พบผลลัพธ์ทั้งหมด 66 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2748/2522 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เงินเพิ่มช่วยค่าครองชีพเป็นเงินเดือนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ไม่ตกเป็นทรัพย์สินในการบังคับคดี
คำว่าเงินเดือน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการจ่ายเงิน ฯลฯ หมายความรวมถึง........เงินอื่นที่กระทรวงการคลังกำหนดให้เบิกจ่ายในลักษณะเงินเดือนและคำว่าเงินที่เพิ่มช่วยค่าครองชีพ ตามพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับเงินเพิ่มช่วยค่าครองชีพชั่วคราว พ.ศ. 2521 มาตรา 4 หมายความถึงเงินสวัสดิการเกี่ยวกับเงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราวที่จ่ายช่วยเหลือข้าราชการหรือลูกจ้างตามภาวะเศรษฐกิจ และตามพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว มาตรา 7 ให้นำพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการจ่ายเงินเดือน ฯลฯ มาใช้บังคับในการจ่ายเงินเพิ่มค่าครองชีพโดยอนุโลม ดังนั้น เงินเพิ่มช่วยค่าครองชีพก็คือ เงินอื่นที่กระทรวงการคลังกำหนดให้เบิกจ่ายแก่ข้าราชการหรือลูกจ้างในลักษณะเงินเดือนจึงเป็นเงินเดือนตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 286 (2) ไม่ตกอยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2748/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เงินเพิ่มช่วยค่าครองชีพ (พ.ช.ค.) เป็นเงินเดือนตามกฎหมาย ไม่ตกเป็นเป้าบังคับคดี
คำว่าเงินเดือน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการจ่ายเงินเดือน ฯลฯ หมายความรวมถึง.....เงินอื่นที่กระทรวงการคลังกำหนดให้เบิกจ่ายในลักษณะเงินเดือนและคำว่าเงินเพิ่มช่วยค่าครองชีพ ตามพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการ เกี่ยวกับเงินเพิ่มช่วยค่าครองชีพชั่วคราวพ.ศ.2521 มาตรา 4 หมายความถึงเงินสวัสดิการเกี่ยวกับเงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราวที่จ่ายช่วยเหลือข้าราชการหรือ ลูกจ้างตามภาวะเศรษฐกิจ และตามพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว มาตรา 7 ให้นำพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการจ่ายเงินเดือน ฯลฯ มาใช้บังคับในการจ่ายเงินเพิ่มค่าครองชีพโดยอนุโลม ดังนั้นเงินเพิ่มช่วยค่าครองชีพก็คือเงิน อื่นที่กระทรวงการคลังกำหนดให้เบิกจ่ายแก่ข้าราชการหรือลูกจ้างในลักษณะเงินเดือนจึงเป็นเงินเดือนตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 286(2) ไม่ตกอยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 725/2519 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาฝึกงานและข้อตกลงเรื่องเงินเดือนที่บริษัทกำหนดได้ ศาลฎีกาเห็นว่าไม่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรม
สัญญาที่โจทก์จัดส่งและออกค่าใช้จ่ายให้จำเลยไปฝึกงาน เมื่อจำเลยฝึกงานสำเร็จแล้ว จำเลยจะทำงานให้โจทก์ชั่วระยะเวลาหนึ่ง โดยยอมให้โจทก์กำหนดอัตราเงินเดือนของจำเลยได้ตามความพอใจแต่ฝ่ายเดียวนั้น เป็นสัญญาต่างตอบแทนที่โจทก์จำเลยสมัครใจทำกันเอง ไม่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 725/2519
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาฝึกงานและข้อผูกพันหลังฝึกงาน: สัญญาไม่ขัดต่อความสงบเรียบร้อย แม้มีข้อตกลงเรื่องเงินเดือนที่ไม่เป็นธรรม
โจทก์ออกเงินส่งจำเลยไปฝึกงานที่ญี่ปุ่น จำเลยจะกลับมาทำงานให้โจทก์ 5 ปี ตามอัตราเงินเดือนที่โจทก์กำหนด ไม่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยของประชาชน จำเลยทำงานให้โจทก์ 1 ปี 3 เดือนก็ลาออกจำเลยผิดสัญญา ศาลให้จำเลยใช้ค่าเสียหาย 45,000 บาท
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1716/2514 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สถานะลูกจ้างการรถไฟฯ ไม่ใช่คนงานของรัฐฯ เงินเดือนตกอยู่ในบังคับการบังคับคดี
ลูกจ้างของการรถไฟแห่งประเทศไทย ไม่เป็นคนงานของรัฐบาลตามความหมายของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 286(2) (วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 24/2514)
เมื่อลูกจ้างของการรถไฟแห่งประเทศไทยมิใช่คนงานของรัฐบาลเงินเดือนหรือค่าจ้างของบุคคลนั้นจึงตกอยู่ในบังคับแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 286(3) ส่วนที่เกินกว่าเดือนละสี่สิบบาทอยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดีตามจำนวนที่ศาลจะกำหนดตามที่เห็นสมควรแก่พฤติการณ์แห่งคดี
เมื่อลูกจ้างของการรถไฟแห่งประเทศไทยมิใช่คนงานของรัฐบาลเงินเดือนหรือค่าจ้างของบุคคลนั้นจึงตกอยู่ในบังคับแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 286(3) ส่วนที่เกินกว่าเดือนละสี่สิบบาทอยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดีตามจำนวนที่ศาลจะกำหนดตามที่เห็นสมควรแก่พฤติการณ์แห่งคดี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1716/2514
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สถานะลูกจ้างการรถไฟฯ ไม่ใช่คนงานของรัฐฯ เงินเดือนบังคับคดีได้ตาม กม.วิธีพิจารณาความแพ่ง
ลูกจ้างของการรถไฟแห่งประเทศไทย ไม่เป็นคนงานของรัฐบาลตามความหมายของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 286(2)(วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 24/2514)
เมื่อลูกจ้างของการรถไฟแห่งประเทศไทยมิใช่คนงานของรัฐบาลเงินเดือนหรือค่าจ้างของบุคคลนั้นจึงตกอยู่ในบังคับแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 286(3) ส่วนที่เกินกว่าเดือนละสี่สิบบาทอยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดีตามจำนวนที่ศาลจะกำหนดตามที่เห็นสมควรแก่พฤติการณ์แห่งคดี
เมื่อลูกจ้างของการรถไฟแห่งประเทศไทยมิใช่คนงานของรัฐบาลเงินเดือนหรือค่าจ้างของบุคคลนั้นจึงตกอยู่ในบังคับแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 286(3) ส่วนที่เกินกว่าเดือนละสี่สิบบาทอยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดีตามจำนวนที่ศาลจะกำหนดตามที่เห็นสมควรแก่พฤติการณ์แห่งคดี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1381/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เงินสะสมข้าราชการมีสภาพเป็นเงินเดือน จึงไม่อยู่ในบังคับคดี
เงินสะสมของข้าราชการมีสภาพเป็นส่วนหนึ่งของเงินเดือนข้าราชการ จึงไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี โจทก์จะยึดหรืออายัดไม่ได้
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 27/2513)
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 27/2513)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1381/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เงินสะสมข้าราชการเป็นเงินเดือน จึงไม่อยู่ในความรับผิดบังคับคดี
เงินสะสมของข้าราชการมีสภาพเป็นส่วนหนึ่งของเงินเดือนข้าราชการจึงไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี โจทก์จะยึดหรืออายัดไม่ได้
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 27/2513)
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 27/2513)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 267/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การคำนวณบำเหน็จบำนาญสำหรับข้าราชการวิสามัญที่เปลี่ยนสถานะเป็นข้าราชการสามัญ ต้องพิจารณาช่วงเวลาที่รับเงินเดือนจากงบประมาณประเภทเงินเดือน
การนับเวลาราชการสำหรับคำนวณบำเหน็จบำนาญต้องนับแต่วันรับราชการรับเงินเดือนจากเงินงบประมาณประเภทเงินเดือน ซึ่งมิใช่อัตราข้าราชการวิสามัญหรือลูกจ้างตามพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2494 มาตรา 23
ระหว่างวันที่ 25 เมษายน 2477 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2479 โจทก์เป็นข้าราชการวิสามัญ ต่อมาโจทก์ได้รับแต่งตั้งให้เป็นข้าราชการสามัญเมื่อ พ.ศ. 2480 โดยเจ้ากระทรวงเห็นสมควรบรรจุในชั้นนั้นเข้าอันดับเงินเดือนเท่าที่ได้รับอยู่ โดยได้รับอนุมัติของก.พ. แล้ว ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2479 มาตรา 74 จึงเห็นได้ว่าการยกฐานะหรือเปลี่ยนฐานะของโจทก์เป็นไปโดยคำสั่งของเจ้ากระทรวงซึ่งเห็นสมควรบรรจุ หาใช่เป็นไปโดยกฎหมายบัญญัติไว้โดยเฉพาะไม่ จึงไม่ชอบที่จะนับระยะเวลาระหว่างที่เป็นข้าราชการวิสามัญดังกล่าวเป็นเวลาราชการสำหรับคำนวณบำเหน็จบำนาญตามพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2494 มาตรา 23 วรรค 2
ระหว่างวันที่ 25 เมษายน 2477 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2479 โจทก์เป็นข้าราชการวิสามัญ ต่อมาโจทก์ได้รับแต่งตั้งให้เป็นข้าราชการสามัญเมื่อ พ.ศ. 2480 โดยเจ้ากระทรวงเห็นสมควรบรรจุในชั้นนั้นเข้าอันดับเงินเดือนเท่าที่ได้รับอยู่ โดยได้รับอนุมัติของก.พ. แล้ว ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2479 มาตรา 74 จึงเห็นได้ว่าการยกฐานะหรือเปลี่ยนฐานะของโจทก์เป็นไปโดยคำสั่งของเจ้ากระทรวงซึ่งเห็นสมควรบรรจุ หาใช่เป็นไปโดยกฎหมายบัญญัติไว้โดยเฉพาะไม่ จึงไม่ชอบที่จะนับระยะเวลาระหว่างที่เป็นข้าราชการวิสามัญดังกล่าวเป็นเวลาราชการสำหรับคำนวณบำเหน็จบำนาญตามพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2494 มาตรา 23 วรรค 2
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 267/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การคำนวณบำเหน็จบำนาญข้าราชการ: เวลาราชการต้องเป็นช่วงที่รับเงินเดือนจากงบประมาณปกติ ไม่นับช่วงข้าราชการวิสามัญ
การนับเวลาราชการสำหรับคำนวณบำเหน็จบำนาญต้องนับแต่วันรับราชการรับเงินเดือนจากเงินงบประมาณประเภทเงินเดือน ซึ่งมิใช่อัตราข้าราชการวิสามัญหรือลูกจ้างตามพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2494 มาตรา 23
ระหว่างวันที่ 24 เมษายน 2477 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2479 โจทก์เป็นข้าราชการวิสามัญต่อมาโจทก์ได้รับแต่งตั้งให้เป็นข้าราชการสามัญเมื่อ พ.ศ.2480 โดยเจ้ากระทรวงเห็นสมควรบรรจุในชั้นนั้นเข้าอันดับเงินเดือนเท่าที่ได้รับอยู่ โดยได้รับอนุมัติของ ก.พ.แล้ว ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2479 มาตรา 74 จึงเห็นได้ว่าการยกฐานะหรือเปลี่ยนฐานะของโจทก์เป็นไปโดยคำสั่งของเจ้ากระทรวงซึ่งเห็นสมควรบรรจุหาใช่เป็นไปโดยกฎหมายบัญญัติไว้โดยเฉพาะไม่จึงไม่ชอบที่จะนับระยะเวลาระหว่างที่เป็นข้าราชการวิสามัญดังกล่าวเป็นเวลาราชการสำหรับคำนวณบำเหน็จบำนาญตามพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2494 มาตรา 23 วรรคสอง
ระหว่างวันที่ 24 เมษายน 2477 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2479 โจทก์เป็นข้าราชการวิสามัญต่อมาโจทก์ได้รับแต่งตั้งให้เป็นข้าราชการสามัญเมื่อ พ.ศ.2480 โดยเจ้ากระทรวงเห็นสมควรบรรจุในชั้นนั้นเข้าอันดับเงินเดือนเท่าที่ได้รับอยู่ โดยได้รับอนุมัติของ ก.พ.แล้ว ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2479 มาตรา 74 จึงเห็นได้ว่าการยกฐานะหรือเปลี่ยนฐานะของโจทก์เป็นไปโดยคำสั่งของเจ้ากระทรวงซึ่งเห็นสมควรบรรจุหาใช่เป็นไปโดยกฎหมายบัญญัติไว้โดยเฉพาะไม่จึงไม่ชอบที่จะนับระยะเวลาระหว่างที่เป็นข้าราชการวิสามัญดังกล่าวเป็นเวลาราชการสำหรับคำนวณบำเหน็จบำนาญตามพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2494 มาตรา 23 วรรคสอง