พบผลลัพธ์ทั้งหมด 541 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 755/2502 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การมอบอำนาจในการร้องทุกข์อาญา: หลักเกณฑ์และข้อจำกัดของเอกสารมอบอำนาจที่ใช้ได้
ตามธรรมดาบุคคลย่อมตั้งตัวแทนทำแทนตนได้เสมอ เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นพิเศษทำนองว่า ให้ต้องกระทำด้วยตนเอง หรือตามสภาพไม่เปิดช่องให้มอบหมายจัดการแทนกันได้
เรื่องร้องทุกข์ตามที่บัญญัติไว้ใน ป.วิ.อ. มาตรา 3 และ 5 นั้น มิใช่หมายความว่า ห้ามขาดไม่ให้มีการมอบอำนาจกัน เป็นแต่บัญญัติให้บุคคลดังกล่าวในมาตรา 5 มีอำนาจกระทำกิจการที่บัญญัติไว้ใน มาตรา 3 โดยไม่ต้องมีการมอบอำนาจซึ่งกันและกัน ส่วนกิจการในมาตรา 3 กิจการใดจะมอบอำนาจกันได้หรือไม่ ต้องเป็นไปตามหลักธรรมดา สุดแต่ว่า กรณีใดมีกฎหมายห้าม หรือเป็นกรณีตามสภาพต้องกระทำเองหรือไม่ เรื่องร้องทุกข์ไม่มีกฎหมายบังคับว่า ต้องกระทำด้วยตนเอง และตามสภาพของการร้องทุกข์ก็เป็นเรื่องเปิดช่องให้จัดการแทนกันได้ การร้องทุกข์จึงมอบอำนาจให้ร้องแทนกันได้
หนังสือถึงพนักงานสอบสวน ซึ่งมีข้อความว่า "เนื่องด้วยธนาคารมีเรื่องบางอย่างที่ต้องแจ้งความต่อเจ้าพนักงานตำรวจแต่เนื่องจากข้าพเจ้า (กรรมการผู้จัดการนิติบุคคล) มีกิจจำเป็นไม่สามารถมาแจ้งความด้วยตนเองได้ โดยหนังสือฉบับนี้ ข้าพเจ้าขอมอบอำนาจให้นายสุรินทร์ เจ้าหน้าที่ของธนาคาร เป็นผู้แจ้งความแทนข้าพเจ้า และข้าพเจ้าขอรับรองผิดชอบในการที่นายสุรินทร์ปฏิบัติแทนข้าพเจ้า" และลงชื่อกรรมการผู้จัดการนิติบุคคลนั้น ถือว่า ไม่ใช่คำร้องทุกข์ โดยตนเองตามป.วิ.อ. มาตรา 123 จะว่าเป็นการมอบอำนาจให้ร้องทุกข์ก็ไม่ถนัด เพราะการแจ้งความนั้น อาจเป็นการร้องทุกข์ก็ได้ ไม่ใช่ก็ได้ และก็ไม่มีข้อความให้เห็นว่า ให้มาแจ้งความเรื่องอะไร อันจะพอวินิจฉัยได้ว่าเป็นการมอบให้มาร้องทุกข์ ถือไม่ได้ว่าเป็นเอกสารมอบอำนาจให้ร้องทุกข์
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 11/2502)
เรื่องร้องทุกข์ตามที่บัญญัติไว้ใน ป.วิ.อ. มาตรา 3 และ 5 นั้น มิใช่หมายความว่า ห้ามขาดไม่ให้มีการมอบอำนาจกัน เป็นแต่บัญญัติให้บุคคลดังกล่าวในมาตรา 5 มีอำนาจกระทำกิจการที่บัญญัติไว้ใน มาตรา 3 โดยไม่ต้องมีการมอบอำนาจซึ่งกันและกัน ส่วนกิจการในมาตรา 3 กิจการใดจะมอบอำนาจกันได้หรือไม่ ต้องเป็นไปตามหลักธรรมดา สุดแต่ว่า กรณีใดมีกฎหมายห้าม หรือเป็นกรณีตามสภาพต้องกระทำเองหรือไม่ เรื่องร้องทุกข์ไม่มีกฎหมายบังคับว่า ต้องกระทำด้วยตนเอง และตามสภาพของการร้องทุกข์ก็เป็นเรื่องเปิดช่องให้จัดการแทนกันได้ การร้องทุกข์จึงมอบอำนาจให้ร้องแทนกันได้
หนังสือถึงพนักงานสอบสวน ซึ่งมีข้อความว่า "เนื่องด้วยธนาคารมีเรื่องบางอย่างที่ต้องแจ้งความต่อเจ้าพนักงานตำรวจแต่เนื่องจากข้าพเจ้า (กรรมการผู้จัดการนิติบุคคล) มีกิจจำเป็นไม่สามารถมาแจ้งความด้วยตนเองได้ โดยหนังสือฉบับนี้ ข้าพเจ้าขอมอบอำนาจให้นายสุรินทร์ เจ้าหน้าที่ของธนาคาร เป็นผู้แจ้งความแทนข้าพเจ้า และข้าพเจ้าขอรับรองผิดชอบในการที่นายสุรินทร์ปฏิบัติแทนข้าพเจ้า" และลงชื่อกรรมการผู้จัดการนิติบุคคลนั้น ถือว่า ไม่ใช่คำร้องทุกข์ โดยตนเองตามป.วิ.อ. มาตรา 123 จะว่าเป็นการมอบอำนาจให้ร้องทุกข์ก็ไม่ถนัด เพราะการแจ้งความนั้น อาจเป็นการร้องทุกข์ก็ได้ ไม่ใช่ก็ได้ และก็ไม่มีข้อความให้เห็นว่า ให้มาแจ้งความเรื่องอะไร อันจะพอวินิจฉัยได้ว่าเป็นการมอบให้มาร้องทุกข์ ถือไม่ได้ว่าเป็นเอกสารมอบอำนาจให้ร้องทุกข์
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 11/2502)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 755/2502
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การมอบอำนาจร้องทุกข์: หลักเกณฑ์การมอบอำนาจให้ผู้อื่นร้องทุกข์แทน และข้อจำกัดของเอกสารมอบอำนาจ
ตามธรรมดาบุคคลย่อมตั้งตัวแทนทำแทนตนได้เสมอ เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นพิเศษทำนองว่า ให้ต้องกระทำด้วยตนเอง หรือตามสภาพไม่เปิดช่อง ให้มอบหมายจัดการแทนกันได้
เรื่องร้องทุกข์ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 3 และ 5 นั้น มิใช่หมายความว่า ห้ามขาดไม่ให้มีการมอบอำนาจกัน เป็นแต่บัญญัติให้บุคคลดังกล่าวในมาตรา 5มีอำนาจกระทำกิจการที่บัญญัติไว้ใน มาตรา 3 โดยไม่ต้องมีการมอบอำนาจซึ่งกันและกัน ส่วนกิจการในมาตรา 3 กิจการใดจะมอบอำนาจกันได้หรือไม่ ต้องเป็นไปตามหลักธรรมดา สุดแต่ว่า กรณีใดมีกฎหมายห้าม หรือเป็นกรณีตามสภาพต้องกระทำเองหรือไม่ เรื่องร้องทุกข์ไม่มีกฎหมายบังคับว่าต้องกระทำด้วยตนเอง และตามสภาพของการร้องทุกข์ก็เป็นเรื่องเปิดช่องให้จัดการแทนกันได้ การร้องทุกข์จึงมอบอำนาจให้ร้องแทนกันได้
หนังสือถึงพนักงานสอบสวน ซึ่งมีข้อความว่า "เนื่องด้วยธนาคารมีเรื่องบางอย่างที่ต้องแจ้งความต่อเจ้าพนักงานตำรวจแต่เนื่องจากข้าพเจ้า(กรรมการผู้จัดการนิติบุคคล) มีกิจจำเป็นไม่สามารถมาแจ้งความด้วยตนเองได้ โดยหนังสือฉบับนี้ข้าพเจ้าขอมอบอำนาจให้นายสุรินทร์เจ้าหน้าที่ของธนาคารเป็นผู้แจ้งความแทนข้าพเจ้า และข้าพเจ้าขอรับรองผิดชอบในการที่นายสุรินทร์ปฏิบัติแทนข้าพเจ้า" และลงชื่อกรรมการผู้จัดการนิติบุคคลนั้น ถือว่าไม่ใช่คำร้องทุกข์โดยตนเองตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 123 จะว่าเป็นการมอบอำนาจให้ร้องทุกข์ก็ไม่ถนัด เพราะการแจ้งความนั้น อาจเป็นการร้องทุกข์ก็ได้ ไม่ใช่ก็ได้ และก็ไม่มีข้อความให้เห็นว่าให้มาแจ้งความเรื่องอะไร อันจะพอวินิจฉัยได้ว่าเป็นการมอบให้มาร้องทุกข์ถือไม่ได้ว่าเป็นเอกสารมอบอำนาจให้ร้องทุกข์ (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 11/2502)
เรื่องร้องทุกข์ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 3 และ 5 นั้น มิใช่หมายความว่า ห้ามขาดไม่ให้มีการมอบอำนาจกัน เป็นแต่บัญญัติให้บุคคลดังกล่าวในมาตรา 5มีอำนาจกระทำกิจการที่บัญญัติไว้ใน มาตรา 3 โดยไม่ต้องมีการมอบอำนาจซึ่งกันและกัน ส่วนกิจการในมาตรา 3 กิจการใดจะมอบอำนาจกันได้หรือไม่ ต้องเป็นไปตามหลักธรรมดา สุดแต่ว่า กรณีใดมีกฎหมายห้าม หรือเป็นกรณีตามสภาพต้องกระทำเองหรือไม่ เรื่องร้องทุกข์ไม่มีกฎหมายบังคับว่าต้องกระทำด้วยตนเอง และตามสภาพของการร้องทุกข์ก็เป็นเรื่องเปิดช่องให้จัดการแทนกันได้ การร้องทุกข์จึงมอบอำนาจให้ร้องแทนกันได้
หนังสือถึงพนักงานสอบสวน ซึ่งมีข้อความว่า "เนื่องด้วยธนาคารมีเรื่องบางอย่างที่ต้องแจ้งความต่อเจ้าพนักงานตำรวจแต่เนื่องจากข้าพเจ้า(กรรมการผู้จัดการนิติบุคคล) มีกิจจำเป็นไม่สามารถมาแจ้งความด้วยตนเองได้ โดยหนังสือฉบับนี้ข้าพเจ้าขอมอบอำนาจให้นายสุรินทร์เจ้าหน้าที่ของธนาคารเป็นผู้แจ้งความแทนข้าพเจ้า และข้าพเจ้าขอรับรองผิดชอบในการที่นายสุรินทร์ปฏิบัติแทนข้าพเจ้า" และลงชื่อกรรมการผู้จัดการนิติบุคคลนั้น ถือว่าไม่ใช่คำร้องทุกข์โดยตนเองตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 123 จะว่าเป็นการมอบอำนาจให้ร้องทุกข์ก็ไม่ถนัด เพราะการแจ้งความนั้น อาจเป็นการร้องทุกข์ก็ได้ ไม่ใช่ก็ได้ และก็ไม่มีข้อความให้เห็นว่าให้มาแจ้งความเรื่องอะไร อันจะพอวินิจฉัยได้ว่าเป็นการมอบให้มาร้องทุกข์ถือไม่ได้ว่าเป็นเอกสารมอบอำนาจให้ร้องทุกข์ (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 11/2502)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 726/2502 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การอุทธรณ์โทษกักขัง: ข้อจำกัดการอุทธรณ์ปัญหาข้อเท็จจริงในคดีที่ศาลแขวงลงโทษกักขัง
ศาลแขวงลงโทษกักขังจำเลย 2 เดือน จำเลยจะอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริงไม่ได้
โทษกักขังไม่ใช่โทษจำคุก
โทษกักขังไม่ใช่โทษจำคุก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 726/2502
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การอุทธรณ์โทษกักขัง: ข้อจำกัดและข้อยกเว้นตาม พ.ร.บ.จัดตั้งศาลแขวง
ศาลแขวงลงโทษกักขังจำเลย 2 เดือนจำเลยจะอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริงไม่ได้
โทษกักขังไม่ใช่โทษจำคุก
โทษกักขังไม่ใช่โทษจำคุก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 617/2502
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการโอนสัญญาจะซื้อขายที่ดินกรณีผู้ซื้อเป็นชาวต่างชาติและติดข้อจำกัดทางกฎหมาย
สัญญาจะซื้อขายมีข้อความตอนหนึ่งว่า 'ฯลฯในการโอนนี้ผู้จะซื้อเป็นบุคคลต่างด้าวหากการโอนขัดข้องผู้จะขายยอมให้ผู้จะซื้อหาผู้รับโอนคนอื่นมารับโอนได้ โดยผู้จะขายต้องโอนให้ไม่ถือว่าผิดสัญญาและให้ถือว่าผู้ที่จะมารับโอนเท่ากับคู่สัญญานี้' ย่อมแสดงถึงเจตนาอันแท้จริงของแต่ละฝ่ายว่าไม่ประสงค์จะเลิกสัญญากัน จึงเป็นสัญญาต่างตอบแทนผูกพันคู่กรณี โจทก์ที่ 1 มีสิทธิที่จะโอนการจะซื้อขายที่ดินรายนี้ให้แก่โจทก์ที่ 2 ได้ตามข้อความในสัญญาดังกล่าว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1474/2500
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อจำกัดการอุทธรณ์ในคดีมโนสาเร่: ศาลอุทธรณ์ต้องยึดข้อเท็จจริงจากศาลชั้นต้น
คดีมโนสาเร่ที่ศาลชั้นต้นฟังข้อเท็จจริงว่าจำเลยได้เช่าเรือนพิพาทอยู่อาศัยมาจากเจ้าของเดิมตั้งแต่ก่อนที่จะตกมาเป็นของโจทก์ และฟังว่าฝ่ายโจทก์ไม่มีหลักฐานเพียงพอที่จะแสดงว่าจำเลยได้อาศัยอยู่ในเรือนพิพาท จำเลยจึงต้องเป็นฝ่ายที่ชนะคดีตามที่ท้ากันไว้นั้น แต่ศาลอุทธรณ์กลับฟังว่าจำเลยไม่ได้เช่าจากเจ้าของเดิมคนสุดท้ายที่โอนให้แก่โจทก์ จึงพิพากษากลับให้ขับไล่จำเลยและบริวารเสียนั้น เมื่อศาลอุทธรณ์ฟังข้อเท็จจริงคลาดเคลื่อนจากคำวินิจฉัยของศาลชั้นต้นเช่นนี้ คำพิพากษาของศาลอุทธรณ์ก็ไม่ชอบด้วยกฎหมาย เพราะคดีมโนสาเร่คู่ความจะอุทธรณ์ได้แต่เฉพาะปัญหาข้อกฎหมายเท่านั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 577/2499 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อจำกัดในการฟ้องเรียกค่าเสียหายทางแพ่ง เมื่อศาลอาญาวินิจฉัยว่าทรัพย์สินเป็นของจำเลย
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยบุกรุกและทำลายทรัพย์ให้เสียหายรวมเป็นเงิน 2400 บาท ขอให้ลงโทษและเรียกค่าเสียหาย เมื่อศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ฟังว่าที่พิพาทเป็นของฝ่ายจำเลย พิพากษาฟ้องว่าดังนี้แม้โจทก์จะฎีกาเฉพาะที่เกี่ยวกับส่วนแพ่งอ้างว่าทุนทรัพย์ของโจทก์ที่เรียกร้องมีถึง 2400 บาทก็ตามคดีของ โจทก์ในส่วนแพ่งก็ไม่มีทางชนะได้เพราะในการพิพากษาคดีส่วนแพ่งศาลจำต้องถือข้อเท็จจริงตามที่ปรากฏในคำพิพากษาคดีส่วนอาญาตาม ม.46.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1144/2499
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คดีมโนสาเร่และการอุทธรณ์ข้อเท็จจริง: ข้อจำกัดตามกฎหมายและข้อยกเว้น
คดีฟ้องขับไล่ออกจากห้องเช่าเดือนละ 12 บาทเป็นคดีมโนสาเร่อันต้องห้ามอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริงตามมาตรา 224 เมื่อฟ้องอุทธรณ์ส่วนมากเป็นข้อเท็จจริง และศาลชั้นต้นสั่ง " รับอุทธรณ์" เฉยๆ ไม่มีข้อความแสดงว่ารับรองว่าให้อุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริงด้วย กรณีก็ไม่ต้องด้วยข้อยกเว้น ศาลอุทธรณ์หาจำต้องรับวินิจฉัยให้ไม่
อันว่าสิทธิรับรองให้ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตาม มาตรา 248นั้นต้องเป็นข้อที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยแล้ว คดีนี้ข้อเท็จจริงต้องห้ามมาแต่ชั้นอุทธรณ์แล้วจะกลับมารับรองเพื่อรื้อฟื้นให้ศาลฎีกาวินิจฉัยใหม่หาได้ไม่
การใช้ห้องเช่าทำเป็นร้านดัดผมเป็นการใช้เพื่อทำการค้าหาใช่เคหะอันจะได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯ ไม่
อันว่าสิทธิรับรองให้ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตาม มาตรา 248นั้นต้องเป็นข้อที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยแล้ว คดีนี้ข้อเท็จจริงต้องห้ามมาแต่ชั้นอุทธรณ์แล้วจะกลับมารับรองเพื่อรื้อฟื้นให้ศาลฎีกาวินิจฉัยใหม่หาได้ไม่
การใช้ห้องเช่าทำเป็นร้านดัดผมเป็นการใช้เพื่อทำการค้าหาใช่เคหะอันจะได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯ ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 728/2498
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อจำกัดสิทธิฎีกาในคดีอาญา: การฎีกาคัดค้านข้อเท็จจริงหลังศาลอุทธรณ์ยืนตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น
เมื่อจำเลยต้องโทษจำคุกสองกระทงๆ หนึ่ง 5 ปี อีกกระทงหนึ่ง 1 ปีซึ่งแต่ละกระทงไม่เกิน 5 ปีศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามโดยศาลชั้นต้นแล้วจำเลยฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 223/2497 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการรับรางวัลสลากแม้สลากสูญหาย เจ้าของสลากยังมีสิทธิรับเงินรางวัลได้ แม้มีข้อความจำกัด
สลากกินแบ่งฉบับที่ถูกรางวัลนั้นแม้สลากจะศูนย์หายไปเสีย เจ้าของที่แท้จริงก็ยังมีสิทธิขอรับรางวัลจากสำนักงานสลากกินแบ่งได้ แม้ในสลากจะมีข้อความว่า " เงินรางวัลจะจ่ายแก่ผู้ถือสลากฉบับที่ถูกรางวัลนำมาขอรับ " ก็ตาม