พบผลลัพธ์ทั้งหมด 616 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1537/2514
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิผู้ถือหุ้น/กรรมการร้องสอดคดีเพิกถอนมติที่ประชุมใหญ่ แม้จำเลยขาดนัด
การร้องต่อศาลขอให้เพิกถอนมติของที่ประชุมใหญ่อันผิดระเบียบตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1195 นั้น อาจทำเป็นคำร้องขออย่างคดีไม่มีข้อพิพาทก็ได้ ไม่จำเป็นต้องฟ้องร้องเป็นคดีมีข้อพิพาท
หากมีการดำเนินคดีอย่างคดีไม่มีข้อพิพาท กรรมการหรือผู้ถือหุ้นคนหนึ่งคนใดหรือทั้งหมด ซึ่งมีส่วนได้เสียในผลของการประชุมใหญ่นั้นย่อมมีสิทธิร้องคัดค้านเข้ามาเกี่ยวข้องในคดีได้ หาใช่มีสิทธิเฉพาะบริษัทซึ่งมีการประชุมใหญ่เท่านั้นไม่
เมื่อโจทก์มิได้เริ่มต้นคดีด้วยการร้องขออย่างคดีไม่มีข้อพิพาทแต่กลับฟ้องบริษัทเป็นจำเลย ทางที่ผู้มีส่วนได้เสียจะเข้ามาเกี่ยวข้องในคดีได้จึงจำเป็นที่จะต้องเข้ามาด้วยการร้องสอด
ผู้ร้องสอดเป็นผู้ที่ได้รับเลือกตั้งให้เป็นกรรมการบริษัทจำเลยตามมติของที่ประชุมใหญ่ซึ่งโจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนย่อมเป็นผู้มีส่วนได้เสียที่จะเข้ามาในคดีเพื่อขอความรับรองคุ้มครองบังคับตามสิทธิของตนได้โดยการร้องสอดเข้ามาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57(1) บริษัทจำเลยจะต่อสู้คดีหรือยอมรับตามคำฟ้องหรือขาดนัดไม่ต่อสู้คดีประการใด ก็หาเป็นการตัดสิทธิผู้ร้องสอดไม่
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 58 ผู้ร้องสอดตามมาตรา 57(2) ไม่อาจใช้สิทธิอย่างอื่นนอกจากสิทธิที่จำเลยมีอยู่ในกรณีที่จำเลยขาดนัดยื่นคำให้การผู้ร้องสอดจะร้องสอดเข้ามาเพื่อเป็นจำเลยร่วมหรือแทนที่จำเลยตามมาตรา 57(2) ย่อมหาประโยชน์มิได้เพราะไม่มีสิทธิในการต่อสู้คดีเช่นเดียวกับจำเลยซึ่งขาดนัด
หากมีการดำเนินคดีอย่างคดีไม่มีข้อพิพาท กรรมการหรือผู้ถือหุ้นคนหนึ่งคนใดหรือทั้งหมด ซึ่งมีส่วนได้เสียในผลของการประชุมใหญ่นั้นย่อมมีสิทธิร้องคัดค้านเข้ามาเกี่ยวข้องในคดีได้ หาใช่มีสิทธิเฉพาะบริษัทซึ่งมีการประชุมใหญ่เท่านั้นไม่
เมื่อโจทก์มิได้เริ่มต้นคดีด้วยการร้องขออย่างคดีไม่มีข้อพิพาทแต่กลับฟ้องบริษัทเป็นจำเลย ทางที่ผู้มีส่วนได้เสียจะเข้ามาเกี่ยวข้องในคดีได้จึงจำเป็นที่จะต้องเข้ามาด้วยการร้องสอด
ผู้ร้องสอดเป็นผู้ที่ได้รับเลือกตั้งให้เป็นกรรมการบริษัทจำเลยตามมติของที่ประชุมใหญ่ซึ่งโจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนย่อมเป็นผู้มีส่วนได้เสียที่จะเข้ามาในคดีเพื่อขอความรับรองคุ้มครองบังคับตามสิทธิของตนได้โดยการร้องสอดเข้ามาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57(1) บริษัทจำเลยจะต่อสู้คดีหรือยอมรับตามคำฟ้องหรือขาดนัดไม่ต่อสู้คดีประการใด ก็หาเป็นการตัดสิทธิผู้ร้องสอดไม่
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 58 ผู้ร้องสอดตามมาตรา 57(2) ไม่อาจใช้สิทธิอย่างอื่นนอกจากสิทธิที่จำเลยมีอยู่ในกรณีที่จำเลยขาดนัดยื่นคำให้การผู้ร้องสอดจะร้องสอดเข้ามาเพื่อเป็นจำเลยร่วมหรือแทนที่จำเลยตามมาตรา 57(2) ย่อมหาประโยชน์มิได้เพราะไม่มีสิทธิในการต่อสู้คดีเช่นเดียวกับจำเลยซึ่งขาดนัด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 534/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขาดนัดยื่นคำให้การและสิทธิอุทธรณ์: คำสั่งระหว่างพิจารณาที่มิได้โต้แย้งย่อมถึงที่สุด
ศาลได้มีคำสั่งว่าจำเลยขาดนัดยื่นคำให้การแล้ว จำเลยยื่นคำร้องขออนุญาตยื่นคำให้การ ศาลไต่สวนแล้วสั่งไม่อนุญาต จำเลยมิได้โต้แย้งคัดค้านคำสั่งนี้ ทั้ง ๆ ที่จำเลยมีโอกาสจะโต้แย้งได้ จำเลยย่อมหมดสิทธิที่จะอุทธรณ์ขอยื่นคำให้การอีก เพราะคำสั่งนี้เป็นคำสั่งระหว่างพิจารณา
เมื่อศาลอุทธรณ์มีคำสั่งยืนคำสั่งปฏิเสธไม่รับอุทธรณ์ของศาลชั้นต้นแล้วคำสั่งของศาลอุทธรณ์ย่อมถึงที่สุด
เมื่อศาลอุทธรณ์มีคำสั่งยืนคำสั่งปฏิเสธไม่รับอุทธรณ์ของศาลชั้นต้นแล้วคำสั่งของศาลอุทธรณ์ย่อมถึงที่สุด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 534/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขาดนัดยื่นคำให้การและการหมดสิทธิอุทธรณ์ กรณีจำเลยไม่โต้แย้งคำสั่งศาลระหว่างพิจารณา
ศาลได้มีคำสั่งว่าจำเลยขาดนัดยื่นคำให้การแล้ว จำเลยยื่นคำร้องขออนุญาตยื่นคำให้การ ศาลไต่สวนแล้วสั่งไม่อนุญาต จำเลยมิได้โต้แย้งคัดค้านคำสั่งนี้ ทั้ง ๆ ที่จำเลยมีโอกาสจะโต้แย้งได้ จำเลยย่อมหมดสิทธิที่จะอุทธรณ์ขอยื่นคำให้การอีก เพราะคำสั่งนี้เป็นคำสั่งระหว่างพิจารณา
เมื่อศาลอุทธรณ์มีคำสั่งยืนคำสั่งปฏิเสธไม่รับอุทธรณ์ของศาลชั้นต้นแล้วคำสั่งของศาลอุทธรณ์ย่อมถึงที่สุด
เมื่อศาลอุทธรณ์มีคำสั่งยืนคำสั่งปฏิเสธไม่รับอุทธรณ์ของศาลชั้นต้นแล้วคำสั่งของศาลอุทธรณ์ย่อมถึงที่สุด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 74/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขาดนัดพิจารณาคดีล้มละลายและการจำหน่ายคดีออกจากสารบบความ สิทธิในการร้องคัดค้านคำสั่งเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
ผู้ร้องยื่นคำร้องคัดค้านต่อศาลในกรณีที่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีคำสั่งให้ผู้ร้องชำระเงินที่ผู้ร้องเป็นลูกหนี้จำเลยผู้ล้มละลาย ฉะนั้น การที่ผู้ร้องและทนายตลอดจนพยานไม่มาศาลตามวันเวลาที่นัดไต่สวน โดยมิได้ขอเลื่อนหรือแจ้งเหตุให้ศาลทราบ ถือได้ว่าเป็นการขาดนัด และในกรณีเช่นนี้ เมื่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไม่ติดใจดำเนินคดีต่อไป ศาลก็ต้องสั่งจำหน่ายคดีเสียจากสารบบความ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 201 ผู้ร้องมีทางดำเนินคดีต่อไปได้เพียงประการเดียว คือการร้องเริ่มต้นคดีใหม่ ซึ่งจะต้องอยู่ในบังคับแพ่งอายุความหรือระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดไว้ ดังนั้น การที่ผู้ร้องยื่นคำร้องขอให้ไต่สวนใหม่เกินกำหนดเวลา 14 วันนับจากที่ผู้ร้องทราบคำสั่งของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ให้ชำระหนี้ จึงเป็นการไม่ชอบด้วยพระราชบัญญัติล้มละลาย
ในกรณีที่ผู้ร้องขาดนัดพิจารณา และศาลสั่งให้จำหน่ายคดีของผู้ร้องไปนั้น ถือได้ว่าเป็นการละทิ้งคดี จึงไม่เป็ฯเหตุให้กำหนดระยะเวลาที่ผู้ร้องจะยื่นคำร้องคัดค้านคำสั่งของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์สะดุดหยุดลง
ในกรณีที่ผู้ร้องขาดนัดพิจารณา และศาลสั่งให้จำหน่ายคดีของผู้ร้องไปนั้น ถือได้ว่าเป็นการละทิ้งคดี จึงไม่เป็ฯเหตุให้กำหนดระยะเวลาที่ผู้ร้องจะยื่นคำร้องคัดค้านคำสั่งของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์สะดุดหยุดลง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 74/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขาดนัดพิจารณาคดีล้มละลาย ศาลจำหน่ายคดี และผลของการละทิ้งคดีต่อการคัดค้านคำสั่งเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
ผู้ร้องยื่นคำร้องคัดค้านต่อศาลในกรณีที่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีคำสั่งให้ผู้ร้องชำระเงินที่ผู้ร้องเป็นลูกหนี้จำเลยผู้ล้มละลายฉะนั้น การที่ผู้ร้องและทนายตลอดจนพยานไม่มาศาลตามวันเวลาที่นัดไต่สวน โดยมิได้ขอเลื่อนหรือแจ้งเหตุให้ศาลทราบถือได้ว่าเป็นการขาดนัดและในกรณีเช่นนี้ เมื่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไม่ติดใจดำเนินคดีต่อไปศาลก็ต้องสั่งจำหน่ายคดีเสียจากสารบบความ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 201 ผู้ร้องมีทางดำเนินคดีต่อไปได้เพียงประการเดียว คือการร้องเริ่มต้นคดีใหม่ ซึ่งจะต้องอยู่ในบังคับแห่งอายุความหรือระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดไว้ ดังนั้น การที่ผู้ร้องยื่นคำร้องขอให้ไต่สวนใหม่เกินกำหนดเวลา 14 วันนับจากที่ผู้ร้องทราบคำสั่งของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ให้ชำระหนี้
จึงเป็นการไม่ชอบด้วยพระราชบัญญัติล้มละลาย
ในกรณีที่ผู้ร้องขาดนัดพิจารณา และศาลสั่งให้จำหน่ายคดีของผู้ร้องไปนั้น ถือได้ว่าเป็นการละทิ้งคดี จึงไม่เป็นเหตุให้กำหนดระยะเวลาที่ผู้ร้องจะยื่นคำร้องคัดค้านคำสั่งของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์สะดุดหยุดลง
จึงเป็นการไม่ชอบด้วยพระราชบัญญัติล้มละลาย
ในกรณีที่ผู้ร้องขาดนัดพิจารณา และศาลสั่งให้จำหน่ายคดีของผู้ร้องไปนั้น ถือได้ว่าเป็นการละทิ้งคดี จึงไม่เป็นเหตุให้กำหนดระยะเวลาที่ผู้ร้องจะยื่นคำร้องคัดค้านคำสั่งของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์สะดุดหยุดลง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 74/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขาดนัดพิจารณาคดีล้มละลาย และผลกระทบต่อการคัดค้านคำสั่งเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
ผู้ร้องยื่นคำร้องคัดค้านต่อศาลในกรณีที่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีคำสั่งให้ผู้ร้องชำระเงินที่ผู้ร้องเป็นลูกหนี้จำเลยผู้ล้มละลาย. ฉะนั้น การที่ผู้ร้องและทนายตลอดจนพยานไม่มาศาลตามวันเวลาที่นัดไต่สวน โดยมิได้ขอเลื่อนหรือแจ้งเหตุให้ศาลทราบ. ถือได้ว่าเป็นการขาดนัด. และในกรณีเช่นนี้ เมื่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไม่ติดใจดำเนินคดีต่อไป. ศาลก็ต้องสั่งจำหน่ายคดีเสียจากสารบบความ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 201.ผู้ร้องมีทางดำเนินคดีต่อไปได้เพียงประการเดียว คือการร้องเริ่มต้นคดีใหม่ ซึ่งจะต้องอยู่ในบังคับแห่งอายุความหรือระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดไว้. ดังนั้น การที่ผู้ร้องยื่นคำร้องขอให้ไต่สวนใหม่เกินกำหนดเวลา 14 วันนับจากที่ผู้ร้องทราบคำสั่งของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ให้ชำระหนี้. จึงเป็นการไม่ชอบด้วยพระราชบัญญัติล้มละลาย.
ในกรณีที่ผู้ร้องขาดนัดพิจารณา และศาลสั่งให้จำหน่ายคดีของผู้ร้องไปนั้น. ถือได้ว่าเป็นการละทิ้งคดี. จึงไม่เป็นเหตุให้กำหนดระยะเวลาที่ผู้ร้องจะยื่นคำร้องคัดค้านคำสั่งของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์สะดุดหยุดลง.
ในกรณีที่ผู้ร้องขาดนัดพิจารณา และศาลสั่งให้จำหน่ายคดีของผู้ร้องไปนั้น. ถือได้ว่าเป็นการละทิ้งคดี. จึงไม่เป็นเหตุให้กำหนดระยะเวลาที่ผู้ร้องจะยื่นคำร้องคัดค้านคำสั่งของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์สะดุดหยุดลง.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 960/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขาดนัดฟ้องคดีเนื่องจากจำเลยอยู่ในต่างประเทศ และพฤติการณ์นอกเหนือความสามารถในการบังคับได้
จำเลยไปอยู่ที่ประเทศอินเดียก่อนโจทก์ฟ้อง โจทก์นำเจ้าพนักงานศาลไปส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องแก่จำเลยที่บ้านโจทก์ซึ่งเป็นสำนักทำการห้างหุ้นส่วนระหว่างโจทก์จำเลย และคนของโจทก์เป็นผู้รับหมายไว้แทน ตลอดจนมีการปิดหมายนัดพิจารณาที่บ้านดังกล่าว ยังไม่พอฟังว่าจำเลยได้ทราบฟ้องและการพิจารณาของศาล
คำขอให้พิจารณาใหม่ของจำเลยกล่าวว่า จำเลยไปอยู่ที่ประเทศอินเดียยังมิได้กลับประเทศไทย จึงไม่ทราบการถูกฟ้องและการพิจารณาของศาล ถือว่าได้กล่าวถึงเหตุที่ขาดนัดโดยละเอียดชัดแจ้งแล้ว
คำขอให้พิจารณาใหม่ของจำเลยกล่าวว่าตามคำให้การที่จำเลยยื่นควรชนะโจทก์ได้ เพราะความจริงเป็นเรื่องโจทก์จำเลยเข้าหุ้นส่วนกันยังไม่เลิก โจทก์ไม่มีสิทธิเรียกเงินค่าหุ้นคืน ถือว่าได้กล่าวถึงข้อคัดค้านคำตัดสินชี้ขาดของศาลแล้ว
พฤติการณ์ที่จำเลยไปอยู่ที่ประเทศอินเดียก่อนโจทก์ฟ้องจนถึงวันที่ผู้รับมอบอำนาจจากจำเลยมายื่นคำขอให้พิจารณาใหม่จำเลยก็ยังมิได้กลับ เมื่อจำเลยทราบว่าถูกฟ้อง ก็ทำใบมอบอำนาจต่อกงสุลใหญ่ ณ เมืองกัลกัตตา ให้ผู้รับมอบอำนาจมายื่นคำขอให้พิจารณาใหม่ ถือได้ว่ากรณีมีพฤติการณ์นอกเหนือไม่อาจบังคับได้ (อ้างฎีกาที่ 42/2506)
คำขอให้พิจารณาใหม่ของจำเลยกล่าวว่า จำเลยไปอยู่ที่ประเทศอินเดียยังมิได้กลับประเทศไทย จึงไม่ทราบการถูกฟ้องและการพิจารณาของศาล ถือว่าได้กล่าวถึงเหตุที่ขาดนัดโดยละเอียดชัดแจ้งแล้ว
คำขอให้พิจารณาใหม่ของจำเลยกล่าวว่าตามคำให้การที่จำเลยยื่นควรชนะโจทก์ได้ เพราะความจริงเป็นเรื่องโจทก์จำเลยเข้าหุ้นส่วนกันยังไม่เลิก โจทก์ไม่มีสิทธิเรียกเงินค่าหุ้นคืน ถือว่าได้กล่าวถึงข้อคัดค้านคำตัดสินชี้ขาดของศาลแล้ว
พฤติการณ์ที่จำเลยไปอยู่ที่ประเทศอินเดียก่อนโจทก์ฟ้องจนถึงวันที่ผู้รับมอบอำนาจจากจำเลยมายื่นคำขอให้พิจารณาใหม่จำเลยก็ยังมิได้กลับ เมื่อจำเลยทราบว่าถูกฟ้อง ก็ทำใบมอบอำนาจต่อกงสุลใหญ่ ณ เมืองกัลกัตตา ให้ผู้รับมอบอำนาจมายื่นคำขอให้พิจารณาใหม่ ถือได้ว่ากรณีมีพฤติการณ์นอกเหนือไม่อาจบังคับได้ (อ้างฎีกาที่ 42/2506)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 960/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขาดนัดฟ้องคดีและการพิจารณาใหม่: พฤติการณ์นอกเหนือไม่อาจบังคับได้เนื่องจากจำเลยอยู่ในต่างประเทศ
จำเลยไปอยู่ที่ประเทศอินเดียก่อนโจทก์ฟ้อง โจทก์นำเจ้าพนักงานศาลไปส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องแก่จำเลยที่บ้านโจทก์ซึ่งเป็นสำนักทำการห้างหุ้นส่วนระหว่างโจทก์จำเลย และคนของโจทก์เป็นผู้รับหมายไว้แทน ตลอดจนมีการปิดหมายนัดพิจารณาที่บ้านดังกล่าวยังไม่พอฟังว่าจำเลยได้ทราบฟ้องและการพิจารณาของศาล
คำขอให้พิจารณาใหม่ของจำเลยกล่าวว่า จำเลยไปอยู่ที่ประเทศอินเดียยังมิได้กลับประเทศไทยจึงไม่ทราบการถูกฟ้องและการพิจารณาของศาลถือว่าได้กล่าวถึงเหตุที่ขาดนัดโดยละเอียดชัดแจ้งแล้ว
คำขอให้พิจารณาใหม่ของจำเลยกล่าวว่าตามคำให้การที่จำเลยยื่นควรชนะโจทก์ได้ เพราะความจริงเป็นเรื่องโจทก์จำเลยเข้าหุ้นส่วนกันยังไม่เลิก โจทก์ไม่มีสิทธิเรียกเงินค่าหุ้นคืนถือว่าได้กล่าวถึงข้อคัดค้านคำตัดสินชี้ขาดของศาลแล้ว
พฤติการณ์ที่จำเลยไปอยู่ที่ประเทศอินเดียก่อนโจทก์ฟ้องจนถึงวันที่ผู้รับมอบอำนาจจากจำเลยมายื่นคำขอให้พิจารณาใหม่จำเลยก็ยังมิได้กลับเมื่อจำเลยทราบว่าถูกฟ้อง ก็ทำใบมอบอำนาจต่อกงสุลใหญ่ ณเมืองกัลกัตตา ให้ผู้รับมอบอำนาจมายื่นคำขอให้พิจารณาใหม่ถือได้ว่ากรณีมีพฤติการณ์นอกเหนือไม่อาจบังคับได้ (อ้างฎีกาที่ 42/2506)
คำขอให้พิจารณาใหม่ของจำเลยกล่าวว่า จำเลยไปอยู่ที่ประเทศอินเดียยังมิได้กลับประเทศไทยจึงไม่ทราบการถูกฟ้องและการพิจารณาของศาลถือว่าได้กล่าวถึงเหตุที่ขาดนัดโดยละเอียดชัดแจ้งแล้ว
คำขอให้พิจารณาใหม่ของจำเลยกล่าวว่าตามคำให้การที่จำเลยยื่นควรชนะโจทก์ได้ เพราะความจริงเป็นเรื่องโจทก์จำเลยเข้าหุ้นส่วนกันยังไม่เลิก โจทก์ไม่มีสิทธิเรียกเงินค่าหุ้นคืนถือว่าได้กล่าวถึงข้อคัดค้านคำตัดสินชี้ขาดของศาลแล้ว
พฤติการณ์ที่จำเลยไปอยู่ที่ประเทศอินเดียก่อนโจทก์ฟ้องจนถึงวันที่ผู้รับมอบอำนาจจากจำเลยมายื่นคำขอให้พิจารณาใหม่จำเลยก็ยังมิได้กลับเมื่อจำเลยทราบว่าถูกฟ้อง ก็ทำใบมอบอำนาจต่อกงสุลใหญ่ ณเมืองกัลกัตตา ให้ผู้รับมอบอำนาจมายื่นคำขอให้พิจารณาใหม่ถือได้ว่ากรณีมีพฤติการณ์นอกเหนือไม่อาจบังคับได้ (อ้างฎีกาที่ 42/2506)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 960/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขาดนัดพิจารณาคดีเนื่องจากจำเลยอยู่ในต่างประเทศ และการพิจารณาเหตุสุดวิสัยในการยื่นคำขอพิจารณาใหม่
จำเลยไปอยู่ที่ประเทศอินเดียก่อนโจทก์ฟ้อง. โจทก์นำเจ้าพนักงานศาลไปส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องแก่จำเลยที่บ้านโจทก์ซึ่งเป็นสำนักทำการห้างหุ้นส่วนระหว่างโจทก์จำเลย. และคนของโจทก์เป็นผู้รับหมายไว้แทน ตลอดจนมีการปิดหมายนัดพิจารณาที่บ้านดังกล่าว. ยังไม่พอฟังว่าจำเลยได้ทราบฟ้องและการพิจารณาของศาล.
คำขอให้พิจารณาใหม่ของจำเลยกล่าวว่า จำเลยไปอยู่ที่ประเทศอินเดียยังมิได้กลับประเทศไทย. จึงไม่ทราบการถูกฟ้องและการพิจารณาของศาล. ถือว่าได้กล่าวถึงเหตุที่ขาดนัดโดยละเอียดชัดแจ้งแล้ว.
คำขอให้พิจารณาใหม่ของจำเลยกล่าวว่าตามคำให้การที่จำเลยยื่นควรชนะโจทก์ได้ เพราะความจริงเป็นเรื่องโจทก์จำเลยเข้าหุ้นส่วนกันยังไม่เลิก. โจทก์ไม่มีสิทธิเรียกเงินค่าหุ้นคืน. ถือว่าได้กล่าวถึงข้อคัดค้านคำตัดสินชี้ขาดของศาลแล้ว.
พฤติการณ์ที่จำเลยไปอยู่ที่ประเทศอินเดียก่อนโจทก์ฟ้องจนถึงวันที่ผู้รับมอบอำนาจจากจำเลยมายื่นคำขอให้พิจารณาใหม่จำเลยก็ยังมิได้กลับ. เมื่อจำเลยทราบว่าถูกฟ้อง ก็ทำใบมอบอำนาจต่อกงสุลใหญ่ ณ เมืองกัลกัตตา ให้ผู้รับมอบอำนาจมายื่นคำขอให้พิจารณาใหม่. ถือได้ว่ากรณีมีพฤติการณ์นอกเหนือไม่อาจบังคับได้.(อ้างฎีกาที่ 42/2506).
คำขอให้พิจารณาใหม่ของจำเลยกล่าวว่า จำเลยไปอยู่ที่ประเทศอินเดียยังมิได้กลับประเทศไทย. จึงไม่ทราบการถูกฟ้องและการพิจารณาของศาล. ถือว่าได้กล่าวถึงเหตุที่ขาดนัดโดยละเอียดชัดแจ้งแล้ว.
คำขอให้พิจารณาใหม่ของจำเลยกล่าวว่าตามคำให้การที่จำเลยยื่นควรชนะโจทก์ได้ เพราะความจริงเป็นเรื่องโจทก์จำเลยเข้าหุ้นส่วนกันยังไม่เลิก. โจทก์ไม่มีสิทธิเรียกเงินค่าหุ้นคืน. ถือว่าได้กล่าวถึงข้อคัดค้านคำตัดสินชี้ขาดของศาลแล้ว.
พฤติการณ์ที่จำเลยไปอยู่ที่ประเทศอินเดียก่อนโจทก์ฟ้องจนถึงวันที่ผู้รับมอบอำนาจจากจำเลยมายื่นคำขอให้พิจารณาใหม่จำเลยก็ยังมิได้กลับ. เมื่อจำเลยทราบว่าถูกฟ้อง ก็ทำใบมอบอำนาจต่อกงสุลใหญ่ ณ เมืองกัลกัตตา ให้ผู้รับมอบอำนาจมายื่นคำขอให้พิจารณาใหม่. ถือได้ว่ากรณีมีพฤติการณ์นอกเหนือไม่อาจบังคับได้.(อ้างฎีกาที่ 42/2506).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 743/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำพิพากษาถึงที่สุดหลังขาดนัดสืบพยาน โจทก์ขอพิจารณาคดีใหม่ไม่ได้
เมื่อศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่าโจทก์ไม่มีพยานมาสืบ และว่าโจทก์ไม่สามารถพิสูจน์ความผิดของจำเลยตามฟ้องได้จึงพิพากษายกฟ้องโจทก์โจทก์มิได้อุทธรณ์คัดค้านคำพิพากษาศาลชั้นต้น คำพิพากษาศาลชั้นต้นจึงเป็นอันยุติ ต่อมาเมื่อศาลชั้นต้นพิพากษาแล้ว โจทก์กลับยื่นคำร้องขอให้มีการพิจารณาคดีใหม่ ศาลจะยกขึ้นพิจารณาใหม่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 166 วรรคสอง ไม่ได้เพราะมิใช่เป็นเรื่องศาลชั้นต้นยกฟ้องเพราะเหตุโจทก์ขาดนัด(อ้างฎีกาที่ 872/2492)