พบผลลัพธ์ทั้งหมด 555 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1850/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การชำระค่าทดแทนเวนคืนให้ผู้ไม่มีสิทธิ เจ้าหน้าที่ต้องรับผิดชอบชำระให้เจ้าของที่ดินที่แท้จริง
คณะกรรมการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ฯ ได้จ่ายเงินค่าทำขวัญทดแทนรายของโจทก์ ให้แก่ผู้ที่ไม่มีอำนาจรับชำระ อันเป็นการชำระหนี้ผิดไป คณะกรรมการจึงต้องชำระให้โจทก์ใหม่
มาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์พ.ศ.2497 เป็นบทบัญญัติว่าด้วยผู้รับประโยชน์ในการที่จะได้รับชดใช้จากเงินค่าทำขวัญทดแทน เช่นผู้รับจำนองผู้ทรงบุริมสิทธิหรือทรัพยสิทธิอย่างอื่นซึ่ง ไม่ใช่เป็นเจ้าของที่ดิน โจทก์จึงไม่อยู่ในบังคับที่จะต้องขอรับเงินค่าทำขวัญทดแทนภายใน 1 เดือน ตามมาตรา 20 สำหรับมาตรา 26 ก็ใช้บังคับเฉพาะกรณีที่เจ้าหน้าที่จ่ายเงินค่าทำขวัญทดแทนให้แก่ผู้มีสิทธิได้รับตามกฎหมายคนใดคนหนึ่งไปแล้ว เจ้าหน้าที่จึงจะไม่ต้องรับผิดชอบต่อบุคคลที่มาเสนอคำขอร้องในภายหลัง ฉะนั้น ในกรณีที่เจ้าหน้าที่จ่ายเงินให้ผู้ไม่มีสิทธิรับไป ย่อมไม่ได้รับความคุ้มครองตามมาตรานี้
มาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์พ.ศ.2497 เป็นบทบัญญัติว่าด้วยผู้รับประโยชน์ในการที่จะได้รับชดใช้จากเงินค่าทำขวัญทดแทน เช่นผู้รับจำนองผู้ทรงบุริมสิทธิหรือทรัพยสิทธิอย่างอื่นซึ่ง ไม่ใช่เป็นเจ้าของที่ดิน โจทก์จึงไม่อยู่ในบังคับที่จะต้องขอรับเงินค่าทำขวัญทดแทนภายใน 1 เดือน ตามมาตรา 20 สำหรับมาตรา 26 ก็ใช้บังคับเฉพาะกรณีที่เจ้าหน้าที่จ่ายเงินค่าทำขวัญทดแทนให้แก่ผู้มีสิทธิได้รับตามกฎหมายคนใดคนหนึ่งไปแล้ว เจ้าหน้าที่จึงจะไม่ต้องรับผิดชอบต่อบุคคลที่มาเสนอคำขอร้องในภายหลัง ฉะนั้น ในกรณีที่เจ้าหน้าที่จ่ายเงินให้ผู้ไม่มีสิทธิรับไป ย่อมไม่ได้รับความคุ้มครองตามมาตรานี้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1850/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การชำระค่าทดแทนเวนคืนให้ผู้ไม่มีสิทธิ ทำให้เจ้าหน้าที่ต้องชำระให้เจ้าของที่ดินอีกครั้ง
คณะกรรมการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ฯ ได้จ่ายเงินค่าทำขวัญทดแทนรายของโจทก์.ให้แก่ผู้ที่ไม่มีอำนาจรับชำระ. อันเป็นการชำระหนี้ผิดไป คณะกรรมการจึงต้องชำระให้โจทก์ใหม่.
มาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์พ.ศ.2497 เป็นบทบัญญัติว่าด้วยผู้รับประโยชน์ในการที่จะได้รับชดใช้จากเงินค่าทำขวัญทดแทน. เช่นผู้รับจำนองผู้ทรงบุริมสิทธิหรือทรัพยสิทธิอย่างอื่นซึ่ง.ไม่ใช่เป็นเจ้าของที่ดิน. โจทก์จึงไม่อยู่ในบังคับที่จะต้องขอรับเงินค่าทำขวัญทดแทนภายใน 1 เดือน ตามมาตรา 20. สำหรับมาตรา 26 ก็ใช้บังคับเฉพาะกรณีที่เจ้าหน้าที่จ่ายเงินค่าทำขวัญทดแทนให้แก่ผู้มีสิทธิได้รับตามกฎหมายคนใดคนหนึ่งไปแล้ว. เจ้าหน้าที่จึงจะไม่ต้องรับผิดชอบต่อบุคคลที่มาเสนอคำขอร้องในภายหลัง. ฉะนั้น ในกรณีที่เจ้าหน้าที่จ่ายเงินให้ผู้ไม่มีสิทธิรับไป. ย่อมไม่ได้รับความคุ้มครองตามมาตรานี้.
มาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์พ.ศ.2497 เป็นบทบัญญัติว่าด้วยผู้รับประโยชน์ในการที่จะได้รับชดใช้จากเงินค่าทำขวัญทดแทน. เช่นผู้รับจำนองผู้ทรงบุริมสิทธิหรือทรัพยสิทธิอย่างอื่นซึ่ง.ไม่ใช่เป็นเจ้าของที่ดิน. โจทก์จึงไม่อยู่ในบังคับที่จะต้องขอรับเงินค่าทำขวัญทดแทนภายใน 1 เดือน ตามมาตรา 20. สำหรับมาตรา 26 ก็ใช้บังคับเฉพาะกรณีที่เจ้าหน้าที่จ่ายเงินค่าทำขวัญทดแทนให้แก่ผู้มีสิทธิได้รับตามกฎหมายคนใดคนหนึ่งไปแล้ว. เจ้าหน้าที่จึงจะไม่ต้องรับผิดชอบต่อบุคคลที่มาเสนอคำขอร้องในภายหลัง. ฉะนั้น ในกรณีที่เจ้าหน้าที่จ่ายเงินให้ผู้ไม่มีสิทธิรับไป. ย่อมไม่ได้รับความคุ้มครองตามมาตรานี้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1530/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิทำทางน้ำผ่านที่ดินตาม พ.ร.บ.การชลประทาน ต้องชำระค่าสินไหมทดแทนก่อน และเวนคืนได้ตามกฎหมาย
ตามความในมาตรา 9 แห่ง พ.ร.บ.การชลประทานหลวง พ.ศ.2485 ที่ว่า เพื่อให้ได้รับประโยชน์จากการชลประทาน ถ้าไม่สามารถจะทำได้โดยวิธีอื่น ให้เจ้าของที่ดินที่อยู่ห่างทางน้ำหรือแหล่งน้ำใดมีสิทธิทำทางน้ำผ่านที่ดินของผู้อื่นได้ ในเมื่อนายช่างชลประทาน ข้าหลวงประจำจังหวัดหรือนายอำเภอได้อนุญาตและกำหนดให้โดยกว้างรวมทั้งที่ทิ้งดินด้วยไม่เกินสิบเมตร แต่ต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่เจ้าของและผู้ครอบครองที่ดินที่ทางน้ำผ่านนั้น หมายความว่าต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเสียก่อน จึงจะมีสิทธิทำทางน้ำผ่านที่ดินได้
แม้ที่ดินของโจทก์จะถูกนายช่างชลประทานใช้รถขุดดินทำทางน้ำผ่านเพื่อประโยชน์แก่เจ้าของที่ดินที่อยู่ห่างทางน้ำ โดยยังไม่ได้ใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่โจทก์ แต่เมื่อมีกฎหมายเวนคืนที่ดินของโจทก์ให้แก่กรมชลประทานแล้ว โจทก์ย่อมไม่มีอำนาจฟ้อง ขอให้บังคับนายช่างชลประทานหรือกรมชลประทานกลบที่ดินที่ถูกขุดให้กลับคงคืนตามสภาพเดิม
แม้ที่ดินของโจทก์จะถูกนายช่างชลประทานใช้รถขุดดินทำทางน้ำผ่านเพื่อประโยชน์แก่เจ้าของที่ดินที่อยู่ห่างทางน้ำ โดยยังไม่ได้ใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่โจทก์ แต่เมื่อมีกฎหมายเวนคืนที่ดินของโจทก์ให้แก่กรมชลประทานแล้ว โจทก์ย่อมไม่มีอำนาจฟ้อง ขอให้บังคับนายช่างชลประทานหรือกรมชลประทานกลบที่ดินที่ถูกขุดให้กลับคงคืนตามสภาพเดิม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1530/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิทำทางน้ำผ่านที่ดินต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนก่อน หากมีกฎหมายเวนคืน สิทธิเรียกร้องให้กลับสู่สภาพเดิมสิ้นสุด
ตามความในมาตรา 9 แห่ง พระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พ.ศ.2485 ที่ว่า เพื่อให้ได้รับประโยชน์จากการชลประทาน ถ้าไม่สามารถจะทำได้โดยวิธีอื่น ให้เจ้าของที่ดินที่อยู่ห่างทางน้ำหรือแหล่งน้ำใดมีสิทธิทำทางน้ำผ่านที่ดินของผู้อื่นได้ ในเมื่อนายช่างชลประทาน ข้าหลวงประจำจังหวัดหรือนายอำเภอได้อนุญาตและกำหนดให้โดยกว้างรวมทั้งที่ทิ้งดินด้วยไม่เกินสิบเมตร แต่ต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่เจ้าของและผู้ครอบครองที่ดินที่ทางน้ำผ่านนั้น หมายความว่าต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเสียก่อน จึงจะมีสิทธิทำทางน้ำผ่านที่ดินได้
แม้ที่ดินของโจทก์จะถูกนายช่างชลประทานใช้รถขุดดินทำทางน้ำผ่านเพื่อประโยชน์แก่เจ้าของที่ดินที่อยู่ห่างทางน้ำ โดยยังไม่ได้ใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่โจทก์ แต่เมื่อมีกฎหมายเวนคืนที่ดินของโจทก์ให้แก่กรมชลประทานแล้ว โจทก์ย่อมไม่มีอำนาจฟ้อง ขอให้บังคับนายช่างชลประทานหรือกรมชลประทานกลบที่ดินที่ถูกขุดให้กลับคงคืนตามสภาพเดิม
แม้ที่ดินของโจทก์จะถูกนายช่างชลประทานใช้รถขุดดินทำทางน้ำผ่านเพื่อประโยชน์แก่เจ้าของที่ดินที่อยู่ห่างทางน้ำ โดยยังไม่ได้ใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่โจทก์ แต่เมื่อมีกฎหมายเวนคืนที่ดินของโจทก์ให้แก่กรมชลประทานแล้ว โจทก์ย่อมไม่มีอำนาจฟ้อง ขอให้บังคับนายช่างชลประทานหรือกรมชลประทานกลบที่ดินที่ถูกขุดให้กลับคงคืนตามสภาพเดิม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1530/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิทำทางน้ำผ่านที่ดินต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนก่อน หากมีการเวนคืนที่ดินแล้ว สิทธิเรียกร้องเพื่อฟื้นฟูสภาพเดิมสิ้นสุด
ตามความในมาตรา 9 แห่ง พ.ร.บ.การชลประทานหลวง พ.ศ.2485 ที่ว่า เพื่อให้ได้รับประโยชน์จากการชลประทาน. ถ้าไม่สามารถจะทำได้โดยวิธีอื่น. ให้เจ้าของที่ดินที่อยู่ห่างทางน้ำหรือแหล่งน้ำใดมีสิทธิทำทางน้ำผ่านที่ดินของผู้อื่นได้. ในเมื่อนายช่างชลประทาน ข้าหลวงประจำจังหวัดหรือนายอำเภอได้อนุญาตและกำหนดให้โดยกว้างรวมทั้งที่ทิ้งดินด้วยไม่เกินสิบเมตร. แต่ต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่เจ้าของและผู้ครอบครองที่ดินที่ทางน้ำผ่านนั้น. หมายความว่าต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเสียก่อน จึงจะมีสิทธิทำทางน้ำผ่านที่ดินได้.
แม้ที่ดินของโจทก์จะถูกนายช่างชลประทานใช้รถขุดดินทำทางน้ำผ่านเพื่อประโยชน์แก่เจ้าของที่ดินที่อยู่ห่างทางน้ำ. โดยยังไม่ได้ใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่โจทก์. แต่เมื่อมีกฎหมายเวนคืนที่ดินของโจทก์ให้แก่กรมชลประทานแล้ว. โจทก์ย่อมไม่มีอำนาจฟ้อง. ขอให้บังคับนายช่างชลประทานหรือกรมชลประทานกลบที่ดินที่ถูกขุดให้กลับคงคืนตามสภาพเดิม.
แม้ที่ดินของโจทก์จะถูกนายช่างชลประทานใช้รถขุดดินทำทางน้ำผ่านเพื่อประโยชน์แก่เจ้าของที่ดินที่อยู่ห่างทางน้ำ. โดยยังไม่ได้ใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่โจทก์. แต่เมื่อมีกฎหมายเวนคืนที่ดินของโจทก์ให้แก่กรมชลประทานแล้ว. โจทก์ย่อมไม่มีอำนาจฟ้อง. ขอให้บังคับนายช่างชลประทานหรือกรมชลประทานกลบที่ดินที่ถูกขุดให้กลับคงคืนตามสภาพเดิม.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 929/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อพิพาทกรรมสิทธิ์ที่ดินและสิทธิรับเงินค่าทดแทนจากการเวนคืน การพิจารณาว่าเป็นคดีที่คำนวณราคาได้
โจทก์อ้างว่า จำเลยได้ทำสัญญาโอนสิทธิครอบครองที่ดินรวม 5 โฉนดและสิ่งปลูกสร้างให้โจทก์ด้วยการส่งมอบที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พร้อมทั้งตราสารแห่งสิทธิให้โจทก์ ต่อมาจำเลยได้บอกเลิกสัญญาโอนสิทธิ ขอให้ศาลพิพากษาว่าสัญญาโอนสิทธิครอบครองใช้ได้ตามกฎหมาย จำเลยไม่มีสิทธิเพิกถอน ห้ามมิไห้จำเลยขัดขวางในการที่โจทก์จะใช้สิทธิบนอสังหาริมทรัพย์ จำเลยต่อสู้ว่ากรรมสิทธิในที่ดินยังเป็นของจำเลย ดังนี้จึงเห็นได้ว่าข้อพิพาทในคดีคือที่ดินและสิ่งปลูกสร้างตามฟ้องเป็นของโจทก์ หรือของจำเลย ถึงแม้คำขอท้ายฟ้องโจทก์จะมิได้บ่งชัดขอให้แสดงกรรมสิทธิ์ที่ดินก็ตาม หากศาลพิพากษาให้โจทก์ชนะคดีโจทก์ก็เป็นเจ้าของที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง กับมีสิทธิได้รับเงินค่าทดแทนต่อไป ดังนี้ จึงเป็นคดีที่คำขอปลดเปลื้องทุกข์อาจคำนวณเป็นราคาเงินได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 150 ถึงแม้ว่ากรรมสิทธิ์ที่ดินที่พิพาทจะถูกเวนคืนแล้วก็ตาม ก็จำต้องพิจารณาว่าโจทก์หรือจำเลยเป็นเจ้าของ อันมีสิทธิรับเงินค่าทดแทนอยู่นั้นเอง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 929/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อพิพาทสิทธิในที่ดินและผลกระทบต่อสิทธิรับเงินค่าเวนคืน ศาลพิจารณาเป็นคดีที่คำนวณราคาเงินได้
โจทก์อ้างว่า จำเลยได้ทำสัญญาโอนสิทธิครอบครองที่ดินรวม 5 โฉนดและสิ่งปลูกสร้างให้โจทก์ด้วยการส่งมอบที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พร้อมทั้งตราสารแห่งสิทธิให้โจทก์ ต่อมาจำเลยได้บอกเลิกสัญญาโอนสิทธิ ขอให้ศาลพิพากษาว่าสัญญาโอนสิทธิครอบครองใช้ได้ตามกฎหมาย จำเลย ไม่มีสิทธิเพิกถอน ห้ามมิให้จำเลยขัดขวางในการที่โจทก์จะใช้สิทธิบนอสังหาริมทรัพย์ จำเลยต่อสู้ว่ากรรมสิทธิในที่ดินยังเป็นของจำเลย ดังนี้จึงเห็นได้ว่าข้อพิพาทในคดีคือที่ดินและสิ่งปลูกสร้างตามฟ้องเป็นของโจทก์ หรือของจำเลย ถึงแม้คำขอท้ายฟ้องโจทก์จะมิได้บ่งชัดขอให้แสดงกรรมสิทธิ์ที่ดินก็ตาม หากศาลพิพากษาให้โจทก์ชนะคดีโจทก์ก็เป็นเจ้าของที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง กับมีสิทธิได้รับเงินค่าทดแทนต่อไป ดังนี้ จึงเป็นคดีที่คำขอปลดเปลื้องทุกข์อาจคำนวณเป็นราคาเงินได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 150 ถึงแม้ว่ากรรมสิทธิ์ที่ดินที่พิพาทจะถูกเวนคืนแล้วก็ตาม ก็จำต้องพิจารณาว่าโจทก์หรือจำเลยเป็นเจ้าของ อันมีสิทธิรับเงินค่าทดแทนอยู่นั่นเอง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1019/2507 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเวนคืนที่ดิน แม้ยังไม่ได้ชำระค่าทดแทน เจ้าของที่ดินมีหน้าที่ออกจากที่ดิน การขัดขวางถือเป็นความผิดตามกฎหมาย
พระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2490 ออกใช้และดำเนินการตามความในพระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ.2482 พระราชบัญญัติทางหลวงนี้มีมาตรา 44 บัญญัติว่า เมื่อกำหนดเวลาที่เจ้าหน้าที่เวนคืนจะเข้าครอบครองตามที่กำหนดไว้ได้ล่วงพ้นไปแล้ว ให้เจ้าหน้าที่เวนคืนมีอำนาจเข้าครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้นได้ แม้จะยังไม่ได้ชำระค่าทำขวัญ ฉะนั้น จำเลยจะมีสิทธิและได้รับค่าทำขวัญแล้วหรือไม่ก็ตาม ก็ไม่เป็นข้อต่อสู้ที่จะยกขึ้นล้างเพิ่อขัดขวางไม่ยอมออกจากที่ที่ถูกเวนคืนได้ เมื่อจำเลยขัดขวางไม่ยอมให้เจ้าหน้าที่เวนคืนเข้าครอบครอบทรัพย์สินที่ถูกเวนคืนนั้น ก็ย่อมมีความผิดตามพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2497 มาตรา 33
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1019/2507
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจเวนคืนและการขัดขวางการเข้าครอบครองทรัพย์สิน แม้ยังมิได้รับค่าทำขวัญ
พระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ.2482 มาตรา 49 บัญญัติว่าเมื่อกำหนดเวลาที่เจ้าหน้าที่เวนคืนจะเข้าครอบครองตามที่กำหนดไว้ได้ล่วงพ้นไปแล้ว ให้เจ้าหน้าที่เวนคืนมีอำนาจเข้าครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้นได้ แม้จะยังไม่ได้ชำระค่าทำขวัญ ฉะนั้น จำเลยจะมีสิทธิและได้รับค่าทำขวัญแล้วหรือไม่ก็ตาม ก็ไม่เป็นข้อต่อสู้ที่จะยกขึ้นอ้างเพื่อขัดขวางไม่ยอมออกจากที่ที่ถูกเวนคืนได้ เมื่อจำเลยขัดขวางไม่ยอมให้เจ้าหน้าที่เวนคืนเข้าครอบครองทรัพย์ที่ถูกเวนคืนนั้น ก็ย่อมมีความผิดตามพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2497 มาตรา 33
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 604/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องขับไล่หลังบอกเลิกสัญญาเช่า แม้มีเวนคืนที่ดินบางส่วน สิทธิในที่ดินชานคลองยังคงอยู่
เดิมที่พิพาทเป็นของกรมชลประทานโจทก์ จำเลยเช่าที่นี้จากโจทก์เพื่อปลูกสร้างอาคาร ต่อมาเมื่อ พ.ศ. 2486 มีพระราชบัญญัติออกมาเวนคืนที่ดินเพื่อขยายทาวหลวง ที่พิพาทบางส่วนถูกเวนคืนตามพระราชบัญญัตินี้ด้วย แต่เรือนโรงของจำเลยก็ยังคงปลูกอยู่ในที่พิพาทโดยสัญญาเช่าระหว่างโจทก์จำเลยตลอดมาจนถึง พ.ศ. 2495 แล้วโจทก์จึงบอกเลิกสัญญา เมื่อที่พิพาทยังอยู่ในความดูแลรักษาของโจทก์ โจทก์บอกเลิกการเช่าแล้วจำเลยไม่ยอมออกไป โจทก์ย่อมมีอำนาจฟ้องขับไล่จำเลยได้ตลอดถึงที่พิพาทส่วนที่ถูกเวนคืนให้แก่กรมทางหลวงแผ่นดินแล้วนั้นด้วย เมื่อจำเลยรับว่าได้เข้าอยู่ในที่พิพาทโดยเช่าจากโจทก์ เมื่อโจทก์บอกเลิกการเช่าแล้ว จำเลยก็ต้องส่งมอบที่พิพาทคืนให้โจทก์ จำเลยไม่มีทางจะโต้เถียงอำนาจของโจทก์ผู้ให้เช่า