พบผลลัพธ์ทั้งหมด 69 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2343/2514
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตความผิดฐานยักยอกทรัพย์ของผู้จัดการสมาคม: อำนาจจัดการทรัพย์สินและฐานะผู้มีอาชีพที่ไว้วางใจ
จำเลยได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้จัดการสมาคมชาวจีนไหหลำแห่งภาคใต้มีหน้าที่เขียนแจ้งคำบอกกล่าวสมาชิก เขียนใบรับเงิน ลงนามรับเงินในใบรับเงินเก็บเงิน รับเงินและออกใบรับเงินต่าง ๆ จำเลยได้รับเงินค่าสมัครเป็นสมาชิกเงินบำรุงและค่ามรณะสงเคราะห์ฌาปนกิจไว้หลายคราวแล้ว จำเลยยักยอกเงินนั้นบางส่วนเช่นนี้เป็นความผิดฐานยักยอกทรัพย์หลายกรรม แต่ละกรรมเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 352 บทเดียว ไม่เป็นความผิดตามมาตรา 353 เพราะแม้จำเลยจะเป็นผู้เก็บรักษาเงิน แต่จำเลยก็ไม่มีอำนาจจัดการกับเงินนั้น และสมาคมนี้มีสมาชิกเฉพาะชาวจีนไหหลำ จำเลยเป็นผู้จัดการสมาคมนี้ยังถือไม่ได้ว่าจำเลยอยู่ในฐานะเป็นผู้มีอาชีพอันเป็นที่ไว้วางใจของประชาชนตามมาตรา 354
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2081-2087/2514 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจจัดการทรัพย์สินบุตรผู้เยาว์ & หนังสือมอบอำนาจ/มอบกรรมสิทธิ์: ผลผูกพันทางกฎหมาย
บิดาผู้ใช้อำนาจปกครองมีอำนาจจัดการและจำหน่ายทรัพย์สินอันเป็นสังหาริมทรัพย์ของบุตรผู้เยาว์ได้โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมของบุตร เว้นแต่ในกิจการใดประโยชน์ของผู้ใช้อำนาจปกครองขัดกับประโยชน์ของผู้เยาว์ จะต้องได้รับอนุญาตของศาลก่อน มิฉะนั้นเป็นโมฆะ
บิดานำหุ้นของบุตรผู้เยาว์ไปโอนตีใช้หนี้ส่วนตัวของบิดาประโยชน์ของบิดาผู้ใช้อำนาจปกครองย่อมขัดกับประโยชน์ของบุตรผู้เยาว์หากทำโดยไม่ได้รับอนุญาตจากศาล แม้บุตรผู้เยาว์จะทำหนังสือให้ความยินยอมด้วย ก็เป็นโมฆะ
ผู้ถือหุ้นทำหนังสือมอบกรรมสิทธิ์ในหุ้นของตนให้บิดา บิดานำหุ้นนั้นไปโอนตีใช้หนี้ให้โจทก์ แต่ทำการโอนหุ้นกันไม่ได้ เพราะขัดกับข้อบังคับของบริษัท ดังนี้ ผู้ถือหุ้นนั้นไม่ต้องรับผิดคืนเงินค่าหุ้นให้โจทก์เพราะไม่มีนิติสัมพันธ์กับโจทก์
ผู้ถือหุ้นทำหนังสือมอบอำนาจให้บิดานำหุ้นของตนไปจำนำประกันเงินกู้ ขายโอนหรือจำหน่ายด้วยประการใด ๆ บิดานำหุ้นนั้นไปโอนตีใช้หนี้ให้โจทก์ ถือได้ว่าเป็นการก่อนิติสัมพันธ์ตามที่ได้รับมอบอำนาจ ซึ่งผูกพันผู้ถือหุ้นซึ่งมอบอำนาจนั้นด้วย เมื่อต่อมาปรากฏว่าโอนหุ้นให้โจทก์ไม่ได้ ผู้ถือหุ้นย่อมต้องรับผิดคืนเงินค่าหุ้นให้โจทก์
บิดานำหุ้นของบุตรผู้เยาว์ไปโอนตีใช้หนี้ส่วนตัวของบิดาประโยชน์ของบิดาผู้ใช้อำนาจปกครองย่อมขัดกับประโยชน์ของบุตรผู้เยาว์หากทำโดยไม่ได้รับอนุญาตจากศาล แม้บุตรผู้เยาว์จะทำหนังสือให้ความยินยอมด้วย ก็เป็นโมฆะ
ผู้ถือหุ้นทำหนังสือมอบกรรมสิทธิ์ในหุ้นของตนให้บิดา บิดานำหุ้นนั้นไปโอนตีใช้หนี้ให้โจทก์ แต่ทำการโอนหุ้นกันไม่ได้ เพราะขัดกับข้อบังคับของบริษัท ดังนี้ ผู้ถือหุ้นนั้นไม่ต้องรับผิดคืนเงินค่าหุ้นให้โจทก์เพราะไม่มีนิติสัมพันธ์กับโจทก์
ผู้ถือหุ้นทำหนังสือมอบอำนาจให้บิดานำหุ้นของตนไปจำนำประกันเงินกู้ ขายโอนหรือจำหน่ายด้วยประการใด ๆ บิดานำหุ้นนั้นไปโอนตีใช้หนี้ให้โจทก์ ถือได้ว่าเป็นการก่อนิติสัมพันธ์ตามที่ได้รับมอบอำนาจ ซึ่งผูกพันผู้ถือหุ้นซึ่งมอบอำนาจนั้นด้วย เมื่อต่อมาปรากฏว่าโอนหุ้นให้โจทก์ไม่ได้ ผู้ถือหุ้นย่อมต้องรับผิดคืนเงินค่าหุ้นให้โจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1793/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจผู้จัดการธนาคารออมสิน: ผู้อำนวยการเท่านั้นที่ชอบโดยกฎหมาย ประธานกรรมการไม่มีอำนาจ
ตามพระราชบัญญัติธนาคารออมสิน พ.ศ.2489 ซึ่งก่อตั้งธนาคารออมสินเป็นนิติบุคคลมีบัญญัติไว้โดยชัดแจ้งในมาตรา16 ว่าให้ผู้อำนวยการเป็นผู้จัดการธนาคารออมสิน มีอำนาจและหน้าที่ดำเนินกิจการให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎ และข้อบังคับของธนาคารออมสิน โดยไม่มีมาตราอื่นใดให้อำนาจแก่ประธานกรรมการที่จะเข้ามาดำเนินกิจการอย่างเดียวกับผู้อำนวยการได้ ย่อมเป็นที่เห็นได้ว่า พระราชบัญญัติดังกล่าวให้อำนาจผู้อำนวยการแต่ผู้เดียวที่จะเป็นผู้จัดการทำการแทนธนาคารออมสินซึ่งเป็นนิติบุคคลรวมตลอดถึงการดำเนินคดี ประธานกรรมการหามีอำนาจไม่
เมื่อประธานกรรมการเข้ามาดำเนินการต่อสู้คดีแทนธนาคารออมสินซึ่งถูกฟ้องเป็นจำเลย โดยแต่งตั้งทนายดำเนินคดี มีการพิจารณาสืบพยานโจทก์จำเลยจนเสร็จสิ้นแล้ว และในตอนหลังธนาคารออมสินโดยผู้อำนวยการซึ่งเป็นผู้มีอำนาจและหน้าที่ดำเนินกิจการตามกฎหมายก็ได้แต่งทนายเป็นการถูกต้อง โดยแต่งตั้งทนายคนเดียวกันกับประธานกรรมการและมิได้โต้แย้งคัดค้านกระบวนพิจารณาที่ได้กระทำมาแล้วแต่ประการใด ย่อมมีเหตุสมควรที่ศาลจะพิพากษาคดีไปตามกระบวนพิจารณาที่ได้ดำเนินมาแล้วโดยไม่จำต้องเพิกถอนกระบวนพิจารณาเดิม ทั้งนี้ อาศัยอำนาจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 66 ซึ่งให้ศาลสอบสวนถึงอำนาจของผู้แทนนิติบุคคล ถึงแม้ผู้นั้นจะไม่มีอำนาจหรืออำนาจบกพร่อง ศาลจะยกฟ้องหรือมีคำพิพากษาหรือมีคำสั่งอย่างอื่นได้ตามที่เห็นสมควร เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม
เมื่อประธานกรรมการเข้ามาดำเนินการต่อสู้คดีแทนธนาคารออมสินซึ่งถูกฟ้องเป็นจำเลย โดยแต่งตั้งทนายดำเนินคดี มีการพิจารณาสืบพยานโจทก์จำเลยจนเสร็จสิ้นแล้ว และในตอนหลังธนาคารออมสินโดยผู้อำนวยการซึ่งเป็นผู้มีอำนาจและหน้าที่ดำเนินกิจการตามกฎหมายก็ได้แต่งทนายเป็นการถูกต้อง โดยแต่งตั้งทนายคนเดียวกันกับประธานกรรมการและมิได้โต้แย้งคัดค้านกระบวนพิจารณาที่ได้กระทำมาแล้วแต่ประการใด ย่อมมีเหตุสมควรที่ศาลจะพิพากษาคดีไปตามกระบวนพิจารณาที่ได้ดำเนินมาแล้วโดยไม่จำต้องเพิกถอนกระบวนพิจารณาเดิม ทั้งนี้ อาศัยอำนาจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 66 ซึ่งให้ศาลสอบสวนถึงอำนาจของผู้แทนนิติบุคคล ถึงแม้ผู้นั้นจะไม่มีอำนาจหรืออำนาจบกพร่อง ศาลจะยกฟ้องหรือมีคำพิพากษาหรือมีคำสั่งอย่างอื่นได้ตามที่เห็นสมควร เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1793/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจจัดการของผู้อำนวยการธนาคารออมสิน vs. ประธานกรรมการ และผลต่อกระบวนการพิจารณาคดี
ตามพระราชบัญญัติธนาคารออมสิน พ.ศ.2489 ซึ่งก่อตั้งธนาคารออมสินเป็นนิติบุคคลมีบัญญัติไว้โดยชัดแจ้งในมาตรา16. ว่าให้ผู้อำนวยการเป็นผู้จัดการธนาคารออมสิน มีอำนาจและหน้าที่ดำเนินกิจการให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎ และข้อบังคับของธนาคารออมสิน. โดยไม่มีมาตราอื่นใดให้อำนาจแก่ประธานกรรมการที่จะเข้ามาดำเนินกิจการอย่างเดียวกับผู้อำนวยการได้. ย่อมเป็นที่เห็นได้ว่า พระราชบัญญัติดังกล่าวให้อำนาจผู้อำนวยการแต่ผู้เดียวที่จะเป็นผู้จัดการทำการแทนธนาคารออมสินซึ่งเป็นนิติบุคคลรวมตลอดถึงการดำเนินคดี. ประธานกรรมการหามีอำนาจไม่.
เมื่อประธานกรรมการเข้ามาดำเนินการต่อสู้คดีแทนธนาคารออมสินซึ่งถูกฟ้องเป็นจำเลย. โดยแต่งตั้งทนายดำเนินคดี มีการพิจารณาสืบพยานโจทก์จำเลยจนเสร็จสิ้นแล้ว. และในตอนหลังธนาคารออมสินโดยผู้อำนวยการซึ่งเป็นผู้มีอำนาจและหน้าที่ดำเนินกิจการตามกฎหมายก็ได้แต่งทนายเป็นการถูกต้อง. โดยแต่งตั้งทนายคนเดียวกันกับประธานกรรมการและมิได้โต้แย้งคัดค้านกระบวนพิจารณาที่ได้กระทำมาแล้วแต่ประการใด. ย่อมมีเหตุสมควรที่ศาลจะพิพากษาคดีไปตามกระบวนพิจารณาที่ได้ดำเนินมาแล้วโดยไม่จำต้องเพิกถอนกระบวนพิจารณาเดิม. ทั้งนี้ อาศัยอำนาจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 66ซึ่งให้ศาลสอบสวนถึงอำนาจของผู้แทนนิติบุคคล. ถึงแม้ผู้นั้นจะไม่มีอำนาจหรืออำนาจบกพร่อง. ศาลจะยกฟ้องหรือมีคำพิพากษาหรือมีคำสั่งอย่างอื่นได้ตามที่เห็นสมควร เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม.
เมื่อประธานกรรมการเข้ามาดำเนินการต่อสู้คดีแทนธนาคารออมสินซึ่งถูกฟ้องเป็นจำเลย. โดยแต่งตั้งทนายดำเนินคดี มีการพิจารณาสืบพยานโจทก์จำเลยจนเสร็จสิ้นแล้ว. และในตอนหลังธนาคารออมสินโดยผู้อำนวยการซึ่งเป็นผู้มีอำนาจและหน้าที่ดำเนินกิจการตามกฎหมายก็ได้แต่งทนายเป็นการถูกต้อง. โดยแต่งตั้งทนายคนเดียวกันกับประธานกรรมการและมิได้โต้แย้งคัดค้านกระบวนพิจารณาที่ได้กระทำมาแล้วแต่ประการใด. ย่อมมีเหตุสมควรที่ศาลจะพิพากษาคดีไปตามกระบวนพิจารณาที่ได้ดำเนินมาแล้วโดยไม่จำต้องเพิกถอนกระบวนพิจารณาเดิม. ทั้งนี้ อาศัยอำนาจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 66ซึ่งให้ศาลสอบสวนถึงอำนาจของผู้แทนนิติบุคคล. ถึงแม้ผู้นั้นจะไม่มีอำนาจหรืออำนาจบกพร่อง. ศาลจะยกฟ้องหรือมีคำพิพากษาหรือมีคำสั่งอย่างอื่นได้ตามที่เห็นสมควร เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 101/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจจัดการสินบริคณห์และการดำเนินคดีแพ่ง: การฟ้องร้องต้องกระทำโดยการยื่นคำฟ้อง
เมื่อไม่ปรากฏว่ามีสัญญาก่อนสมรสให้อำนาจภริยาผู้ร้องเป็นผู้จัดการสินบริคณห์อย่างไร ผู้ร้องจึงเป็นผู้มีอำนาจจัดการสินบริคณห์ตามกฎหมาย การที่ภริยาผู้ร้องเข้าแย่งจัดการ ผู้ร้องจะมายื่นคำร้องขอให้ศาลตั้งให้ผู้ร้องเป็นผู้จัดการหาได้ไม่
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งจะนำคดีมาสู่ศาลได้ 2 อย่าง คือ คดีมีข้อพิพาทกับคดีที่ไม่มีข้อพิพาท
คดีของผู้ร้องปรากฏว่ามีคำขอให้บังคับคดีแก่ภริยาผู้ร้อง โดยขอให้ศาลสั่งห้ามภริยาไม่ให้เข้าจัดการในที่ดินสินบริคณห์ เป็นการโต้แย้งสิทธิซึ่งได้ตั้งพิพาทกันในทางแพ่งจึงเป็นคดีมีข้อพิพาทอันจะต้องเริ่มคดีด้วยการทำเป็นคำฟ้องมายื่นต่อศาลเรียกเอาภริยาเข้ามาเป็นคู่ความเพื่อให้โอกาสแก่ภริยาต่อสู้คัดค้านป้องกันสิทธิและเพื่อที่จะบังคับคดีเอาแก่ภริยาได้ตามคำร้องขอของผู้ร้อง จึงต้องเสนอคดีโดยทำเป็นคำฟ้องมายื่นต่อศาล
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งจะนำคดีมาสู่ศาลได้ 2 อย่าง คือ คดีมีข้อพิพาทกับคดีที่ไม่มีข้อพิพาท
คดีของผู้ร้องปรากฏว่ามีคำขอให้บังคับคดีแก่ภริยาผู้ร้อง โดยขอให้ศาลสั่งห้ามภริยาไม่ให้เข้าจัดการในที่ดินสินบริคณห์ เป็นการโต้แย้งสิทธิซึ่งได้ตั้งพิพาทกันในทางแพ่งจึงเป็นคดีมีข้อพิพาทอันจะต้องเริ่มคดีด้วยการทำเป็นคำฟ้องมายื่นต่อศาลเรียกเอาภริยาเข้ามาเป็นคู่ความเพื่อให้โอกาสแก่ภริยาต่อสู้คัดค้านป้องกันสิทธิและเพื่อที่จะบังคับคดีเอาแก่ภริยาได้ตามคำร้องขอของผู้ร้อง จึงต้องเสนอคดีโดยทำเป็นคำฟ้องมายื่นต่อศาล
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 101/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจจัดการสินบริคณห์และการดำเนินคดีที่ถูกต้อง: คดีมีข้อพิพาทต้องยื่นฟ้อง
เมื่อไม่ปรากฏว่ามีสัญญาก่อนสมรสให้อำนาจภริยาผู้ร้องเป็นผู้จัดการสินบริคณห์อย่างไรผู้ร้องจึงเป็นผู้มีอำนาจจัดการสินบริคณห์ตามกฎหมาย การที่ภริยาผู้ร้องเข้าแย่งจัดการ ผู้ร้องจะมายื่นคำร้องขอให้ศาลตั้งให้ผู้ร้องเป็นผู้จัดการหาได้ไม่
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งจะนำคดีมาสู่ศาล ได้ 2 อย่างคือ คดีมีข้อพิพาทกับคดีที่ไม่มีข้อพิพาท
คดีของผู้ร้องปรากฏว่ามีคำขอให้บังคับคดีแก่ภริยาผู้ร้องโดยขอให้ศาลสั่งห้ามภริยาไม่ให้เข้าจัดการในที่ดินสินบริคณห์เป็นการโต้แย้งสิทธิซึ่งได้ตั้งพิพาทกันในทางแพ่งจึงเป็นคดีมีข้อพิพาทอันจะต้องเริ่มคดีด้วยการทำเป็นคำฟ้องมายื่นต่อศาลเรียกเอาภริยาเข้ามาเป็นคู่ความเพื่อให้โอกาสแก่ภริยาต่อสู้คัดค้านป้องกันสิทธิและ เพื่อที่จะบังคับคดีเอาแก่ภริยาได้ตามคำร้องขอของผู้ร้อง จึงต้อง เสนอคดีโดยทำเป็นคำฟ้องมายื่นต่อศาล
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งจะนำคดีมาสู่ศาล ได้ 2 อย่างคือ คดีมีข้อพิพาทกับคดีที่ไม่มีข้อพิพาท
คดีของผู้ร้องปรากฏว่ามีคำขอให้บังคับคดีแก่ภริยาผู้ร้องโดยขอให้ศาลสั่งห้ามภริยาไม่ให้เข้าจัดการในที่ดินสินบริคณห์เป็นการโต้แย้งสิทธิซึ่งได้ตั้งพิพาทกันในทางแพ่งจึงเป็นคดีมีข้อพิพาทอันจะต้องเริ่มคดีด้วยการทำเป็นคำฟ้องมายื่นต่อศาลเรียกเอาภริยาเข้ามาเป็นคู่ความเพื่อให้โอกาสแก่ภริยาต่อสู้คัดค้านป้องกันสิทธิและ เพื่อที่จะบังคับคดีเอาแก่ภริยาได้ตามคำร้องขอของผู้ร้อง จึงต้อง เสนอคดีโดยทำเป็นคำฟ้องมายื่นต่อศาล
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1167/2505
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจัดการมรดกโดยผู้จัดการหลายคนต้องใช้เสียงข้างมาก และทายาทหมดสิทธิจัดการเมื่อศาลตั้งผู้จัดการแล้ว
เมื่อศาลตั้งผู้จัดการมรดกไว้หลายคน และมิได้กำหนดสิทธิและหน้าที่ของแต่ละคนไว้โดยเฉพาะ การทำหน้าที่ของผู้จัดการมรดกนั้นจึงต้องถือเอาเสียงข้างมาก และนับแต่วันศาลตั้งผู้จัดการมรดกแล้ว บรรดาทายาททั้งหลายย่อมหมดสิทธิที่จะเข้าจัดการมรดก เพราะมิฉะนั้นจะเป็นการจัดการมรดกซ้อนอำนาจผู้จัดการมรดกที่ศาลตั้ง
จำเลยเช่าที่ดินมรดกจากผู้จัดการมรดกที่ศาลตั้งคนหนึ่งโดยผู้จัดการมรดกร่วมคนอื่นมิได้รู้เห็นด้วย ดังนี้ถือว่าเป็นการเช่าจากบุคคลที่ไม่มีอำนาจให้เช่าได้ตามกฎหมาย จำเลยจึงอ้างสิทธิการเช่านั้นไม่ได้
จำเลยเช่าที่ดินมรดกจากผู้จัดการมรดกที่ศาลตั้งคนหนึ่งโดยผู้จัดการมรดกร่วมคนอื่นมิได้รู้เห็นด้วย ดังนี้ถือว่าเป็นการเช่าจากบุคคลที่ไม่มีอำนาจให้เช่าได้ตามกฎหมาย จำเลยจึงอ้างสิทธิการเช่านั้นไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1631/2503 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจจัดการทรัพย์สินของวัด และอำนาจฟ้องร้อง กรณีการก่อสร้างที่ไม่ได้รับอนุญาต
วัดซึ่งเป็นนิติบุคคลย่อมมีอำนาจจัดการทรัพย์สมบัติของวัดได้ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2484 มาตรา 43 แต่ศาสนสมบัติของวัดก็ต้องเป็นไปตามระเบียบซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้ตราไว้ด้วยความเห็นชอบของคณะสังฆมนตรีตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2484 มาตรา 49
ฟ้องว่าวัดโจทก์จ้างผู้รับเหมาปลูกสร้างตึกแถวในที่ดินของวัด ระหว่างก่อสร้างจำเลยเข้าดำเนินงานก่อสร้างเอง โดยโจทก์ไม่ยินยอม เมื่อจำเลยต่อสู้ว่า จำเลยมีอำนาจจัดการได้ตามกฎหมาย ตามระเบียบการจัดประโยชน์ศาสนสมบัติ และต่อสู้ว่า จำเลยทำตามคำสั่งของสังฆายกและสังฆมนตรีว่าการองค์การปกครองซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาของเจ้าอาวาสวัดโจทก์ดังนี้ กรณีเป็นเรื่องที่จะต้องฟังข้อเท็จจริงต่อไปและโจทก์มีอำนาจฟ้องจำเลยโดยลำพังได้
ฟ้องว่าวัดโจทก์จ้างผู้รับเหมาปลูกสร้างตึกแถวในที่ดินของวัด ระหว่างก่อสร้างจำเลยเข้าดำเนินงานก่อสร้างเอง โดยโจทก์ไม่ยินยอม เมื่อจำเลยต่อสู้ว่า จำเลยมีอำนาจจัดการได้ตามกฎหมาย ตามระเบียบการจัดประโยชน์ศาสนสมบัติ และต่อสู้ว่า จำเลยทำตามคำสั่งของสังฆายกและสังฆมนตรีว่าการองค์การปกครองซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาของเจ้าอาวาสวัดโจทก์ดังนี้ กรณีเป็นเรื่องที่จะต้องฟังข้อเท็จจริงต่อไปและโจทก์มีอำนาจฟ้องจำเลยโดยลำพังได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1631/2503
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจจัดการทรัพย์สินวัด และสิทธิในการฟ้องคดีละเมิดต่อการก่อสร้างที่ไม่ได้รับอนุญาต
วัดซึ่งเป็นนิติบุคคลย่อมมีอำนาจจัดการทรัพย์สมบัติของวัดได้ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ.2484 มาตรา 43 แต่ศาสนสมบัติของวัดก็ต้องเป็นไปตามระเบียบซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้ตราไว้ด้วยความเห็นชอบของคณะสังฆมนตรีตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ.2484 มาตรา 49
ฟ้องว่าวัดโจทก์จ้างผู้รับเหมาปลูกสร้างตึกแถวในที่ดินของวัดระหว่างก่อสร้างจำเลยเข้าดำเนินงานก่อสร้างเอง โดยโจทก์ไม่ยินยอม เมื่อจำเลยต่อสู้ว่าจำเลยมีอำนาจจัดการได้ตามกฎหมาย ตามระเบียบการจัดประโยชน์ศาสนสมบัติและต่อสู้ว่าจำเลยทำตามคำสั่งของสังฆนายกและสังฆมนตรีว่าการองค์การปกครองซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาของเจ้าอาวาสวัดโจทก์ ดังนี้ กรณีเป็นเรื่องที่จะต้องฟังข้อเท็จจริงต่อไปและโจทก์มีอำนาจฟ้องจำเลยโดยลำพังได้ ไม่จำเป็นต้องฟ้องสังฆนายกหรือสังฆมนตรีว่าการองค์การปกครองด้วย
ฟ้องว่าวัดโจทก์จ้างผู้รับเหมาปลูกสร้างตึกแถวในที่ดินของวัดระหว่างก่อสร้างจำเลยเข้าดำเนินงานก่อสร้างเอง โดยโจทก์ไม่ยินยอม เมื่อจำเลยต่อสู้ว่าจำเลยมีอำนาจจัดการได้ตามกฎหมาย ตามระเบียบการจัดประโยชน์ศาสนสมบัติและต่อสู้ว่าจำเลยทำตามคำสั่งของสังฆนายกและสังฆมนตรีว่าการองค์การปกครองซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาของเจ้าอาวาสวัดโจทก์ ดังนี้ กรณีเป็นเรื่องที่จะต้องฟังข้อเท็จจริงต่อไปและโจทก์มีอำนาจฟ้องจำเลยโดยลำพังได้ ไม่จำเป็นต้องฟ้องสังฆนายกหรือสังฆมนตรีว่าการองค์การปกครองด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 870/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจผู้จัดการมรดกจัดการทรัพย์สินทั้งหมด และสิทธิในที่ดินของคนต่างด้าว
ผู้จัดการมรดกย่อมมีอำนาจจัดการทรัพย์สินอันเป็นมรดกของผู้วายชนม์ทั้งหมดรวมทั้งทรัพย์ที่มิได้ระบุไว้ต่อศาลก็ดี
คนต่างด้าวจะมีที่ดินได้หรือไม่นั้นเป็นเรื่องระหว่างรัฐกับคนต่างด้าว อนึ่งพ.ร.บ.ดังกล่าวก็หาได้บัญญัติห้ามโดยเด็ดขาดไม่ให้คนต่างด้าวมีที่ดินได้ คนต่างด้าวอาจมีที่ดินได้ เมื่อคดีนี้เป็นกรณีพิพาทเกี่ยวกับสิทธิของผู้ตายเป็นผู้ออกเงินซื้อที่พิพาทกับจำเลยผู้มีชื่อเป็นผู้ซื้อแทนผู้ตาย ฉะนั้นผู้ตายจึงมีสิทธิเหนือจำเลยในที่ดิน จำเลยอยู่ในที่พิพาทก็โดยอาศัยสิทธิของผู้ตายโจทก์ในฐานะผู้จัดการมรดกของผู้ตายจึงมีสิทธิฟ้องขับไล่จำเลยได้ หาเป็นการขัดต่อ พ.ร.บ.ที่ดินในส่วนที่เกี่ยวกับคนต่างด้าวไม่
คนต่างด้าวจะมีที่ดินได้หรือไม่นั้นเป็นเรื่องระหว่างรัฐกับคนต่างด้าว อนึ่งพ.ร.บ.ดังกล่าวก็หาได้บัญญัติห้ามโดยเด็ดขาดไม่ให้คนต่างด้าวมีที่ดินได้ คนต่างด้าวอาจมีที่ดินได้ เมื่อคดีนี้เป็นกรณีพิพาทเกี่ยวกับสิทธิของผู้ตายเป็นผู้ออกเงินซื้อที่พิพาทกับจำเลยผู้มีชื่อเป็นผู้ซื้อแทนผู้ตาย ฉะนั้นผู้ตายจึงมีสิทธิเหนือจำเลยในที่ดิน จำเลยอยู่ในที่พิพาทก็โดยอาศัยสิทธิของผู้ตายโจทก์ในฐานะผู้จัดการมรดกของผู้ตายจึงมีสิทธิฟ้องขับไล่จำเลยได้ หาเป็นการขัดต่อ พ.ร.บ.ที่ดินในส่วนที่เกี่ยวกับคนต่างด้าวไม่