พบผลลัพธ์ทั้งหมด 74 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 466/2505 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสละมรดกก่อนเจ้ามรดกถึงแก่กรรมเป็นโมฆะ การฟ้องแบ่งมรดกมีผลเพิกถอนทะเบียนรับมรดก
การสละมรดก่อนเจ้ามรดกถึงแก่กรรมย่อมเสียไป และไม่มีทางแสดงเจตนา ให้สัญญานั้นกลับมีผลขึ้นได้อีกอย่างไร ฉะนั้น ถ้าเจ้ามรดกถึงแก่กรรมแล้ว ทายาทยังมีความตั้งใจสละมรดกอยู่เช่นเดิม ก็ต้องมีการแสดงเจตนาใหม่ให้ถูกต้องอีกชั้นหนึ่ง
โจทก์และจำเลยต่างเป็นทายาท เมื่อจำเลยไม่ยอมแบ่งที่พิพาทให้ โจทก์ย่อมฟ้องเรียกให้แบ่งได้ และมีผลเท่ากับขอเพิกถอนการจดทะเบียนรับมรดกของจำเลยอยู่ในตัวโดยโจทก์ไม่จำต้องขอให้เพิกถอนทะเบียนอย่างใด
โจทก์และจำเลยต่างเป็นทายาท เมื่อจำเลยไม่ยอมแบ่งที่พิพาทให้ โจทก์ย่อมฟ้องเรียกให้แบ่งได้ และมีผลเท่ากับขอเพิกถอนการจดทะเบียนรับมรดกของจำเลยอยู่ในตัวโดยโจทก์ไม่จำต้องขอให้เพิกถอนทะเบียนอย่างใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1569/2505 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การค้ำประกันหนี้หลังเจ้ามรดกเสียชีวิต และผลของการสละสิทธิอายุความมรดก
การแปลงหนี้โดยเปลี่ยนตัวลูกหนี้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 350นั้น ลูกหนี้เดิมจะต้องมีตัวอยู่และจะต้องกระทำโดยไม่ขืนใจลูกหนี้เดิม ถ้าลูกหนี้เดิมตายไปเสียแล้ว กรณีก็ไม่ใช่การแปลงหนี้
เมื่อลูกหนี้เงินกู้ตายไปแล้ว จำเลยได้ทำสัญญาให้โจทก็ไว้ในแบบพิมพ์สัญญาค้ำประกันให้ไว้ต่อเจ้าหนี้ว่า ตามที่ลูกหนี้ได้กู้เงินไปนั้น ลูกหนี้ตายไปแล้ว จำเลยยอมใช้ต้นเงินดอกเบี้ยให้เจ้าหนี้ ดังนี้ เป็นการแสดงเจตนาของจำเลยที่จะค้ำประกันหนี้
การที่จำเลยได้กำหนดเวลาชำระหนี้ภายในกำหนดเวลาซึ่งเกินกว่า 1 ปีนับแต่วันที่ลูกหนี้ตาย เป็นการสละข้อต่อสู้ในเรื่องอายุความมรดกซึ่งทายาทจะยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้ได้ ฉะนั้น แม้เจ้าหนี้จะหมดสิทธิเรียกร้องจากทายาทเพราะคดีขาดอายุความแล้ว ก็หาทำให้จำเลยยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้หรือหลุดพ้นความรับผิดไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 698 ด้วยไม่
เมื่อลูกหนี้เงินกู้ตายไปแล้ว จำเลยได้ทำสัญญาให้โจทก็ไว้ในแบบพิมพ์สัญญาค้ำประกันให้ไว้ต่อเจ้าหนี้ว่า ตามที่ลูกหนี้ได้กู้เงินไปนั้น ลูกหนี้ตายไปแล้ว จำเลยยอมใช้ต้นเงินดอกเบี้ยให้เจ้าหนี้ ดังนี้ เป็นการแสดงเจตนาของจำเลยที่จะค้ำประกันหนี้
การที่จำเลยได้กำหนดเวลาชำระหนี้ภายในกำหนดเวลาซึ่งเกินกว่า 1 ปีนับแต่วันที่ลูกหนี้ตาย เป็นการสละข้อต่อสู้ในเรื่องอายุความมรดกซึ่งทายาทจะยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้ได้ ฉะนั้น แม้เจ้าหนี้จะหมดสิทธิเรียกร้องจากทายาทเพราะคดีขาดอายุความแล้ว ก็หาทำให้จำเลยยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้หรือหลุดพ้นความรับผิดไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 698 ด้วยไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1569/2505
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การค้ำประกันหลังเจ้ามรดกเสียชีวิต และผลของการสละสิทธิอายุความมรดก
การแปลงหนี้โดยเปลี่ยนตัวลูกหนี้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 350 นั้น ลูกหนี้เดิมจะต้องมีตัวอยู่และจะต้องกระทำโดยไม่ขืนใจลูกหนี้เดิม ถ้าลูกหนี้เดิมตายไปเสียแล้ว กรณีก็ไม่ใช่การแปลงหนี้
เมื่อลูกหนี้เงินกู้ตายไปแล้ว จำเลยได้ทำสัญญาให้โจทก์ไว้ในแบบพิมพ์สัญญาค้ำประกันด้านหลังสัญญากู้รายนี้ ความว่า ขอทำสัญญาค้ำประกันให้ไว้ต่อเจ้าหนี้ว่า ตามที่ลูกหนี้ได้กู้เงินไปนั้น ลูกหนี้ตายไปแล้ว จำเลยยอมใช้ต้นเงินดอกเบี้ยให้เจ้าหนี้ ดังนี้ เป็นการแสดงเจตนาของจำเลยที่จะค้ำประกันหนี้
การที่จำเลยได้กำหนดเวลาชำระหนี้ภายในกำหนดเวลาซึ่งเกินกว่า 1 ปี นับแต่วันที่ลูกหนี้ตาย เป็นการสละข้อต่อสู้ในเรื่องอายุความมรดกซึ่งทายาทจะยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้ได้ ฉะนั้น แม้เจ้าหนี้จะหมดสิทธิเรียกร้องจากทายาทเพราะคดีขาดอายุความแล้ว ก็หาทำให้จำเลยยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้หรือหลุดพ้นความรับผิดไป ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา698 ด้วยไม่
เมื่อลูกหนี้เงินกู้ตายไปแล้ว จำเลยได้ทำสัญญาให้โจทก์ไว้ในแบบพิมพ์สัญญาค้ำประกันด้านหลังสัญญากู้รายนี้ ความว่า ขอทำสัญญาค้ำประกันให้ไว้ต่อเจ้าหนี้ว่า ตามที่ลูกหนี้ได้กู้เงินไปนั้น ลูกหนี้ตายไปแล้ว จำเลยยอมใช้ต้นเงินดอกเบี้ยให้เจ้าหนี้ ดังนี้ เป็นการแสดงเจตนาของจำเลยที่จะค้ำประกันหนี้
การที่จำเลยได้กำหนดเวลาชำระหนี้ภายในกำหนดเวลาซึ่งเกินกว่า 1 ปี นับแต่วันที่ลูกหนี้ตาย เป็นการสละข้อต่อสู้ในเรื่องอายุความมรดกซึ่งทายาทจะยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้ได้ ฉะนั้น แม้เจ้าหนี้จะหมดสิทธิเรียกร้องจากทายาทเพราะคดีขาดอายุความแล้ว ก็หาทำให้จำเลยยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้หรือหลุดพ้นความรับผิดไป ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา698 ด้วยไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 695/2503 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความคดีเบียดบังทรัพย์สิน: สิทธิของเจ้ามรดกตกทอดสู่ผู้รับมรดก
โจทก์เป็นผู้รับมรดก ฟ้องเรียกเงินของเจ้ามรดกที่มอบให้จำเลยเป็นผู้ไปรับแทน คดีเช่นนี้มีอายุความ 10 ปี นับตั้งแต่จำเลยเบียดบังเงินไว้ แต่ละ คราวเป็นตอน ๆ มา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 695/2503
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความคดีเบียดบังเงิน เจ้ามรดก/ผู้รับมรดก มีสิทธิเรียกคืนได้ภายใน 10 ปีนับจากวันที่จำเลยเบียดบัง
โจทก์เป็นผู้รับมรดก ฟ้องเรียกเงินของเจ้ามรดกที่มอบให้จำเลยเป็นผู้ไปรับแทนคดีเช่นนี้มีอายุความ 10 ปีนับตั้งแต่จำเลยเบียดบังเงินไว้แต่ละคราวเป็นตอนๆ มา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 668/2499
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องคดีมรดกต้องฟ้องภายใน 1 ปีนับแต่วันรู้ถึงการเสียชีวิตของเจ้ามรดก หากเกินกำหนดฟ้องขาดอายุความ
คดีมรดกต้องฟ้องภายใน 1 ปี นับแต่วันเจ้ามรดกตายหรือนับแต่เมื่อทายาทโดยธรรมได้รู้หรือควรจะได้รู้ถึงความตายของเจ้ามรดกตามมาตรา1754
โจทก์เป็นสามีผู้ตายเจ้ามรดก. เวลาเจ้ามรดกตายโจทก์ก็รู้และนับแต่วันตายมาถึงวันฟ้องเป็นเวลาเกิน 1 ปีแล้วทั้งมรดกที่พิพาทกันโจทก์ก็มิได้เป็นผู้ครอบครองร่วมกับจำเลย(มารดาผู้ตาย)เช่นนี้ โจทก์จะอ้างว่าโจทก์ถูกปิดบังทรัพย์โจทก์เพียงทราบว่าผู้ตายมีทรัพย์มรดกอยู่เมื่อระยะภายใน 1 ปีนี้เองอายุความตาม มาตรา 1754 ไม่บังคับถึงนั้นไม่ได้
โจทก์เป็นสามีผู้ตายเจ้ามรดก. เวลาเจ้ามรดกตายโจทก์ก็รู้และนับแต่วันตายมาถึงวันฟ้องเป็นเวลาเกิน 1 ปีแล้วทั้งมรดกที่พิพาทกันโจทก์ก็มิได้เป็นผู้ครอบครองร่วมกับจำเลย(มารดาผู้ตาย)เช่นนี้ โจทก์จะอ้างว่าโจทก์ถูกปิดบังทรัพย์โจทก์เพียงทราบว่าผู้ตายมีทรัพย์มรดกอยู่เมื่อระยะภายใน 1 ปีนี้เองอายุความตาม มาตรา 1754 ไม่บังคับถึงนั้นไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 930/2497 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การวินิจฉัยนอกประเด็นข้อพิพาทเรื่องสิทธิในมรดกและการตกได้ซึ่งทรัพย์มรดกเมื่อเจ้ามรดกถึงแก่ความตาย
โจทย์ฟ้องขอแบ่งมรดกโดยอ้างว่าเป็นบุตรอันชอบด้วย ก.ม.ของเจ้ามรดกเช่นนี้ศาลย่อมจะวินิจฉัยไปถึงโจทก์เป็นบุตรที่บิดาได้รับรองแล้วตาม ป.พ.พ.ม. 1627 จึงมีสิทธิได้รับมรดกตาม ม.1533 ด้วยไม่ได้ เป็นการวินิจฉัยนอกประเด็นข้อต่อสู้แห่งคดี
คำสั่งศาลว่าเป็นบุตรโดยชอบด้วย ก.ม.นั้นมีผลตั้งแต่วันที่คดีถึงที่สุด แต่ทรัพย์มรดกย่อมตกทอดแก่ทายาทในทันทีที่เจ้ามรดกดตาย ฉะนั้นเมื่อศาลสั่งว่าโจทก์เป็นบุตร์โดยชอบด้วย ก.ม.ภายหลังเจ้ามรดกตายแล้ว จึงไม่มีทรัพย์มรดกเหลืออยู่ โจทก์ไม่มีทางได้รับส่วนแบ่ง
คำสั่งศาลว่าเป็นบุตรโดยชอบด้วย ก.ม.นั้นมีผลตั้งแต่วันที่คดีถึงที่สุด แต่ทรัพย์มรดกย่อมตกทอดแก่ทายาทในทันทีที่เจ้ามรดกดตาย ฉะนั้นเมื่อศาลสั่งว่าโจทก์เป็นบุตร์โดยชอบด้วย ก.ม.ภายหลังเจ้ามรดกตายแล้ว จึงไม่มีทรัพย์มรดกเหลืออยู่ โจทก์ไม่มีทางได้รับส่วนแบ่ง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 489/2493 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมไม่ชัดเจน ทรัพย์สินพิพาทนอกพินัยกรรม ศาลพิจารณาเจตนาเจ้ามรดก
พินัยกรรมที่ระบุในตอนต้นว่ายกทรัพย์ที่มีอยู่และที่จะเกิดมาในภายหน้าให้ผู้รับพินัยกรรมคนเดียวนั้นแต่ในตอนต่อไปมีรายการทรัพย์ว่า ยกทรัพย์สิ่งใดให้บ้าง แต่ทรัพย์พิพาทไม่มีระบุไว้ในพินัยกรรม ซึ่งมีเหตุให้เห็นได้ว่า แจ้งมรดกมิให้มีเจตนาจะยกทรัพย์ที่พิพาทนี้ให้แก่ผู้รับพินยกรรมด้วย ดังมีทรัพย์พิพาทจึงเป็นทรัพย์มรดกนอกพินัยกรรม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 236/2493 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความมรดก: การฟ้องเรียกทรัพย์ที่ยืมจากเจ้ามรดกหลังรู้การเสียชีวิต เกิน 1 ปี ถือขาดอายุความ
ทรัพย์ที่เจ้ามฤดกยืมมา เจ้าหนี้จะฟ้องเรียกคืนจากทายาทเกิน 1 ปีนับแต่รู้ว่าเจ้ามฤดกตายนั้นไม่ได้ โดยถือว่าขาดอายุความตาม ป.ม. แพ่งฯ มาตรา 1754
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 236/2493
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความมรดก: การฟ้องเรียกทรัพย์สินจากทายาทหลังเจ้ามรดกเสียชีวิตเกิน 1 ปี
ทรัพย์ที่เจ้ามรดกยืมมา เจ้าหนี้จะฟ้องเรียกคืนจากทายาทเกิน 1 ปีนับแต่รู้ว่าเจ้ามรดกตายนั้นไม่ได้ โดยถือว่าขาดอายุความตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754