนประกาศของคณะกรรมการกลางตามมาตรา 43 แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว ปูนซิเมนต์ซึ่งจำเลยได้ขายไปแล้วมิใช่ทรัพย์สินที่ใช้ในการกระทำความผิดอันจะพึงริบได้ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 33(1) เงินที่ได้จากการขายปูนซิเมนต์จึงริบไม่ได้
เมื่อไม่ริบของกลางและมิได้ปรับจำเลย ก็ไม่มีทางที่จะสั่งจ่ายเงินรางวัลได้
จำเลยจำหน่ายปูนซิเมนต์เกินกว่าราคาที่กำหนดไว้ตามประกาศคณะกรรมการกลาง ความผิดของจำเลยอยู่ที่การฝ่าฝืนประกาศของคณะกรรมการกลางตามมาตรา 43 แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว ปูนซิเมนต์ซึ่งจำเลยได้ขายไปแล้วมิใช่ทรัพย์สินที่ใช้ในการกระทำความผิดอันจะพึงริบได้ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 33(1) เงินที่ได้จากการขายปูนซิเมนต์จึงริบไม่ได้
เมื่อไม่ริบของกลางและมิได้ปรับจำเลย ก็ไม่มีทางที่จะสั่งจ่ายเงินรางวัลได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 651/2521 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การริบทรัพย์ต้องมีคำขอ ศาลไม่สามารถริบของกลางเกินคำขอได้
การริบทรัพย์เป็นโทษอย่างหนึ่ง การจะริบทรัพย์ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 33 เป็นเรื่องอยู่ในดุลพินิจของศาล
เมื่อโจทก์มิได้มีคำขอให้ริบธนบัตรของกลาง ศาลริบธนบัตรนั้นไม่ได้ เพราะเป็นการพิพากษาเกินคำขอ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 192 วรรคแรก
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยมีเฮโรอีนไฮโดรคลอไรด์ไว้เพื่อจำหน่ายและจำหน่ายเฮโรอีนไฮโดรคลอไรด์ เจ้าพนักงานจับจำเลยได้พร้อมด้วยเฮโรอีนไฮโดรคลอไรด์และธนบัตรฉบับละ 10 บาท 2 ฉบับที่เป็นธนบัตรของเจ้าพนักงานตำรวจมอบให้ผู้มีชื่อไปซื้อจากจำเลย และขอให้คืนธนบัตรดังกล่าวแก่เจ้าพนักงานตำรวจ ในชั้นอุทธรณ์โจทก์ก็ยืนยันเช่นนั้น การที่โจทก์ฎีกาว่าธนบัตรของกลางเป็นทรัพย์ของจำเลยได้มาจากการกระทำผิดจึงนอกฟ้อง และโจทก์เพิ่มเติมคำขอให้ริบของกลางเข้ามาในชั้นฎีกาไม่ได้
เมื่อโจทก์มิได้มีคำขอให้ริบธนบัตรของกลาง ศาลริบธนบัตรนั้นไม่ได้ เพราะเป็นการพิพากษาเกินคำขอ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 192 วรรคแรก
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยมีเฮโรอีนไฮโดรคลอไรด์ไว้เพื่อจำหน่ายและจำหน่ายเฮโรอีนไฮโดรคลอไรด์ เจ้าพนักงานจับจำเลยได้พร้อมด้วยเฮโรอีนไฮโดรคลอไรด์และธนบัตรฉบับละ 10 บาท 2 ฉบับที่เป็นธนบัตรของเจ้าพนักงานตำรวจมอบให้ผู้มีชื่อไปซื้อจากจำเลย และขอให้คืนธนบัตรดังกล่าวแก่เจ้าพนักงานตำรวจ ในชั้นอุทธรณ์โจทก์ก็ยืนยันเช่นนั้น การที่โจทก์ฎีกาว่าธนบัตรของกลางเป็นทรัพย์ของจำเลยได้มาจากการกระทำผิดจึงนอกฟ้อง และโจทก์เพิ่มเติมคำขอให้ริบของกลางเข้ามาในชั้นฎีกาไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 651/2521
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การริบทรัพย์ต้องมีคำขอ การเปลี่ยนแปลงคำขอในชั้นฎีกาทำไม่ได้ ศาลต้องพิจารณาตามคำขอเดิม
การริบทรัพย์เป็นโทษอย่างหนึ่ง การจะริบทรัพย์ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 33 เป็นเรื่องอยู่ในดุลพินิจของศาล
เมื่อโจทก์มิได้มีคำขอให้ริบธนบัตรของกลาง ศาลริบธนบัตรนั้นไม่ได้ เพราะเป็นการพิพากษาเกินคำขอ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 192 วรรคแรก
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยมีเฮโรอีนไฮโดรคลอไรด์ไว้เพื่อจำหน่ายและจำหน่ายเฮโรอีนไฮโดรคลอไรด์ เจ้าพนักงานจับจำเลยได้พร้อมด้วยเฮโรอีนไฮโดรคลอไรด์และธนบัตรฉบับละ 10 บาท2 ฉบับที่เป็นธนบัตรของเจ้าพนักงานตำรวจมอบให้ผู้มีชื่อไปซื้อจากจำเลย และขอให้คืนธนบัตรดังกล่าวแก่เจ้าพนักงานตำรวจ ในชั้นอุทธรณ์โจทก์ก็ยืนยันเช่นนั้นการที่โจทก์ฎีกาว่าธนบัตรของกลางเป็นทรัพย์ของจำเลยได้มาจากการกระทำผิดจึงนอกฟ้อง และโจทก์เพิ่มเติมคำขอให้ริบของกลางเข้ามาในชั้นฎีกาไม่ได้
เมื่อโจทก์มิได้มีคำขอให้ริบธนบัตรของกลาง ศาลริบธนบัตรนั้นไม่ได้ เพราะเป็นการพิพากษาเกินคำขอ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 192 วรรคแรก
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยมีเฮโรอีนไฮโดรคลอไรด์ไว้เพื่อจำหน่ายและจำหน่ายเฮโรอีนไฮโดรคลอไรด์ เจ้าพนักงานจับจำเลยได้พร้อมด้วยเฮโรอีนไฮโดรคลอไรด์และธนบัตรฉบับละ 10 บาท2 ฉบับที่เป็นธนบัตรของเจ้าพนักงานตำรวจมอบให้ผู้มีชื่อไปซื้อจากจำเลย และขอให้คืนธนบัตรดังกล่าวแก่เจ้าพนักงานตำรวจ ในชั้นอุทธรณ์โจทก์ก็ยืนยันเช่นนั้นการที่โจทก์ฎีกาว่าธนบัตรของกลางเป็นทรัพย์ของจำเลยได้มาจากการกระทำผิดจึงนอกฟ้อง และโจทก์เพิ่มเติมคำขอให้ริบของกลางเข้ามาในชั้นฎีกาไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1519/2521 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การใช้ยานพาหนะในการพยายามปล้นทรัพย์และการริบทรัพย์สินที่ใช้ในการกระทำความผิด
จำเลยกับพวกร่วมกันกระทำความผิดฐานพยายามปล้นทรัพย์รถยนต์บรรทุก 10 ล้อ ที่บรรทุกสินค้า โดยพวกจำเลยขับรถยนต์กระบะตามหลังรถบรรทุกที่จะปล้นไปในระยะกระชั้นชิด แล้วจำเลยได้ปีนจากรถกระบะขณะที่แล่นตามหลังรถบรรทุกขึ้นไปบนรถบรรทุก เห็นได้ว่าจำเลยได้ใช้รถกระบะเป็นยานพาหนะเพื่อกระทำผิดฐานพยายามปล้นทรัพย์รายนี้แล้ว และถือได้ว่ารถยนต์กระบะนั้นเป็นทรัพย์สินซึ่งจำเลยได้ใช้ในการกระทำผิด ศาลจึงมีอำนาจสั่งริบเสียได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1063/2521
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขอคืนทรัพย์ของกลาง: 'วันคำพิพากษาถึงที่สุด' หมายถึงคำพิพากษาคดีริบทรัพย์เดิม แม้มีการฟ้องคดีใหม่
การขอคืนทรัพย์ของกลางตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายอาญามาตรา 36 ซึ่งเจ้าของทรัพย์ที่มิได้รู้เห็นเป็นใจด้วยในการกระทำผิด ย่อมมีสิทธิขอคืนต่อศาลได้ภายใน 1 ปี นับแต่วันคำพิพากษาถึงที่สุดนั้น คำว่า"วันคำพิพากษาถึงที่สุด" ย่อมหมายถึงคำพิพากษาในคดีที่ศาลมีคำสั่งให้ริบทรัพย์
โจทก์ฟ้องจำเลยที่ 1 ที่ 2 และที่ 3 ในข้อหาฐานความผิดเดียวกันและมีคำขอให้ริบของกลางมาด้วย จำเลยที่ 1 ที่ 2 ให้การรับสารภาพส่วนจำเลยที่ 3 ให้การปฏิเสธ ศาลชั้นต้นได้มีคำสั่งให้แยกฟ้องจำเลยที่ 3 เป็นคดีใหม่ และพิพากษาลงโทษจำคุกจำเลยที่ 1 ที่ 2 คนละ 9 เดือน ปรับคนละ 4,000 บาท ริบของกลางทั้งหมดคดีถึงที่สุด ต่อมาโจทก์มาฟ้องจำเลยที่ 3 เป็นคดีใหม่ ตามคำสั่งศาลชั้นต้นแม้โจทก์จะได้บรรยายฟ้องกล่าวถึงทรัพย์สินอันเป็นของกลางในคดีก่อนมาด้วยอีก ก็เพื่อให้ฟ้องสมบูรณ์เท่านั้นหาได้นำมาอยู่ในอำนาจศาลในคดีหลังแต่ประการใดไม่ ของกลางดังกล่าวจึงมิใช่ของกลางในคดีหลัง เมื่อผู้ร้องมาร้องขอคืนของกลางภายหลังวันที่คำพิพากษาคดีแรกถึงที่สุดแล้วเกิน 1 ปี จึงเป็นการต้องห้ามตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 36
โจทก์ฟ้องจำเลยที่ 1 ที่ 2 และที่ 3 ในข้อหาฐานความผิดเดียวกันและมีคำขอให้ริบของกลางมาด้วย จำเลยที่ 1 ที่ 2 ให้การรับสารภาพส่วนจำเลยที่ 3 ให้การปฏิเสธ ศาลชั้นต้นได้มีคำสั่งให้แยกฟ้องจำเลยที่ 3 เป็นคดีใหม่ และพิพากษาลงโทษจำคุกจำเลยที่ 1 ที่ 2 คนละ 9 เดือน ปรับคนละ 4,000 บาท ริบของกลางทั้งหมดคดีถึงที่สุด ต่อมาโจทก์มาฟ้องจำเลยที่ 3 เป็นคดีใหม่ ตามคำสั่งศาลชั้นต้นแม้โจทก์จะได้บรรยายฟ้องกล่าวถึงทรัพย์สินอันเป็นของกลางในคดีก่อนมาด้วยอีก ก็เพื่อให้ฟ้องสมบูรณ์เท่านั้นหาได้นำมาอยู่ในอำนาจศาลในคดีหลังแต่ประการใดไม่ ของกลางดังกล่าวจึงมิใช่ของกลางในคดีหลัง เมื่อผู้ร้องมาร้องขอคืนของกลางภายหลังวันที่คำพิพากษาคดีแรกถึงที่สุดแล้วเกิน 1 ปี จึงเป็นการต้องห้ามตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 36
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 305/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การริบถ่านแปรรูปจากไม้ผิดกฎหมาย: ศาลฎีกาชี้ใช้หลักทั่วไปการริบทรัพย์ตามประมวลกฎหมายอาญา
พระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. 2484 มาตรา 74 บัญญัติให้ริบทรัพย์สินอันได้มาหรือมีไว้เนื่องจากการกระทำผิดเฉพาะไม้หรือของป่าเท่านั้น มิได้บัญญัติให้ริบทรัพย์สินอันได้มาหรือมีไว้เนื่องจากการกระทำผิดซึ่งได้แปรสภาพจากไม้และของป่าไปเป็นทรัพย์สินอย่างอื่นด้วยถ่านของกลางไม่มีสภาพเป็นไม้หรือของป่า แต่เป็นทรัพย์สินที่จำเลยได้มาโดยได้กระทำผิดฐานแปรรูปไม้โดยมิได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานจึงชอบที่จะนำหลักทั่วไปในการริบทรัพย์ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 33 มาใช้บังคับ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2757/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การริบทรัพย์ในความผิดพ.ร.บ.ป่าไม้: ศาลพิจารณาจากบทบัญญัติทั่วไปในประมวลกฎหมายอาญาได้ แม้มีกฎหมายเฉพาะ
++ เรื่อง ความผิดต่อพระราชบัญญัติป่าไม้ ++
++ โจทก์ฎีกา ++
++
++ คำพิพากษาสั่งออก - รอย่อ
++ แจ้งการอ่านแล้ว / โปรดติดต่อห้องบริการเอกสารสำเนาคำพิพากษา (ห้องสมุด) ชั้น 4, 5 ++
++
รถยนต์ของกลางที่จำเลยใช้ให้ลูกจ้างของตนนำไปบรรทุกถ่านจากผู้ที่ลักลอบเผา โดยจำเลยรู้อยู่แล้วว่าเป็นถ่านที่ได้มาโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายนั้น แม้ตามพระราชบัญญัติป่าไม้จะมีบทบัญญัติเกี่ยวแก่การริบทรัพย์เป็นพิเศษซึ่งไม่อาจใช้บังคับแก่รถยนต์ของกลางคันนี้ได้ แต่ตามพระราชบัญญัติดังกล่าวก็ไม่มีข้อความใดบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่นอันจะแสดงให้เห็นว่าไม่ต้องการให้นำบทบัญญัติในภาค 1 แห่งประมวลกฎหมายอาญามาใช้บังคับ ต้องนำประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 33 มาใช้บังคับในการที่จะริบรถยนต์ของกลางที่จำเลยใช้ในการกระทำความผิด (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 531/2510)
++ โจทก์ฎีกา ++
++
++ คำพิพากษาสั่งออก - รอย่อ
++ แจ้งการอ่านแล้ว / โปรดติดต่อห้องบริการเอกสารสำเนาคำพิพากษา (ห้องสมุด) ชั้น 4, 5 ++
++
รถยนต์ของกลางที่จำเลยใช้ให้ลูกจ้างของตนนำไปบรรทุกถ่านจากผู้ที่ลักลอบเผา โดยจำเลยรู้อยู่แล้วว่าเป็นถ่านที่ได้มาโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายนั้น แม้ตามพระราชบัญญัติป่าไม้จะมีบทบัญญัติเกี่ยวแก่การริบทรัพย์เป็นพิเศษซึ่งไม่อาจใช้บังคับแก่รถยนต์ของกลางคันนี้ได้ แต่ตามพระราชบัญญัติดังกล่าวก็ไม่มีข้อความใดบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่นอันจะแสดงให้เห็นว่าไม่ต้องการให้นำบทบัญญัติในภาค 1 แห่งประมวลกฎหมายอาญามาใช้บังคับ ต้องนำประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 33 มาใช้บังคับในการที่จะริบรถยนต์ของกลางที่จำเลยใช้ในการกระทำความผิด (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 531/2510)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 52/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การริบทรัพย์สินที่ใช้ในการกระทำผิด แม้จำเลยพ้นผิด ศาลยังคงมีอำนาจริบได้ตามดุลพินิจ
บทบัญญัติในเรื่องริบทรัพย์ ไม่ว่าจะเป็นกรณีตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 32 หรือ มาตรา 33 นั้น มุ่งถึงตัวทรัพย์เป็นสำคัญ จะต่างกันก็แต่ว่า ตามมาตรา 32 ศาลจะต้องริบเสียทั้งสิ้น ส่วนมาตรา 33 ให้อยู่ในดุลพินิจของศาล เว้นแต่จะเข้าข้อยกเว้นตามมาตรา 33วรรคท้ายเท่านั้น ที่จะสั่งริบไม่ได้
ดังนั้น ในคดีที่โจทก์ฟ้องว่าจำเลยกับพวกมีปืนและสายไฟฟ้าติดตัวร่วมกันปล้นทรัพย์ โดยใช้สายไฟฟ้ารัดคอเจ้าทรัพย์ แม้ศาลจะวินิจฉัยว่า จำเลยมิได้กระทำผิดก็ดี แต่เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏว่าสายไฟฟ้าของกลางเป็นทรัพย์สินซึ่งใช้ในการกระทำผิดแล้วก็ย่อมริบได้ เพราะอยู่ในดุลพินิจของศาล ตามมาตรา 33(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 1/2516 )
ดังนั้น ในคดีที่โจทก์ฟ้องว่าจำเลยกับพวกมีปืนและสายไฟฟ้าติดตัวร่วมกันปล้นทรัพย์ โดยใช้สายไฟฟ้ารัดคอเจ้าทรัพย์ แม้ศาลจะวินิจฉัยว่า จำเลยมิได้กระทำผิดก็ดี แต่เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏว่าสายไฟฟ้าของกลางเป็นทรัพย์สินซึ่งใช้ในการกระทำผิดแล้วก็ย่อมริบได้ เพราะอยู่ในดุลพินิจของศาล ตามมาตรา 33(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 1/2516 )
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 52/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การริบทรัพย์ที่ใช้ในการกระทำผิด แม้ผู้กระทำผิดได้รับการยกฟ้อง
บทบัญญัติในเรื่องริบทรัพย์ ไม่ว่าจะเป็นกรณีตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 32 หรือ มาตรา 33 นั้น มุ่งถึงตัวทรัพย์เป็นสำคัญ จะต่างกันก็แต่ว่า ตามมาตรา 32 ศาลจะต้องริบเสียทั้งสิ้น ส่วนมาตรา 33 ให้อยู่ในดุลพินิจของศาล เว้นแต่จะเข้าข้อยกเว้นตามมาตรา 33วรรคท้ายเท่านั้น ที่จะสั่งริบไม่ได้
ดังนั้น ในคดีที่โจทก์ฟ้องว่าจำเลยกับพวกมีปืนและสายไฟฟ้าติดตัวร่วมกันปล้นทรัพย์ โดยใช้สายไฟฟ้ารัดคอเจ้าทรัพย์ แม้ศาลจะวินิจฉัยว่า จำเลยมิได้กระทำผิดก็ดี แต่เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏว่าสายไฟฟ้าของกลางเป็นทรัพย์สินซึ่งใช้ในการกระทำผิดแล้วก็ย่อมริบได้ เพราะอยู่ในดุลพินิจของศาล ตามมาตรา 33(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 1/2516)
ดังนั้น ในคดีที่โจทก์ฟ้องว่าจำเลยกับพวกมีปืนและสายไฟฟ้าติดตัวร่วมกันปล้นทรัพย์ โดยใช้สายไฟฟ้ารัดคอเจ้าทรัพย์ แม้ศาลจะวินิจฉัยว่า จำเลยมิได้กระทำผิดก็ดี แต่เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏว่าสายไฟฟ้าของกลางเป็นทรัพย์สินซึ่งใช้ในการกระทำผิดแล้วก็ย่อมริบได้ เพราะอยู่ในดุลพินิจของศาล ตามมาตรา 33(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 1/2516)