พบผลลัพธ์ทั้งหมด 610 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1556-1557/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตความรับผิดของผู้ค้ำประกันหลังสัญญาตัวแทนระงับ และระยะเวลาผูกพันตามสัญญาค้ำประกัน
สัญญาค้ำประกันที่มีข้อความว่า ถ้านายธ.พ้นจากหน้าที่ตัวแทนในการขายของบริษัท เนื่องจากบริษัทบอกเลิกสัญญาหรือด้วยเหตุหนึ่งเหตุใดก็ตาม สัญญาค้ำประกันฉบับนี้ยังไม่ยกเลิกจนกว่าจะครบกำหนด 6 เดือนนับตั้งแต่นายธ.ได้พ้นจากหน้าที่นั้น หมายความว่าแม้นายธ.จะพ้นหน้าที่ตัวแทนไปแล้วก็ตาม หนี้อันเกิดจากสัญญาตัวแทนที่จะต้องชำระก็หาได้หมดสิ้นไปทันทีไม่ อาจมีหนี้ที่นายธ.ทำขึ้นหลังที่สัญญาตัวแทนระงับลงแล้วอีกบางประการก็ได้ ซึ่งผู้ค้ำประกันจะต้องรับผิดตามสัญญาค้ำประกันต่อไปอีก 6 เดือน หาใช่ว่าพอพ้น 6 เดือนแล้ว ความรับผิดใดๆที่ผู้ค้ำประกันมีอยู่เดิมก็จะยกเลิกไปด้วยไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1556-1557/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตความรับผิดของผู้ค้ำประกันหลังสิ้นสุดสัญญาตัวแทน: ระยะเวลา 6 เดือน ยังคงผูกพันตามหนี้ที่เกิดขึ้น
สัญญาค้ำประกันที่มีข้อความว่า ถ้านายธ.พ้นจากหน้าที่ตัวแทนในการขายของบริษัท. เนื่องจากบริษัทบอกเลิกสัญญาหรือด้วยเหตุหนึ่งเหตุใดก็ตาม. สัญญาค้ำประกันฉบับนี้ยังไม่ยกเลิกจนกว่าจะครบกำหนด 6 เดือนนับตั้งแต่นายธ.ได้พ้นจากหน้าที่นั้น. หมายความว่า แม้นายธ.จะพ้นหน้าที่ตัวแทนไปแล้วก็ตาม. หนี้อันเกิดจากสัญญาตัวแทนที่จะต้องชำระก็หาได้หมดสิ้นไปทันทีไม่.อาจมีหนี้ที่นายธ.ทำขึ้นหลังที่สัญญาตัวแทนระงับลงแล้วอีกบางประการก็ได้.ซึ่งผู้ค้ำประกันจะต้องรับผิดตามสัญญาค้ำประกันต่อไปอีก 6 เดือน. หาใช่ว่าพอพ้น 6 เดือนแล้ว ความรับผิดใดๆที่ผู้ค้ำประกันมีอยู่เดิมก็จะยกเลิกไปด้วยไม่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1309/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตความรับผิดของผู้ค้ำประกันสัญญาเบิกเงินเกินบัญชี: ระยะเวลา, วงเงิน, และดอกเบี้ย
วันที่ 7 มกราคม 2500 บริษัท ส. เบิกเงินเกินบัญชีไปจากโจทก์ 477,100 บาท 83 สตางค์ วันที่ 9 มกราคม2500 บริษัท ส. จึงได้ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีให้ไว้กับโจทก์ว่า บริษัท ส. ได้ขอเบิกเงินเกินบัญชีจากโจทก์เป็นเงินไม่เกิน 450,000 บาท มีกำหนดระยะเวลา 6 เดือน นับจากวันทำสัญญา ส่วนจำนวนเงินที่เบิกเกินบัญชีไปนั้น ให้ถือตามบัญชีกระแสรายวันของธนาคาร ดังนี้ เมื่อจำเลยค้ำประกันสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีดังกล่าว จำเลยจึงต้องค้ำประกันในหนี้ที่มีอยู่ก่อนวันทำสัญญา คือ จำนวนเงิน 447,100.83 บาท และหนี้ที่ก่อนั้นภายในเวลา 6 เดือนนับแต่วันทำสัญญา คือจำนวนเงิน 97,616 บาท 83 สตางค์ รวมเป็นเงิน 544,717 บาท 66 สตางค์ แต่หนี้ที่เกิดขึ้นหลังจากพ้นระยะเวลา 6 เดือนแล้วจำเลยไม่ต้องรับผิดชอบ และเมื่อจำเลยเป็นผู้ค้ำประกันการเบิกเงินเกินบัญชีดังกล่าว จึงต้องรับผิดในหนี้ดังกล่าวแต่รับผิดเพียงในวงเงิน 450,000 บาท แต่ จำเลยจะต้องรับผิดเพียงดอกเบี้ยในต้นเงิน 97,616.83 บาทเท่านั้น.และต้องรับผิดทั้งต้นเงินและดอกเบี้ยทบต้นตามบัญชีกระแสรายวัน เมื่อสิ้นกำหนด 6 เดือนซึ่งบริษัท ส. เป็นหนี้อยู่เกินกว่า 450,000 บาท แต่จำเลยคงรับผิดเพียงในวงเงิน 450,000 บาท
สัญญาเบิกเงินเกินบัญชีของบริษัท ส. มีวงเงินไม่เกิน450,000 บาท แต่ได้ระบุเวลาไว้ 6 เดือน เมื่อครบกำหนดระยะเวลา บริษัท ส. หรือจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันไม่ชำระหนี้ดังกล่าว จำเลยในฐานะผู้ค้ำประกันจึงต้องรับผิดในดอกเบี้ยทบต้นของจำนวนเงิน 450,000 บาท นี้ต่อไปอีก จนถึงวันที่ 31 มกราคม 2506 ส่วนระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2506 จนถึงวันฟ้อง โจทก์ไม่ได้มีเจตนาเรียกร้องเอาดอกเบี้ย จำเลยจึงไม่ต้องชำระให้ และจำเลยต้องชำระดอกเบี้ยธรรมดานับแต่วันฟ้องจนกว่าจำเลยจะชำระเงินเสร็จ
สัญญาเบิกเงินเกินบัญชีของบริษัท ส. มีวงเงินไม่เกิน450,000 บาท แต่ได้ระบุเวลาไว้ 6 เดือน เมื่อครบกำหนดระยะเวลา บริษัท ส. หรือจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันไม่ชำระหนี้ดังกล่าว จำเลยในฐานะผู้ค้ำประกันจึงต้องรับผิดในดอกเบี้ยทบต้นของจำนวนเงิน 450,000 บาท นี้ต่อไปอีก จนถึงวันที่ 31 มกราคม 2506 ส่วนระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2506 จนถึงวันฟ้อง โจทก์ไม่ได้มีเจตนาเรียกร้องเอาดอกเบี้ย จำเลยจึงไม่ต้องชำระให้ และจำเลยต้องชำระดอกเบี้ยธรรมดานับแต่วันฟ้องจนกว่าจำเลยจะชำระเงินเสร็จ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1309/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตความรับผิดของผู้ค้ำประกันสัญญาเบิกเงินเกินบัญชี: หนี้ก่อนสัญญา, หนี้ระหว่างสัญญา, และวงเงินจำกัด
วันที่ 7 มกราคม 2500 บริษัท ส. เบิกเงินเกินบัญชีไปจากโจทก์ 477,100 บาท 83 สตางค์ วันที่ 9 มกราคม 2500 บริษัท ส. จึงได้ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีให้ไว้กับโจทก์ว่า บริษัท ส. ได้ขอเบิกเงินเกินบัญชีจากโจทก์เป็นเงินไม่เกิน 450,000 บาท มีกำหนดระยะเวลา 6 เดือน นับจากวันทำสัญญา ส่วนจำนวนเงินที่เบิกเกินบัญชีไปนั้น ให้ให้ถือตามบัญชีกระแสรายวันของธนาคาร ดังนี้ เมื่อจำเลยค้ำประกันสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีดังกล่าว จำเลยจึงต้องค้ำประกันในหนี้ที่มีอยู่ก่อนวันทำสัญญา คือ จำนวนเงิน 447,100.83 บาท และหนี้ที่ก่อนั้นภายในเวลา 6 เดือนนับแต่วันทำสัญญา คือจำนวนเงิน 97,616 บาท 83 สตางค์ รวมเป็นเงิน 544,717 บาท 66 สตางค์ แต่หนี้ที่เกิดขึ้นหลังจากพ้นระยะเวลา 6 เดือนแล้วจำเลยไม่ต้องรับผิดชอบ และเมื่อจำเลยเป็นผู้ค้ำประกันการเบิกเงินเกินบัญชีดังกล่าว จึงต้องรับผิดในหนี้ดังกล่าวแต่รับผิดเพียงในวงเงิน 450,000 บาท แต่ จำเลยจะต้องรับผิดเพียงดอกเบี้ยในต้นเงิน 97,616.83 บาทเท่านั้นและต้องรับผิดทั้งต้นเงินและดอกเบี้ยทบต้นตามบัญชีกระแสรายวัน เมื่อสิ้นกำหนด 6 เดือนซึ่งบริษัท ส. เป็นหนี้อยู่เกินกว่า 450,000 บาท แต่จำเลยคงรับผิดเพียงในวงเงิน450,000 บาท
สัญญาเบิกเงินเกินบัญชีของบริษัท ส. มีวงเงินไม่เกิน 450,000 บาท แต่ได้ระบุเวลาไว้ 6 เดือน เมื่อครบกำหนดระยะเวลา บริษัท ส. หรือจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันไม่ชำระหนี้ดังกล่าว จำเลยในฐานะผู้ค้ำประกันจึงต้องรับผิดในดอกเบี้ยทบต้นของจำนวนเงิน 450,000 บาทนี้ต่อไปอีก จนถึงวันที่ 31 มกราคม 2506 ส่วนระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2506 จนถึงวันฟ้อง โจทก์ไม่ได้มีเจตนาเรียกร้องเอาดอกเบี้ย จำเลยจึงไม่ต้องชำระให้ และจำเลยต้องชำระดอกเบี้ยธรรมดานับแต่วันฟ้องจนกว่าจำเลยจะชำระเงินเสร็จ
สัญญาเบิกเงินเกินบัญชีของบริษัท ส. มีวงเงินไม่เกิน 450,000 บาท แต่ได้ระบุเวลาไว้ 6 เดือน เมื่อครบกำหนดระยะเวลา บริษัท ส. หรือจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันไม่ชำระหนี้ดังกล่าว จำเลยในฐานะผู้ค้ำประกันจึงต้องรับผิดในดอกเบี้ยทบต้นของจำนวนเงิน 450,000 บาทนี้ต่อไปอีก จนถึงวันที่ 31 มกราคม 2506 ส่วนระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2506 จนถึงวันฟ้อง โจทก์ไม่ได้มีเจตนาเรียกร้องเอาดอกเบี้ย จำเลยจึงไม่ต้องชำระให้ และจำเลยต้องชำระดอกเบี้ยธรรมดานับแต่วันฟ้องจนกว่าจำเลยจะชำระเงินเสร็จ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1309/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตความรับผิดของผู้ค้ำประกันสัญญาเบิกเงินเกินบัญชี: หนี้ก่อนสัญญา, หนี้ในระยะเวลา, และดอกเบี้ย
วันที่ 7 มกราคม 2500 บริษัท ส. เบิกเงินเกินบัญชีไปจากโจทก์ 477,100 บาท 83 สตางค์. วันที่ 9 มกราคม2500 บริษัท ส. จึงได้ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีให้ไว้กับโจทก์ว่า. บริษัท ส. ได้ขอเบิกเงินเกินบัญชีจากโจทก์เป็นเงินไม่เกิน 450,000 บาท มีกำหนดระยะเวลา 6 เดือน นับจากวันทำสัญญา. ส่วนจำนวนเงินที่เบิกเกินบัญชีไปนั้น ให้ให้ถือตามบัญชีกระแสรายวันของธนาคาร. ดังนี้ เมื่อจำเลยค้ำประกันสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีดังกล่าว. จำเลยจึงต้องค้ำประกันในหนี้ที่มีอยู่ก่อนวันทำสัญญา คือ จำนวนเงิน 447,100.83 บาท. และหนี้ที่ก่อนั้นภายในเวลา 6 เดือนนับแต่วันทำสัญญา คือจำนวนเงิน 97,616 บาท 83 สตางค์.รวมเป็นเงิน 544,717 บาท 66 สตางค์. แต่หนี้ที่เกิดขึ้นหลังจากพ้นระยะเวลา 6 เดือนแล้วจำเลยไม่ต้องรับผิดชอบ. และเมื่อจำเลยเป็นผู้ค้ำประกันการเบิกเงินเกินบัญชีดังกล่าว จึงต้องรับผิดในหนี้ดังกล่าวแต่รับผิดเพียงในวงเงิน 450,000 บาท แต่ จำเลยจะต้องรับผิดเพียงดอกเบี้ยในต้นเงิน 97,616.83 บาทเท่านั้น.และต้องรับผิดทั้งต้นเงินและดอกเบี้ยทบต้นตามบัญชีกระแสรายวัน. เมื่อสิ้นกำหนด 6 เดือนซึ่งบริษัท ส. เป็นหนี้อยู่เกินกว่า 450,000 บาท แต่จำเลยคงรับผิดเพียงในวงเงิน450,000 บาท.
สัญญาเบิกเงินเกินบัญชีของบริษัท ส. มีวงเงินไม่เกิน450,000 บาท. แต่ได้ระบุเวลาไว้ 6 เดือน เมื่อครบกำหนดระยะเวลา บริษัท ส. หรือจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันไม่ชำระหนี้ดังกล่าว. จำเลยในฐานะผู้ค้ำประกันจึงต้องรับผิดในดอกเบี้ยทบต้นของจำนวนเงิน 450,000 บาทนี้ต่อไปอีก จนถึงวันที่ 31 มกราคม 2506. ส่วนระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2506 จนถึงวันฟ้อง โจทก์ไม่ได้มีเจตนาเรียกร้องเอาดอกเบี้ย จำเลยจึงไม่ต้องชำระให้. และจำเลยต้องชำระดอกเบี้ยธรรมดานับแต่วันฟ้องจนกว่าจำเลยจะชำระเงินเสร็จ.
สัญญาเบิกเงินเกินบัญชีของบริษัท ส. มีวงเงินไม่เกิน450,000 บาท. แต่ได้ระบุเวลาไว้ 6 เดือน เมื่อครบกำหนดระยะเวลา บริษัท ส. หรือจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันไม่ชำระหนี้ดังกล่าว. จำเลยในฐานะผู้ค้ำประกันจึงต้องรับผิดในดอกเบี้ยทบต้นของจำนวนเงิน 450,000 บาทนี้ต่อไปอีก จนถึงวันที่ 31 มกราคม 2506. ส่วนระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2506 จนถึงวันฟ้อง โจทก์ไม่ได้มีเจตนาเรียกร้องเอาดอกเบี้ย จำเลยจึงไม่ต้องชำระให้. และจำเลยต้องชำระดอกเบี้ยธรรมดานับแต่วันฟ้องจนกว่าจำเลยจะชำระเงินเสร็จ.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1124/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญากู้ไม่มีกำหนดเวลาชำระหนี้ ผู้ให้กู้มีสิทธิเรียกหนี้เมื่อใดก็ได้ การค้ำประกันจึงไม่ผูกพันเมื่อไม่มีกำหนดเวลา
สัญญากู้ไม่มีกำหนดเวลาชำระหนี้. ผู้ให้กู้ย่อมมีสิทธิเรียกให้ผู้กู้ชำระหนี้เมื่อใดก็ได้. และการที่ผู้กู้นำพยานบุคคลมาสืบว่า การกู้รายนี้มีข้อตกลงกำหนดเวลาชำระหนี้คืน 3 เดือน ตามเช็คล่วงหน้าที่ผู้กู้ได้ออกให้ผู้ให้กู้ยึดถือไว้นั้น. เป็นการนำสืบเพิ่มเติมข้อความในเอกสารสัญญากู้ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 94.
เอกสารหมาย ล.6 ที่โจทก์ผู้ให้กู้มีถึงจำเลยแจ้งกำหนดเวลาชำระหนี้ให้จำเลยทราบถือได้แต่เพียงเป็นหลักฐานที่โจทก์เรียกให้จำเลยชำระหนี้ภายในเวลาที่โจทก์กำหนดไว้เท่านั้น. จะถือเป็นหลักฐานว่าโจทก์จำเลยตกลงกำหนดเวลาชำระหนี้แน่นอนแล้วหาได้ไม่.
เมื่อหนี้ไม่มีกำหนดเวลาชำระหนี้. การค้ำประกันก็มิใช่การค้ำประกันหนี้อันจะต้องชำระ ณ เวลามีกำหนดแน่นอน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 700. แม้ผู้ให้กู้จะผ่อนเวลาให้ลูกหนี้ ผู้ค้ำประกันก็หาหลุดพ้นความรับผิดไม่.
โจทก์มิได้ฟ้องเรียกร้องเอาดอกเบี้ย. แต่เมื่อฟังได้ว่าการกู้มีดอกเบี้ย ผู้กู้จึงต้องชำระดอกเบี้ยอยู่.และก่อนฟ้องโจทก์ได้รับชำระหนี้จากจำเลยด้วยสิ่งของเป็นเงิน 8,725 บาท. โจทก์จึงฟ้องเรียกให้จำเลยชำระเฉพาะต้นเงินกู้. ดังนี้ การที่ศาลจัดใช้เงิน 8,725 บาทที่โจทก์ได้รับชำระหนี้ก่อนฟ้องเป็นใช้ดอกเบี้ยเสียก่อน. ส่วนเหลือใช้เป็นการชำระต้นเงินกู้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 329. แล้วพิพากษาให้จำเลยรับผิดชำระต้นเงินกู้ที่ยังค้างให้โจทก์น้อยกว่าที่โจทก์ขอนั้น. ดังนี้หาเป็นการพิพากษาเกินคำขอไม่.
สัญญากู้มีข้อความว่า จำเลยยอมให้ดอกเบี้ยแก่โจทก์.แต่อัตราดอกเบี้ยมิได้กำหนดลงไว้จึงต้องใช้อัตราร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 7.
เอกสารหมาย ล.6 ที่โจทก์ผู้ให้กู้มีถึงจำเลยแจ้งกำหนดเวลาชำระหนี้ให้จำเลยทราบถือได้แต่เพียงเป็นหลักฐานที่โจทก์เรียกให้จำเลยชำระหนี้ภายในเวลาที่โจทก์กำหนดไว้เท่านั้น. จะถือเป็นหลักฐานว่าโจทก์จำเลยตกลงกำหนดเวลาชำระหนี้แน่นอนแล้วหาได้ไม่.
เมื่อหนี้ไม่มีกำหนดเวลาชำระหนี้. การค้ำประกันก็มิใช่การค้ำประกันหนี้อันจะต้องชำระ ณ เวลามีกำหนดแน่นอน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 700. แม้ผู้ให้กู้จะผ่อนเวลาให้ลูกหนี้ ผู้ค้ำประกันก็หาหลุดพ้นความรับผิดไม่.
โจทก์มิได้ฟ้องเรียกร้องเอาดอกเบี้ย. แต่เมื่อฟังได้ว่าการกู้มีดอกเบี้ย ผู้กู้จึงต้องชำระดอกเบี้ยอยู่.และก่อนฟ้องโจทก์ได้รับชำระหนี้จากจำเลยด้วยสิ่งของเป็นเงิน 8,725 บาท. โจทก์จึงฟ้องเรียกให้จำเลยชำระเฉพาะต้นเงินกู้. ดังนี้ การที่ศาลจัดใช้เงิน 8,725 บาทที่โจทก์ได้รับชำระหนี้ก่อนฟ้องเป็นใช้ดอกเบี้ยเสียก่อน. ส่วนเหลือใช้เป็นการชำระต้นเงินกู้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 329. แล้วพิพากษาให้จำเลยรับผิดชำระต้นเงินกู้ที่ยังค้างให้โจทก์น้อยกว่าที่โจทก์ขอนั้น. ดังนี้หาเป็นการพิพากษาเกินคำขอไม่.
สัญญากู้มีข้อความว่า จำเลยยอมให้ดอกเบี้ยแก่โจทก์.แต่อัตราดอกเบี้ยมิได้กำหนดลงไว้จึงต้องใช้อัตราร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 7.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1056/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาผูกพันรับราชการ: การปลดออกจากราชการไม่ปลดจากพันธสัญญาค้ำประกัน
นักเรียนจ่าในสถานศึกษาของกองทัพเรือซึ่งทำสัญญาไว้ว่าเมื่อเรียนสำเร็จ จะต้องรับราชการในสังกัดกองทัพเรือไม่น้อยกว่า 5 ปี มิฉะนั้นต้องเสียค่าตอบแทน แม้การที่รับราชการไม่ครบ เป็นเพราะทางราชการสั่งปลด เนื่องจากกระทำผิดวินัยย่อมถือว่าผู้นั้นกระทำตนเองให้ไม่อาจรับราชการต่อไปได้ จึงต้องใช้ค่าตอบแทนตามสัญญา กรณีเช่นนี้ถือไม่ได้ว่ากองทัพเรือบอกเลิกสัญญาหรือบอกปัดการชำระหนี้ของลูกหนี้
เมื่อไม่ปรากฏว่าลูกหนี้ไปอยู่แห่งใดในพระราชอาณาเขต เจ้าหนี้ย่อมทวงให้ผู้ค้ำประกันชำระหนี้ได้
คดีฟ้องเรียกเงินค่าตอบแทนในการที่นักเรียนจ่ามิได้รับราชการให้ครบกำหนดตามสัญญา ไม่อยู่ในอายุความ 2 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(11), (12), (13)
กองทัพเรือมีหน้าที่เตรียมกำลังกองทัพเรือและป้องกันราชอาณาจักรการจัดตั้งสถานศึกษาฝึกคนเตรียมกำลังไว้ย่อมเป็นหน้าที่ การที่กองทัพเรือทำสัญญาผูกมัดบุคคลที่เข้าศึกษาอบรมให้รับราชการในสังกัดตามระยะเวลาที่กำหนด มิฉะนั้นต้องเสียค่าตอบแทน ทั้งนี้ เพื่อป้องกันความเสียหาย ย่อมอยู่ในอำนาจของกองทัพเรือ หาเป็นการนอกขอบเขตแห่งวัตถุที่ประสงค์ไม่
เมื่อไม่ปรากฏว่าลูกหนี้ไปอยู่แห่งใดในพระราชอาณาเขต เจ้าหนี้ย่อมทวงให้ผู้ค้ำประกันชำระหนี้ได้
คดีฟ้องเรียกเงินค่าตอบแทนในการที่นักเรียนจ่ามิได้รับราชการให้ครบกำหนดตามสัญญา ไม่อยู่ในอายุความ 2 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(11), (12), (13)
กองทัพเรือมีหน้าที่เตรียมกำลังกองทัพเรือและป้องกันราชอาณาจักรการจัดตั้งสถานศึกษาฝึกคนเตรียมกำลังไว้ย่อมเป็นหน้าที่ การที่กองทัพเรือทำสัญญาผูกมัดบุคคลที่เข้าศึกษาอบรมให้รับราชการในสังกัดตามระยะเวลาที่กำหนด มิฉะนั้นต้องเสียค่าตอบแทน ทั้งนี้ เพื่อป้องกันความเสียหาย ย่อมอยู่ในอำนาจของกองทัพเรือ หาเป็นการนอกขอบเขตแห่งวัตถุที่ประสงค์ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1056/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาจ้างรับราชการและการค้ำประกันสัญญา: ความรับผิดเมื่อถูกปลดออกเนื่องจากผิดวินัย
นักเรียนจ่าในสถานศึกษาของกองทัพเรือซึ่งทำสัญญาไว้ว่าเมื่อเรียนสำเร็จ จะต้องรับราชการในสังกัดกองทัพเรือไม่น้อยกว่า 5 ปี มิฉะนั้นต้องเสียค่าตอบแทน แม้การที่รับราชการไม่ครบ เป็นเพราะทางราชการสั่งปลด เนื่องจากกระทำผิดวินัยย่อมถือว่าผู้นั้นกระทำตนเองให้ไม่อาจรับราชการต่อไปได้ จึงต้องใช้ค่าตอบแทนตามสัญญา กรณีเช่นนี้ถือไม่ได้ว่ากองทัพเรือบอกเลิกสัญญาหรือบอกปัดการชำระหนี้ของลูกหนี้
เมื่อไม่ปรากฏว่าลูกหนี้ไปอยู่แห่งใดในพระราชอาณาเขตเจ้าหนี้ย่อมทวงให้ผู้ค้ำประกันชำระหนี้ได้
คดีฟ้องเรียกเงินค่าตอบแทนในการที่นักเรียนจ่ามิได้รับราชการให้ครบกำหนดตามสัญญา ไม่อยู่ในอายุความ 2 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(11),(12),(13)
กองทัพเรือมีหน้าที่เตรียมกำลังกองทัพเรือและป้องกันราชอาณาจักร การจัดตั้งสถานศึกษาฝึกคนเตรียมกำลังไว้ย่อมเป็นหน้าที่ การที่กองทัพเรือทำสัญญาผูกมัดบุคคลที่เข้าศึกษาอบรมให้รับราชการในสังกัดตามระยะเวลาที่กำหนด มิฉะนั้นต้องเสียค่าตอบแทน ทั้งนี้ เพื่อป้องกันความเสียหายย่อมอยู่ในอำนาจของกองทัพเรือ หาเป็นการนอกขอบเขตแห่งวัตถุที่ประสงค์ไม่
เมื่อไม่ปรากฏว่าลูกหนี้ไปอยู่แห่งใดในพระราชอาณาเขตเจ้าหนี้ย่อมทวงให้ผู้ค้ำประกันชำระหนี้ได้
คดีฟ้องเรียกเงินค่าตอบแทนในการที่นักเรียนจ่ามิได้รับราชการให้ครบกำหนดตามสัญญา ไม่อยู่ในอายุความ 2 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(11),(12),(13)
กองทัพเรือมีหน้าที่เตรียมกำลังกองทัพเรือและป้องกันราชอาณาจักร การจัดตั้งสถานศึกษาฝึกคนเตรียมกำลังไว้ย่อมเป็นหน้าที่ การที่กองทัพเรือทำสัญญาผูกมัดบุคคลที่เข้าศึกษาอบรมให้รับราชการในสังกัดตามระยะเวลาที่กำหนด มิฉะนั้นต้องเสียค่าตอบแทน ทั้งนี้ เพื่อป้องกันความเสียหายย่อมอยู่ในอำนาจของกองทัพเรือ หาเป็นการนอกขอบเขตแห่งวัตถุที่ประสงค์ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1157/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิกถอนการประนอมหนี้ส่งผลให้สัญญาค้ำประกันระงับ และจำเลยหลุดพ้นจากความรับผิดล้มละลาย
เมื่อศาลมีคำสั่งเพิกถอนการประนอมหนี้และพิพากษาให้ลูกหนี้เป็นบุคคลล้มละลายแล้ว หนี้ตามที่ลูกหนี้ขอประนอมและจำเลยเข้าทำสัญญาค้ำประกันก็เป็นอันระงับไป จำเลยในฐานะผู้ค้ำประกันหนี้ย่อมหลุดพ้นจากความรับผิดชอบตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 698
การใดที่ได้ทำไปแล้วตามข้อประนอมหนี้ ก่อนศาลมีคำสั่งเพิกถอนการประนอมหนี้ การนั้นย่อมมีผลสมบูรณ์แต่กิจการใดถ้าได้กระทำภายหลังวันที่ศาลมีคำสั่งเพิกถอนการประนอมหนี้ก็ดีหรือที่จะกระทำต่อไปภายหลังวันที่ศาลมีคำสั่งเพิกถอนการประนอมหนี้ก็ดี กิจการนั้นไม่มีผลผูกพันจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกัน เมื่อจำเลยในฐานะผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิดชอบดังกล่าวข้างต้นแล้วมูลหนี้ที่โจทก์อ้างเพื่อขอให้พิพากษาให้จำเลยเป็นบุคคลล้มละลายก็เป็นอันระงับไปตั้งแต่วันที่ศาลมีคำสั่งเพิกถอนการขอประนอมหนี้ของลูกหนี้ โจทก์จึงไม่มีสิทธิจะฟ้องขอให้พิพากษาให้จำเลยเป็นบุคคลล้มละลาย หากจำเลยถูกฟ้องล้มละลายเกี่ยวกับหนี้ที่ค้ำประกันนี้และร้องขอประนอมหนี้จนกระทั่งศาลมีคำสั่งเห็นชอบตามคำขอประนอมหนี้คำสั่งนั้นก็ไม่ผูกพันจำเลยแต่อย่างใด
การพิทักษ์ทรัพย์จำเลยเด็ดขาดเป็นเพียงวิธีการเพื่อให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีอำนาจจัดการทรัพย์ของลูกหนี้ (จำเลย)และดำเนินการตามพระราชบัญญัติล้มละลายก่อนที่ศาลจะพิพากษาให้ลูกหนี้เป็นบุคคลล้มละลายเท่านั้น มิได้ทำให้คดีเสร็จเด็ดขาดแต่อย่างใด เมื่อหนี้ที่โจทก์อ้างเป็นมูลฟ้องขอให้จำเลยเป็นบุคคลล้มละลายระงับไปแล้ว ศาลก็ชอบที่จะพิพากษายกฟ้องของโจทก์เสียได้
การใดที่ได้ทำไปแล้วตามข้อประนอมหนี้ ก่อนศาลมีคำสั่งเพิกถอนการประนอมหนี้ การนั้นย่อมมีผลสมบูรณ์แต่กิจการใดถ้าได้กระทำภายหลังวันที่ศาลมีคำสั่งเพิกถอนการประนอมหนี้ก็ดีหรือที่จะกระทำต่อไปภายหลังวันที่ศาลมีคำสั่งเพิกถอนการประนอมหนี้ก็ดี กิจการนั้นไม่มีผลผูกพันจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกัน เมื่อจำเลยในฐานะผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิดชอบดังกล่าวข้างต้นแล้วมูลหนี้ที่โจทก์อ้างเพื่อขอให้พิพากษาให้จำเลยเป็นบุคคลล้มละลายก็เป็นอันระงับไปตั้งแต่วันที่ศาลมีคำสั่งเพิกถอนการขอประนอมหนี้ของลูกหนี้ โจทก์จึงไม่มีสิทธิจะฟ้องขอให้พิพากษาให้จำเลยเป็นบุคคลล้มละลาย หากจำเลยถูกฟ้องล้มละลายเกี่ยวกับหนี้ที่ค้ำประกันนี้และร้องขอประนอมหนี้จนกระทั่งศาลมีคำสั่งเห็นชอบตามคำขอประนอมหนี้คำสั่งนั้นก็ไม่ผูกพันจำเลยแต่อย่างใด
การพิทักษ์ทรัพย์จำเลยเด็ดขาดเป็นเพียงวิธีการเพื่อให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีอำนาจจัดการทรัพย์ของลูกหนี้ (จำเลย)และดำเนินการตามพระราชบัญญัติล้มละลายก่อนที่ศาลจะพิพากษาให้ลูกหนี้เป็นบุคคลล้มละลายเท่านั้น มิได้ทำให้คดีเสร็จเด็ดขาดแต่อย่างใด เมื่อหนี้ที่โจทก์อ้างเป็นมูลฟ้องขอให้จำเลยเป็นบุคคลล้มละลายระงับไปแล้ว ศาลก็ชอบที่จะพิพากษายกฟ้องของโจทก์เสียได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 580/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาที่แท้จริง vs. เจตนาที่แสดงออก สัญญาค้ำประกัน และดอกเบี้ยทบต้น
จำเลยทำสัญญาเป็นผู้กู้ แม้ในใจจริงจะถือว่าทำแทนผู้อื่น และไม่มีเจตนาให้ถูกผูกพันก็ตาม ก็ต้องถูกผูกพันตามที่ได้แสดงเจตนาออกมา เว้นแต่คู่กรณีอีกฝ่ายจะได้รู้ถึงเจตนาอันซ่อนอยู่ในใจนั้น
แม้ผู้จัดการของนิติบุคคลโจทก์จะทราบความในใจดังกล่าวของจำเลยก็ตาม แต่เมื่อผู้จัดการนั้นกับจำเลยได้ตกลงกันไว้ว่า การกู้เงินครั้งนี้ก็เพื่อเอาเงินมาให้ผู้จัดการ และเมื่อกู้เงินได้แล้ว ผู้จัดการก็ได้รับเงินไปเป็นประโยชน์เฉพาะตัว ผู้จัดการก็ไม่มีอำนาจเป็นผู้แทนนิติบุคคลตาม ป.พ.พ.มาตรา 80 ความรู้ของผู้จัดการจึงถือเป็นความรู้ของนิติบุคคลด้วยไม่ได้
กู้เงินธนาคารเพื่อเอาไปปลูกบ้านโดยตรงไม่ใช่กรณีบัญชีเดินสะพัด เรียกดอกเบี้ยทบต้นไม่ได้.
แม้ผู้จัดการของนิติบุคคลโจทก์จะทราบความในใจดังกล่าวของจำเลยก็ตาม แต่เมื่อผู้จัดการนั้นกับจำเลยได้ตกลงกันไว้ว่า การกู้เงินครั้งนี้ก็เพื่อเอาเงินมาให้ผู้จัดการ และเมื่อกู้เงินได้แล้ว ผู้จัดการก็ได้รับเงินไปเป็นประโยชน์เฉพาะตัว ผู้จัดการก็ไม่มีอำนาจเป็นผู้แทนนิติบุคคลตาม ป.พ.พ.มาตรา 80 ความรู้ของผู้จัดการจึงถือเป็นความรู้ของนิติบุคคลด้วยไม่ได้
กู้เงินธนาคารเพื่อเอาไปปลูกบ้านโดยตรงไม่ใช่กรณีบัญชีเดินสะพัด เรียกดอกเบี้ยทบต้นไม่ได้.