คำพิพากษาที่อยู่ใน Tags
สัญญาเช่าซื้อ

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 486 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 450/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาเช่าซื้อ: การยกเลิกเฉพาะส่วน และสิทธิในการบังคับชำระหนี้ตามสัญญา
โจทก์ทำสัญญาเช่าซื้อที่ดินจากจำเลย โจทก์ค้างค่าเช่าซื้องวดที่ 3 ซึ่งเป็นงวดสุดท้ายอีก 7,700 บาท จำเลยเข้าไปปลูกบ้านในที่ให้เช่าซื้อ โจทก์ไปร้องอำเภอ อำเภอทำการเปรียบเทียบ คู่กรณีตกลงกันว่า เฉพาะบริเวณที่จำเลยปลูกบ้าน เนื้อที่ 200 ตารางวา โจทก์ยอมให้แก่จำเลยโดยตีราคา 7,700 บาท เท่าที่โจทก์ยังค้างค่าเช่าซื้อ ดังนี้ สัญญาเช่าซื้อหาได้ถูกยกเลิกไปหมดโดยสัญญาประนีประนอมซึ่งทำกันที่อำเภอไม่ สัญญาเช่าซื้อจึงนับว่าถูกยกเลิกไปเฉพาะแต่ในส่วนที่ดิน 200 ตารางวาบริเวณที่จำเลยปลูกบ้านเท่านั้น สัญญาเช่าซื้อสำหรับที่ดินนอกบริเวณที่ปลูกบ้าน 200 ตารางวาก็คงมีต่อไป และถือได้ว่าโจทก์ได้ชำระเงินให้แก่จำเลยครบหมดแล้ว โจทก์ชอบที่จะขอให้บังคับจำเลยโอนที่ดินในส่วนที่เหลือนั้นให้แก่โจทก์ได้
แม้โจทก์จะฟ้องขอบังคับเอาเต็มตามสัญญาเช่าซื้อเดิม เมื่อศาลฟังว่าโจทก์มีสิทธิขอบังคับเอาได้แต่เพียงบางส่วน ศาลก็ย่อมพิพากษาให้เท่าที่โจทก์มีสิทธินั้นได้ และการที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาให้สิทธิในที่ดินตกไปเป็นของโจทก์โดยให้โจทก์กันที่ดินคืนให้แก่จำเลย 200ตารางวา ณ ที่บริเวณที่จำเลยปลูกบ้านนั้น ถ้าเกิดขัดข้องขึ้นว่าจะกันเขตให้กันตรงไหน ก็เป็นเรื่องที่จะว่ากันได้ในชั้นบังคับคดี ไม่ใช่เป็นการหมดหลักเกณฑ์ที่จะทำการบังคับกันไม่ได้ดังทำนองที่จำเลยว่ามา ส่วนข้อที่ว่าที่ดินตามสัญญาเช่าซื้อระบุไว้ว่ามีอยู่ 1ไร่เศษ แต่ปรากฏขึ้นในภายหลังว่ามีอยู่ถึง 2 ไร่ 2งาน มากกว่าที่กล่าวในสัญญานั้น ก็เห็นว่าตามสัญญาเช่าซื้อท้ายฟ้องได้บ่งถึงการเช่าซื้อที่ดินทั้งแปลงตามที่ลงไว้ใน ส.ค.1 เลขที่ 13 ส่วนที่ลงไว้ว่ามีเนื้อที่เท่าใดนั้น เป็นการประมาณเอาตามที่เข้าใจว่ามี หาใช่มุ่งหมายไปในทางว่าจำเลยได้แบ่งขายที่แปลงนั้นให้โจทก์ไปราว 1 ไร่เศษเท่านั้นไม่

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 450/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาเช่าซื้อ: การยกเลิกเฉพาะส่วนของสัญญาจากข้อตกลงประนีประนอม และการบังคับตามสิทธิที่เหลือ
โจทก์ทำสัญญาเช่าซื้อที่ดินจากจำเลย โจทก์ค้างค่าเช่าซื้องวดที่ 3 ซึ่งเป็นงวดสุดท้ายอีก 7,700 บาท จำเลยเข้าไปปลูกบ้านในที่ให้เช่าซื้อ โจทก์ไปร้องอำเภอ อำเภอทำการเปรียบเทียบคู่กรณีตกลงกันว่า เฉพาะบริเวณที่จำเลยปลูกบ้าน เนื้อที่ 200 ตารางวา โจทก์ยอมให้แก่จำเลยโดยตีราคา 7,700 บาท เท่าที่โจทก์ยังค้างค่าเช่าซื้อ ดังนี้ สัญญาเช่าซื้อหาได้ถูกยกเลิกไปหมดโดยสัญญาประนีประนอมซึ่งทำกันที่อำเภอไม่สัญญาเช่าซื้อจึงนับว่าถูกยกเลิกไปเฉพาะแต่ในส่วนที่ดิน 200 ตารางวาบริเวณที่จำเลยปลูกบ้านเท่านั้น สัญญาเช่าซื้อสำหรับที่ดินนอกบริเวณที่ปลูกบ้าน 200 ตารางวาก็คงมีต่อไป และถือได้ว่าโจทก์ได้ชำระเงินให้แก่จำเลยครบหมดแล้ว โจทก์ชอบที่จะขอให้บังคับจำเลยโอนที่ดินในส่วนที่เหลือนั้นให้แก่โจทก์ได้
แม้โจทก์จะฟ้องขอบังคับเอาเต็มตามสัญญาเช่าซื้อเดิมเมื่อศาลฟังว่าโจทก์มีสิทธิขอบังคับเอาได้แต่เพียงบางส่วน ศาลก็ย่อมพิพากษาให้เท่าที่โจทก์มีสิทธินั้นได้และการที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาให้สิทธิในที่ดินตกไปเป็นของโจทก์โดยให้โจทก์กันที่ดินคืนให้แก่จำเลย 200 ตารางวา ณ ที่บริเวณที่จำเลยปลูกบ้านนั้นถ้าเกิดขัดข้องขึ้นว่าจะกันเขตให้กันตรงไหน ก็เป็นเรื่องที่จะว่ากันได้ในชั้นบังคับคดี ไม่ใช่เป็นการหมดหลักเกณฑ์ที่จะทำการบังคับกันไม่ได้ดังทำนองที่จำเลยว่ามาส่วนข้อที่ว่าที่ดินตามสัญญาเช่าซื้อระบุไว้ว่ามีอยู่ 1 ไร่เศษ แต่ปรากฏขึ้นในภายหลังว่ามีอยู่ถึง 2 ไร่ 2งาน มากกว่าที่กล่าวในสัญญานั้น ก็เห็นว่าตามสัญญาเช่าซื้อท้ายฟ้องได้บ่งถึงการเช่าซื้อที่ดินทั้งแปลงตามที่ลงไว้ใน ส.ค.1 เลขที่ 13 ส่วนที่ลงไว้ว่ามีเนื้อที่เท่าใดนั้น เป็นการประมาณเอาตามที่เข้าใจว่ามีหาใช่มุ่งหมายไปในทางว่าจำเลยได้แบ่งขายที่แปลงนั้นให้โจทก์ไปราว 1 ไร่เศษเท่านั้นไม่

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 450/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาเช่าซื้อ: การยกเลิกเฉพาะส่วนของสัญญาจากข้อตกลงประนีประนอม และสิทธิในการบังคับคดีตามสัญญาที่เหลือ
โจทก์ทำสัญญาเช่าซื้อที่ดินจากจำเลย. โจทก์ค้างค่าเช่าซื้องวดที่ 3 ซึ่งเป็นงวดสุดท้ายอีก 7,700 บาท. จำเลยเข้าไปปลูกบ้านในที่ให้เช่าซื้อ โจทก์ไปร้องอำเภอ อำเภอทำการเปรียบเทียบ. คู่กรณีตกลงกันว่า เฉพาะบริเวณที่จำเลยปลูกบ้าน เนื้อที่ 200 ตารางวา โจทก์ยอมให้แก่จำเลยโดยตีราคา 7,700 บาท เท่าที่โจทก์ยังค้างค่าเช่าซื้อ. ดังนี้ สัญญาเช่าซื้อหาได้ถูกยกเลิกไปหมดโดยสัญญาประนีประนอมซึ่งทำกันที่อำเภอไม่. สัญญาเช่าซื้อจึงนับว่าถูกยกเลิกไปเฉพาะแต่ในส่วนที่ดิน 200 ตารางวาบริเวณที่จำเลยปลูกบ้านเท่านั้น. สัญญาเช่าซื้อสำหรับที่ดินนอกบริเวณที่ปลูกบ้าน 200 ตารางวาก็คงมีต่อไป. และถือได้ว่าโจทก์ได้ชำระเงินให้แก่จำเลยครบหมดแล้ว. โจทก์ชอบที่จะขอให้บังคับจำเลยโอนที่ดินในส่วนที่เหลือนั้นให้แก่โจทก์ได้.
แม้โจทก์จะฟ้องขอบังคับเอาเต็มตามสัญญาเช่าซื้อเดิม.เมื่อศาลฟังว่าโจทก์มีสิทธิขอบังคับเอาได้แต่เพียงบางส่วน ศาลก็ย่อมพิพากษาให้เท่าที่โจทก์มีสิทธินั้นได้. และการที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาให้สิทธิในที่ดินตกไปเป็นของโจทก์โดยให้โจทก์กันที่ดินคืนให้แก่จำเลย 200ตารางวา ณ ที่บริเวณที่จำเลยปลูกบ้านนั้น. ถ้าเกิดขัดข้องขึ้นว่าจะกันเขตให้กันตรงไหน ก็เป็นเรื่องที่จะว่ากันได้ในชั้นบังคับคดี. ไม่ใช่เป็นการหมดหลักเกณฑ์ที่จะทำการบังคับกันไม่ได้ดังทำนองที่จำเลยว่ามา. ส่วนข้อที่ว่าที่ดินตามสัญญาเช่าซื้อระบุไว้ว่ามีอยู่ 1ไร่เศษ แต่ปรากฏขึ้นในภายหลังว่ามีอยู่ถึง 2 ไร่ 2งาน มากกว่าที่กล่าวในสัญญานั้น. ก็เห็นว่าตามสัญญาเช่าซื้อท้ายฟ้องได้บ่งถึงการเช่าซื้อที่ดินทั้งแปลงตามที่ลงไว้ใน ส.ค.1 เลขที่ 13. ส่วนที่ลงไว้ว่ามีเนื้อที่เท่าใดนั้น เป็นการประมาณเอาตามที่เข้าใจว่ามี. หาใช่มุ่งหมายไปในทางว่าจำเลยได้แบ่งขายที่แปลงนั้นให้โจทก์ไปราว 1 ไร่เศษเท่านั้นไม่.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 366/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาเช่าซื้อโดยกรรมการผู้จัดการ แม้ไม่มีตราบริษัท ก็มีผลผูกพันหากทำในนามบริษัท และจำเลยไม่โต้แย้งอำนาจกรรมการ
กรรมการผู้จัดการของบริษัทโจทก์ทำสัญญาเช่าซื้อในนามบริษัทโจทก์เป็นคู่สัญญาให้จำเลยเช่าซื้อรถยนต์ โดยกรรมการผู้จัดการนั้นลงชื่อแทน แม้มิได้ประทับตราบริษัท ซึ่งตามข้อบังคับที่จดทะเบียนไว้จะต้องประทับตราด้วย ก็ถือได้ว่าบริษัทโจทก์เป็นคู่สัญญากับจำเลย บริษัทโจทก์ย่อมเอาสัญญาเช่าซื้อที่กรรมการผู้จัดการทำกับจำเลยฟ้องจำเลยได้
(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 992/2497)
บริษัทโจทก์ฟ้องเรียกค่าเช่าซื้อที่ค้างชำระจากจำเลยตามสัญญาเช่าซื้อที่จำเลยทำกับกรรมการผู้จัดการของบริษัทโจทก์ จำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่า กรรมการผู้จัดการไม่มีอำนาจทำสัญญาเช่าซื้อแทนบริษัทโจทก์ ศาลจะยกปัญหาข้อนี้ขึ้นชี้ขาดยกฟ้องมิได้ เพราะเป็นเรื่องนอกประเด็น

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 366/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อำนาจกรรมการผู้จัดการทำสัญญาเช่าซื้อแทนบริษัท แม้ไม่มีตราบริษัท ก็มีผลผูกพันได้ หากแสดงเจตนาทำในนามบริษัท
กรรมการผู้จัดการของบริษัทโจทก์ทำสัญญาเช่าซื้อในนามบริษัทโจทก์เป็นคู่สัญญาให้จำเลยเช่าซื้อรถยนต์. โดยกรรมการผู้จัดการนั้นลงชื่อแทน. แม้มิได้ประทับตราบริษัท. ซึ่งตามข้อบังคับที่จดทะเบียนไว้จะต้องประทับตราด้วย.ก็ถือได้ว่าบริษัทโจทก์เป็นคู่สัญญากับจำเลย. บริษัทโจทก์ย่อมเอาสัญญาเช่าซื้อที่กรรมการผู้จัดการทำกับจำเลยฟ้องจำเลยได้.(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 992/2497)
บริษัทโจทก์ฟ้องเรียกค่าเช่าซื้อที่ค้างชำระจากจำเลยตามสัญญาเช่าซื้อที่จำเลยทำกับกรรมการผู้จัดการของบริษัทโจทก์. จำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่า กรรมการผู้จัดการไม่มีอำนาจทำสัญญาเช่าซื้อแทนบริษัทโจทก์. ศาลจะยกปัญหาข้อนี้ขึ้นชี้ขาดยกฟ้องมิได้. เพราะเป็นเรื่องนอกประเด็น.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 362/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาเช่าซื้อโดยกรรมการผู้จัดการ แม้ไม่มีตราบริษัท ก็มีผลผูกพันหากทำในนามบริษัท และจำเลยไม่โต้แย้งอำนาจกรรมการ
กรรมการผู้จัดการของบริษัทโจทก์ทำสัญญาเช่าซื้อในนามบริษัทโจทก์เป็นคู่สัญญาให้จำเลยเช่าซื้อรถยนต์ โดยกรรมการผู้จัดการนั้นลงชื่อแทน แม้มิได้ประทับตราบริษัทซึ่งตามข้อบังคับที่จดทะเบียนนั้นจะต้องประทับตราด้วย ก็ถือได้ว่าบริษัทโจทก์เป็นคู่สัญญากับจำเลยบริษัทโจทก์ย่อมเอาสัญญาเช่าซื้อที่กรรมการผู้จัดการทำกับจำเลยฟ้องจำเลยได้
(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 992/2497)
บริษัทโจทก์ฟ้องเรียกค่าเช่าซื้อที่ค้างชำระจากจำเลยตามสัญญาเช่าซื้อที่จำเลยทำกับกรรมการผู้จัดการของบริษัทโจทก์ จำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่า กรรมการผู้จัดการไม่มีอำนาจทำสัญญาเช่าซื้อและบริษัทโจทก์ ศาลจะยกปัญหาข้อนี้ขึ้นชี้ขาดยกฟ้องมิได้ เพราะเป็นเรื่องนอกประเด็น.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 362/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาเช่าซื้อที่กรรมการผู้จัดการลงนาม แม้ไม่มีตราบริษัท ก็มีผลผูกพันบริษัท หากทำในนามบริษัท และจำเลยไม่โต้แย้งอำนาจกรรมการ
กรรมการผู้จัดการของบริษัทโจทก์ทำสัญญาเช่าซื้อในนามบริษัทโจทก์เป็นคู่สัญญาให้จำเลยเช่าซื้อรถยนต์. โดยกรรมการผู้จัดการนั้นลงชื่อแทน. แม้มิได้ประทับตราบริษัทซึ่งตามข้อบังคับที่จดทะเบียนนั้นจะต้องประทับตราด้วย.ก็ถือได้ว่าบริษัทโจทก์เป็นคู่สัญญากับจำเลยบริษัทโจทก์ย่อมเอาสัญญาเช่าซื้อที่กรรมการผู้จัดการทำกับจำเลยฟ้องจำเลยได้.
บริษัทโจทก์ฟ้องเรียกค่าเช่าซื้อที่ค้างชำระจากจำเลยตามสัญญาเช่าซื้อที่จำเลยทำกับกรรมการผู้จัดการของบริษัทโจทก์.จำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่า กรรมการผู้จัดการไม่มีอำนาจทำสัญญาเช่าซื้อและบริษัทโจทก์. ศาลจะยกปัญหาข้อนี้ขึ้นชี้ขาดยกฟ้องมิได้ เพราะเป็นเรื่องนอกประเด็น.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 690/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาเช่าซื้อกับคนต่างด้าว: สิทธิในการได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ตามสนธิสัญญาไมตรี และหน้าที่นำสืบ
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยทำสัญญาเช่าซื้อที่ดินของโจทก์ และจำเลยผิดสัญญาและค้างชำระเงิน จำเลยให้การรับว่า ทำสัญญาเช่าซื้อกับโจทก์และไม่ได้ชำระเงินค่าเช่าซื้อให้แก่โจทก์จริง แต่อ้างว่าสัญญาเช่าซื้อเป็นโมฆะ เพราะจำเลยเป็นคนต่างด้าว ไม่มีสิทธิได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ และทำสัญญาด้วยความสำคัญผิดในสารสำคัญแห่งนิติกรรม ดังนี้ จำเลยเป็นฝ่ายกล่าวอ้างขึ้นใหม่ว่าสัญญาเช่าซื้อเป็นโมฆะ โดยมีวัตถุประสงค์ต้องห้ามตามกฎหมายและสำคัญผิดในสารสำคัญของนิติกรรม มิใช่เพียงปฏิเสธว่าไม่ผิดสัญญาเท่ากับจำเลยต่อสู้ว่าการที่จำเลยไม่ชำระเงินค่าเช่าซื้อ ไม่เป็นผิดสัญญา จำเลยจึงมีหน้าที่นำสืบก่อนว่าสัญญานั้นไม่มีผลผูกพันอันจะทำให้จำเลยไม่ต้องปฏิบัติตามสัญญา
สนธิสัญญาทางไมตรีระหว่างราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐจีนซึ่งเริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 28 มีนาคม 2489 ความในข้อ 6แห่งสนธิสัญญามีว่า คนชาติแห่งอัครภาคีแต่ละฝ่ายมีสิทธิที่จะได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ตลอดทั่วอาณาเขตของอีกฝ่ายหนึ่งนั้น ยังมีผลใช้บังคับตลอดไป ไม่ว่ารัฐบาลของสาธารณรัฐจีนจะไปตั้งอยู่ที่ไต้หวันหรือเกาะฟอโมซา เพราะสนธิสัญญาทางไมตรีระหว่างราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐจีนยังมีต่อกันอยู่ หาได้ถูกยกเลิกไปไม่
สำเนาหนังสือกระทรวงมหาดไทยที่ 2639/2504 ลงวันที่ 16กุมภาพันธ์ 2504 ถึงผู้ว่าราชการจังหวัดทุกจังหวัด ระบุสัญชาติคนต่างด้าวที่มีสิทธิขออนุญาตให้ได้มาซึ่งที่ดินตามมาตรา 86 แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน โดยไม่ระบุคนต่างด้าวสัญชาติจีนรวมอยู่ด้วย และจำเลยแนบติดมาท้ายฎีกาของจำเลยนั้น จำเลยไม่ได้ระบุอ้างเป็นพยานไว้ก่อนและไม่มีเจ้าหน้าที่รับรองว่าเป็นสำเนาที่ถูกต้องทั้งไม่ใช่กฎหมาย ศาลฎีกาย่อมไม่รับวินิจฉัย
ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 86 มิได้บัญญัติห้ามเด็ดขาดไม่ให้คนต่างด้าวถือกรรมสิทธิ์ที่ดิน จำเลยซึ่งเป็นบุคคลสัญชาติจีนและเป็นผู้เช่าซื้อที่ดินของโจทก์ยังอยู่ในวิสัยที่จะไปขออนุญาตถือกรรมสิทธิ์ที่ดินได้และไม่ใช่สัญญาที่มีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมายหรือเป็นการพ้นวิสัย สัญญาเช่าซื้อระหว่างโจทก์จำเลยจึงสมบูรณ์ (วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 5 -6/2511)
ฎีกาจำเลยในข้อที่ว่า การชำระเงินค่าเช่าซื้อ แม้จะผิดพลาดไปบ้างโจทก์ไม่ถือว่าจำเลยผิดสัญญาก็ดี หรือโจทก์ยังไม่ได้บอกกล่าวให้จำเลยชำระเงินค่าเช่าซื้อยังถือไม่ได้ว่าจำเลยผิดสัญญาก็ดี จำเลยไม่ได้ยกขึ้นต่อสู้ว่ากล่าวมาในศาลชั้นต้น จำเลยจะยกขึ้นในชั้นฎีกาไม่ได้
จำเลยฟ้องแย้งว่า จำเลยได้ชำระเงินให้ ป. ซึ่งโจทก์เป็นหนี้ ป. แทนโจทก์ โจทก์ปฏิเสธว่าจำเลยไม่ได้ชำระเงินแทนและโจทก์มิได้เป็นหนี้แต่จำเลยกลับนำสืบว่าจำเลยส่งมอบข้าวสาร ไม่ใช่ชำระเงินแทน จึงเป็นการนำสืบนอกฟ้องแย้งของจำเลย

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 690/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาเช่าซื้อกับคนต่างด้าว: สิทธิในการได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ภายใต้สนธิสัญญาและความสำคัญของการนำสืบหน้าที่
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยทำสัญญาเช่าซื้อที่ดินของโจทก์ และจำเลยผิดสัญญาและค้างชำระเงิน จำเลยให้การรับว่า ทำสัญญาเช่าซื้อกับโจทก์และไม่ได้ชำระเงินค่าเช่าซื้อให้แก่โจทก์จริง แต่อ้างว่าสัญญาเช่าซื้อเป็นโมฆะ เพราะจำเลยเป็นคนต่างด้าว ไม่มีสิทธิได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ และทำสัญญาด้วยความสำคัญผิดในสารสำคัญแห่งนิติกรรมดังนี้ จำเลยเป็นฝ่ายกล่าวอ้างขึ้นใหม่ว่าสัญญาเช่าซื้อเป็นโมฆะ โดยมีวัตถุประสงค์ต้องห้ามตามกฎหมายและสำคัญผิดในสารสำคัญของนิติกรรมมิใช่เพียงปฏิเสธว่าไม่ผิดสัญญาเท่ากับจำเลยต่อสู้ว่าการที่จำเลยไม่ชำระเงินค่าเช่าซื้อ ไม่เป็นผิดสัญญาจำเลยจึงมีหน้าที่นำสืบก่อนว่าสัญญานั้นไม่มีผลผูกพันอันจะทำให้จำเลยไม่ต้องปฏิบัติตามสัญญา
สนธิสัญญาทางไมตรีระหว่างราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐจีนซึ่งเริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 28 มีนาคม 2489 ความในข้อ 6แห่งสนธิสัญญามีว่า คนชาติแห่งอัครภาคีแต่ละฝ่ายมีสิทธิที่จะได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ตลอดทั่วอาณาเขตของอีกฝ่ายหนึ่งนั้นยังมีผลใช้บังคับตลอดไป ไม่ว่ารัฐบาลของสาธารณรัฐจีนจะไปตั้งอยู่ที่ไต้หวันหรือเกาะฟอโมซาเพราะสนธิสัญญาทางไมตรีระหว่างราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐจีนยังมีต่อกันอยู่ หาได้ถูกยกเลิกไปไม่
สำเนาหนังสือกระทรวงมหาดไทยที่ 2639/2504 ลงวันที่ 16กุมภาพันธ์ 2504 ถึงผู้ว่าราชการจังหวัดทุกจังหวัด ระบุสัญชาติคนต่างด้าวที่มีสิทธิขออนุญาตให้ได้มาซึ่งที่ดินตามมาตรา 86 แห่งประมวลกฎหมายที่ดินโดยไม่ระบุคนต่างด้าวสัญชาติจีนรวมอยู่ด้วย และจำเลยแนบติดมาท้ายฎีกาของจำเลยนั้นจำเลยไม่ได้ระบุอ้างเป็นพยานไว้ก่อนและไม่มีเจ้าหน้าที่รับรองว่าเป็นสำเนาที่ถูกต้องทั้งไม่ใช่กฎหมาย ศาลฎีกาย่อมไม่รับวินิจฉัย
ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 86 มิได้บัญญัติห้ามเด็ดขาดไม่ให้คนต่างด้าวถือกรรมสิทธิ์ที่ดิน จำเลยซึ่งเป็นบุคคลสัญชาติจีนและเป็นผู้เช่าซื้อที่ดินของโจทก์ยังอยู่ในวิสัยที่จะไปขออนุญาตถือกรรมสิทธิ์ที่ดินได้และไม่ใช่สัญญาที่มีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมายหรือเป็นการพ้นวิสัย สัญญาเช่าซื้อระหว่างโจทก์จำเลยจึงสมบูรณ์ (วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 5-6/2511)
ฎีกาจำเลยในข้อที่ว่า การชำระเงินค่าเช่าซื้อ แม้จะผิดพลาดไปบ้างโจทก์ไม่ถือว่าจำเลยผิดสัญญาก็ดี หรือโจทก์ยังไม่ได้บอกกล่าวให้จำเลยชำระเงินค่าเช่าซื้อยังถือไม่ได้ว่าจำเลยผิดสัญญาก็ดีจำเลยไม่ได้ยกขึ้นต่อสู้ว่ากล่าวมาในศาลชั้นต้น จำเลยจะยกขึ้นในชั้นฎีกาไม่ได้
จำเลยฟ้องแย้งว่า จำเลยได้ชำระเงินให้ ป. ซึ่งโจทก์เป็นหนี้ ป. แทนโจทก์ โจทก์ปฏิเสธว่าจำเลยไม่ได้ชำระเงินแทนและโจทก์มิได้เป็นหนี้แต่จำเลยกลับนำสืบว่าจำเลยส่งมอบข้าวสารไม่ใช่ชำระเงินแทนจึงเป็นการนำสืบนอกฟ้องแย้งของจำเลย

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 690/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาเช่าซื้อกับคนต่างด้าว: สิทธิในการได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ภายใต้สนธิสัญญาและความสมบูรณ์ของสัญญา
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยทำสัญญาเช่าซื้อที่ดินของโจทก์ และจำเลยผิดสัญญาและค้างชำระเงิน. จำเลยให้การรับว่า ทำสัญญาเช่าซื้อกับโจทก์และไม่ได้ชำระเงินค่าเช่าซื้อให้แก่โจทก์จริง แต่อ้างว่าสัญญาเช่าซื้อเป็นโมฆะ เพราะจำเลยเป็นคนต่างด้าว ไม่มีสิทธิได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์.ในอสังหาริมทรัพย์ และทำสัญญาด้วยความสำคัญผิดในสารสำคัญแห่งนิติกรรม. ดังนี้ จำเลยเป็นฝ่ายกล่าวอ้างขึ้นใหม่ว่าสัญญาเช่าซื้อเป็นโมฆะ โดยมีวัตถุประสงค์ต้องห้ามตามกฎหมายและสำคัญผิดในสารสำคัญของนิติกรรม. มิใช่เพียงปฏิเสธว่าไม่ผิดสัญญาเท่ากับจำเลยต่อสู้ว่าการที่จำเลยไม่ชำระเงินค่าเช่าซื้อ ไม่เป็นผิดสัญญา. จำเลยจึงมีหน้าที่นำสืบก่อนว่าสัญญานั้นไม่มีผลผูกพันอันจะทำให้จำเลยไม่ต้องปฏิบัติตามสัญญา.
สนธิสัญญาทางไมตรีระหว่างราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐจีนซึ่งเริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 28 มีนาคม 2489 ความในข้อ 6แห่งสนธิสัญญามีว่า คนชาติแห่งอัครภาคีแต่ละฝ่ายมีสิทธิที่จะได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ตลอดทั่วอาณาเขตของอีกฝ่ายหนึ่งนั้น. ยังมีผลใช้บังคับตลอดไป ไม่ว่ารัฐบาลของสาธารณรัฐจีนจะไปตั้งอยู่ที่ไต้หวันหรือเกาะฟอโมซา. เพราะสนธิสัญญาทางไมตรีระหว่างราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐจีนยังมีต่อกันอยู่ หาได้ถูกยกเลิกไปไม่.
สำเนาหนังสือกระทรวงมหาดไทยที่ 2639/2504 ลงวันที่ 16กุมภาพันธ์ 2504 ถึงผู้ว่าราชการจังหวัดทุกจังหวัด ระบุสัญชาติคนต่างด้าวที่มีสิทธิขออนุญาตให้ได้มาซึ่งที่ดินตามมาตรา 86 แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน. โดยไม่ระบุคนต่างด้าวสัญชาติจีนรวมอยู่ด้วย. และจำเลยแนบติดมาท้ายฎีกาของจำเลยนั้น. จำเลยไม่ได้ระบุอ้างเป็นพยานไว้ก่อน.และไม่มีเจ้าหน้าที่รับรองว่าเป็นสำเนาที่ถูกต้องทั้งไม่ใช่กฎหมาย. ศาลฎีกาย่อมไม่รับวินิจฉัย.
ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 86 มิได้บัญญัติห้ามเด็ดขาดไม่ให้คนต่างด้าวถือกรรมสิทธิ์ที่ดิน. จำเลยซึ่งเป็นบุคคลสัญชาติจีนและเป็นผู้เช่าซื้อที่ดินของโจทก์ยังอยู่ในวิสัยที่จะไปขออนุญาตถือกรรมสิทธิ์ที่ดินได้และไม่ใช่สัญญาที่มีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมายหรือเป็นการพ้นวิสัย. สัญญาเช่าซื้อระหว่างโจทก์จำเลยจึงสมบูรณ์ (วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 5-6/2511).
ฎีกาจำเลยในข้อที่ว่า การชำระเงินค่าเช่าซื้อ แม้จะผิดพลาดไปบ้างโจทก์ไม่ถือว่าจำเลยผิดสัญญาก็ดี. หรือโจทก์ยังไม่ได้บอกกล่าว.ให้จำเลยชำระเงินค่าเช่าซื้อ.ยังถือไม่ได้ว่าจำเลยผิดสัญญาก็ดี. จำเลยไม่ได้ยกขึ้นต่อสู้ว่ากล่าวมาในศาลชั้นต้น จำเลยจะยกขึ้นในชั้นฎีกาไม่ได้.
จำเลยฟ้องแย้งว่า จำเลยได้ชำระเงินให้ ป. ซึ่งโจทก์เป็นหนี้ ป. แทนโจทก์. โจทก์ปฏิเสธว่าจำเลยไม่ได้ชำระเงินแทนและโจทก์มิได้เป็นหนี้แต่จำเลยกลับนำสืบว่าจำเลยส่งมอบข้าวสาร. ไม่ใช่ชำระเงินแทน. จึงเป็นการนำสืบนอกฟ้องแย้งของจำเลย.
of 49