พบผลลัพธ์ทั้งหมด 88 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 161/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาจะซื้อขายไม่สมบูรณ์หากไม่ทำสัญญาหลัก การวางมัดจำยังไม่ผูกพัน
โจทก์ตกลงจะซื้อที่ดินพร้อมตึกแถวจากจำเลยด้วยเงินผ่อนได้วางเงินมัดจำไว้แล้วแต่มีข้อตกลงกันว่า จะทำหนังสือสัญญาจะซื้อขายกันอีกฉบับหนึ่ง เพื่อกำหนดการชำระเงินการแบ่งแยกโฉนดและการโอนกรรมสิทธิ์ หากโจทก์ไม่ทำสัญญาภายในกำหนด 1 เดือน ถือว่าโจทก์ไม่ซื้อ ยอมให้จำเลยริบเงินมัดจำได้ ดังนี้ หากโจทก์ไม่ยอมทำหนังสือสัญญาจะซื้อขายตามที่ตกลงกันไว้ ย่อมถือว่ายังมิได้มีสัญญาต่อกัน โจทก์จะหาว่าจำเลยผิดสัญญาและเรียกร้องให้จำเลยขายที่ดินพร้อมตึกแถวให้โจทก์หาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 161/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาจะซื้อขายไม่สมบูรณ์หากไม่ทำสัญญาหลัก การวางมัดจำยังไม่ผูกพัน
โจทก์ตกลงจะซื้อที่ดินพร้อมตึกแถวจากจำเลยด้วยเงินผ่อน. ได้วางเงินมัดจำไว้แล้ว.แต่มีข้อตกลงกันว่า จะทำหนังสือสัญญาจะซื้อขายกันอีกฉบับหนึ่ง เพื่อกำหนดการชำระเงินการแบ่งแยกโฉนดและการโอนกรรมสิทธิ์. หากโจทก์ไม่ทำสัญญาภายในกำหนด 1 เดือน ถือว่าโจทก์ไม่ซื้อ. ยอมให้จำเลยริบเงินมัดจำได้. ดังนี้ หากโจทก์ไม่ยอมทำหนังสือสัญญาจะซื้อขายตามที่ตกลงกันไว้. ย่อมถือว่ายังมิได้มีสัญญาต่อกัน. โจทก์จะหาว่าจำเลยผิดสัญญาและเรียกร้องให้จำเลยขายที่ดินพร้อมตึกแถวให้โจทก์หาได้ไม่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 640-654/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเรียกเก็บค่าภาคหลวงไม้หลังไม้สูญหาย ไม่มีสิทธิเรียกเก็บและหักเงินมัดจำ
ตามพระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ.2484 มาตรา 14 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย ฉบับที่ 3 พ.ศ.2494 ที่บัญญัติไว้ว่า ถ้าผู้รับอนุญาตไม่ชำระค่าภาคหลวงให้เสร็จสิ้นภายในกำหนดเวลาที่บัญญัติไว้. ให้ไม้ตกเป็นของแผ่นดินนั้น. แสดงอยู่ในตัวว่าโจทก์จะเรียกเก็บค่าภาคหลวงตามมาตรา 14(2) ได้ก็ต่อเมื่อมีไม้อยู่ในเวลาที่เรียกเก็บค่าภาคหลวง.มิฉะนั้นเมื่อผู้รับอนุญาตไม่ชำระ ก็ไม่มีไม้ตกเป็นของแผ่นดิน.
โจทก์มีหนังสือเรียกเก็บค่าภาคหลวงจากจำเลยภายหลังที่ไม้ซึ่งมีรอยตราค่าภาคหลวงสูญหายไปหมด ไม่มีไม้เหลืออยู่.จึงเป็นการเรียกเก็บค่าภาคหลวงที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย. ซึ่งโจทก์จะเอาเงินมัดจำการตรวจตีตราค่าภาคหลวงจำนวน 30,000บาท นั้นไปหักชำระเป็นส่วนหนึ่งของเงินค่าภาคหลวงไม่ได้.ทั้งโจทก์ไม่มีสิทธิที่จะฟ้องเรียกค่าภาคหลวงที่โจทก์ยังอ้างว่ายังขาดอยู่นั้นอีกด้วย. โจทก์ชอบที่จะคืนเงิน30,000 บาท ให้แก่จำเลยแต่ละรายตามส่วนการทำไม้ของจำเลย.
โจทก์เรียกเก็บค่าภาคหลวงจากจำเลยภายหลังที่ไม้ที่มีตราค่าภาคหลวงทั้ง 1,021 ท่อนนั้นได้สูญหายไปหมด ไม่มีไม้เหลืออยู่. จึงไม่มีไม้ที่ทำออกซึ่งจะต้องเสียค่าภาคหลวง. โจทก์จึงเอาเงิน 30,000 บาทมาหักกลบลบกับค่าภาคหลวง ซึ่งจำเลยจะต้องชำระตามที่โจทก์อ้างหาได้ไม่. จำเลยแต่ละรายมีสิทธิที่จะได้รับค่าภาคหลวงล่วงหน้าตามใบอนุญาตของตนคืน.
โจทก์มีหนังสือเรียกเก็บค่าภาคหลวงจากจำเลยภายหลังที่ไม้ซึ่งมีรอยตราค่าภาคหลวงสูญหายไปหมด ไม่มีไม้เหลืออยู่.จึงเป็นการเรียกเก็บค่าภาคหลวงที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย. ซึ่งโจทก์จะเอาเงินมัดจำการตรวจตีตราค่าภาคหลวงจำนวน 30,000บาท นั้นไปหักชำระเป็นส่วนหนึ่งของเงินค่าภาคหลวงไม่ได้.ทั้งโจทก์ไม่มีสิทธิที่จะฟ้องเรียกค่าภาคหลวงที่โจทก์ยังอ้างว่ายังขาดอยู่นั้นอีกด้วย. โจทก์ชอบที่จะคืนเงิน30,000 บาท ให้แก่จำเลยแต่ละรายตามส่วนการทำไม้ของจำเลย.
โจทก์เรียกเก็บค่าภาคหลวงจากจำเลยภายหลังที่ไม้ที่มีตราค่าภาคหลวงทั้ง 1,021 ท่อนนั้นได้สูญหายไปหมด ไม่มีไม้เหลืออยู่. จึงไม่มีไม้ที่ทำออกซึ่งจะต้องเสียค่าภาคหลวง. โจทก์จึงเอาเงิน 30,000 บาทมาหักกลบลบกับค่าภาคหลวง ซึ่งจำเลยจะต้องชำระตามที่โจทก์อ้างหาได้ไม่. จำเลยแต่ละรายมีสิทธิที่จะได้รับค่าภาคหลวงล่วงหน้าตามใบอนุญาตของตนคืน.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1305/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาจะซื้อจะขาย/เช่า และการชำระหนี้ที่ไม่เป็นไปตามสัญญา: สิทธิในการรับคืนเงินมัดจำ
ชาวตลาดกับโจทก์ตั้งจำเลยที่ 2,3,4 กับ บ. เป็นตัวแทนให้มีอำนาจตกลงกับ ส. และจำเลยที่ 1เกี่ยวกับการก่อสร้างและการเช่า โจทก์ได้ปฏิบัติตามสัญญาโดยวางเงินมัดจำช่วยค่าก่อสร้างแล้ว แม้จะปรากฏว่าผู้เช่าห้องบางรายมิได้วางเงินตามข้อสัญญา ดังนี้ จะถือว่าโจทก์ผิดสัญญาด้วยหาได้ไม่ เพราะต้องถือว่าชาวตลาดที่ลงชื่อในหนังสือแต่งตั้งจำเลยที่ 2,3 และ 4 กับ บ. เป็นตัวแทน ไม่ได้เป็นตัวการร่วมกัน จำเลยที่ 2,3 และ 4 กับ บ. มีอำนาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนชาวตลาดแต่ละคนนั้นแยกเป็นรายๆกัน
จำเลยรับเหมาปลูกสร้างตึกแถว โจทก์ประสงค์จะเช่าโดยยอมเสียเงินกินเปล่า จึงได้วางเงินมัดจำช่วยค่าก่อสร้าง แต่จำเลยก่อสร้างตึกแถวไม่ได้ เพราะกำลังเป็นความกับบุคคลภายนอกซึ่งเป็นผู้เช่าที่ดินจากกรมการศาสนาและเป็นผู้จ้างจำเลยปลูกสร้าง ดังนี้ ถือว่าจำเลยไม่อยู่ในฐานะที่จะทำการชำระหนี้ฝ่ายตนตอบแทนโจทก์ได้ ถือไม่ได้ว่าการที่โจทก์ยังไม่ออกไปจากห้องเช่าเดิมเป็นความผิดของโจทก์ จำเลยจะริบมัดจำของโจทก์ไว้ไม่ได้
จำเลยไม่สามารถทำการก่อสร้างตลาดได้เพราะกรมการศาสนาบอกเลิกสัญญาเช่าที่ดินที่ปลูกสร้างตลาดกับส. กรณีจึงเข้ามาตรา 378(3) จำเลยจึงต้องคืนมัดจำให้โจทก์
จำเลยเป็นตัวแทนรับมอบอำนาจทั่วไป ไม่มีการมอบอำนาจโดยชัดแจ้งตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 801 จึงไม่มีอำนาจทำสัญญาประนีประนอมยอมความให้เป็นการผูกพันชาวตลาด ซึ่งเป็นตัวการไม่ให้เรียกคืนเงินมัดจำได้
จำเลยรับเหมาปลูกสร้างตึกแถว โจทก์ประสงค์จะเช่าโดยยอมเสียเงินกินเปล่า จึงได้วางเงินมัดจำช่วยค่าก่อสร้าง แต่จำเลยก่อสร้างตึกแถวไม่ได้ เพราะกำลังเป็นความกับบุคคลภายนอกซึ่งเป็นผู้เช่าที่ดินจากกรมการศาสนาและเป็นผู้จ้างจำเลยปลูกสร้าง ดังนี้ ถือว่าจำเลยไม่อยู่ในฐานะที่จะทำการชำระหนี้ฝ่ายตนตอบแทนโจทก์ได้ ถือไม่ได้ว่าการที่โจทก์ยังไม่ออกไปจากห้องเช่าเดิมเป็นความผิดของโจทก์ จำเลยจะริบมัดจำของโจทก์ไว้ไม่ได้
จำเลยไม่สามารถทำการก่อสร้างตลาดได้เพราะกรมการศาสนาบอกเลิกสัญญาเช่าที่ดินที่ปลูกสร้างตลาดกับส. กรณีจึงเข้ามาตรา 378(3) จำเลยจึงต้องคืนมัดจำให้โจทก์
จำเลยเป็นตัวแทนรับมอบอำนาจทั่วไป ไม่มีการมอบอำนาจโดยชัดแจ้งตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 801 จึงไม่มีอำนาจทำสัญญาประนีประนอมยอมความให้เป็นการผูกพันชาวตลาด ซึ่งเป็นตัวการไม่ให้เรียกคืนเงินมัดจำได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1305/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่า, มัดจำ, การไม่ชำระหนี้, ตัวแทน, และข้อยกเว้นการริบมัดจำ
ชาวตลาดกับโจทก์ตั้งจำเลยที่ 2,3,4 กับ บ. เป็นตัวแทน. ให้มีอำนาจตกลงกับ ส. และจำเลยที่ 1เกี่ยวกับการก่อสร้างและการเช่า. โจทก์ได้ปฏิบัติตามสัญญาโดยวางเงินมัดจำช่วยค่าก่อสร้างแล้ว. แม้จะปรากฏว่าผู้เช่าห้องบางรายมิได้วางเงินตามข้อสัญญา. ดังนี้ จะถือว่าโจทก์ผิดสัญญาด้วยหาได้ไม่. เพราะต้องถือว่าชาวตลาดที่ลงชื่อในหนังสือแต่งตั้งจำเลยที่ 2,3 และ 4กับ บ. เป็นตัวแทน ไม่ได้เป็นตัวการร่วมกัน. จำเลยที่2,3 และ 4 กับ บ. มีอำนาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนชาวตลาดแต่ละคนนั้นแยกเป็นรายๆกัน.
จำเลยรับเหมาปลูกสร้างตึกแถว. โจทก์ประสงค์จะเช่าโดยยอมเสียเงินกินเปล่า จึงได้วางเงินมัดจำช่วยค่าก่อสร้าง. แต่จำเลยก่อสร้างตึกแถวไม่ได้ เพราะกำลังเป็นความกับบุคคลภายนอกซึ่งเป็นผู้เช่าที่ดินจากกรมการศาสนาและเป็นผู้จ้างจำเลยปลูกสร้าง. ดังนี้ ถือว่าจำเลยไม่อยู่ในฐานะที่จะทำการชำระหนี้ฝ่ายตนตอบแทนโจทก์ได้. ถือไม่ได้ว่าการที่โจทก์ยังไม่ออกไปจากห้องเช่าเดิมเป็นความผิดของโจทก์ จำเลยจะริบมัดจำของโจทก์ไว้ไม่ได้.
จำเลยไม่สามารถทำการก่อสร้างตลาดได้เพราะกรมการศาสนาบอกเลิกสัญญาเช่าที่ดินที่ปลูกสร้างตลาดกับส.. กรณีจึงเข้ามาตรา 378(3) จำเลยจึงต้องคืนมัดจำให้โจทก์.
จำเลยเป็นตัวแทนรับมอบอำนาจทั่วไป ไม่มีการมอบอำนาจโดยชัดแจ้งตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 801. จึงไม่มีอำนาจทำสัญญาประนีประนอมยอมความให้เป็นการผูกพันชาวตลาด.ซึ่งเป็นตัวการไม่ให้เรียกคืนเงินมัดจำได้.
จำเลยรับเหมาปลูกสร้างตึกแถว. โจทก์ประสงค์จะเช่าโดยยอมเสียเงินกินเปล่า จึงได้วางเงินมัดจำช่วยค่าก่อสร้าง. แต่จำเลยก่อสร้างตึกแถวไม่ได้ เพราะกำลังเป็นความกับบุคคลภายนอกซึ่งเป็นผู้เช่าที่ดินจากกรมการศาสนาและเป็นผู้จ้างจำเลยปลูกสร้าง. ดังนี้ ถือว่าจำเลยไม่อยู่ในฐานะที่จะทำการชำระหนี้ฝ่ายตนตอบแทนโจทก์ได้. ถือไม่ได้ว่าการที่โจทก์ยังไม่ออกไปจากห้องเช่าเดิมเป็นความผิดของโจทก์ จำเลยจะริบมัดจำของโจทก์ไว้ไม่ได้.
จำเลยไม่สามารถทำการก่อสร้างตลาดได้เพราะกรมการศาสนาบอกเลิกสัญญาเช่าที่ดินที่ปลูกสร้างตลาดกับส.. กรณีจึงเข้ามาตรา 378(3) จำเลยจึงต้องคืนมัดจำให้โจทก์.
จำเลยเป็นตัวแทนรับมอบอำนาจทั่วไป ไม่มีการมอบอำนาจโดยชัดแจ้งตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 801. จึงไม่มีอำนาจทำสัญญาประนีประนอมยอมความให้เป็นการผูกพันชาวตลาด.ซึ่งเป็นตัวการไม่ให้เรียกคืนเงินมัดจำได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 134/2507 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาจะซื้อขายและผลของการชำระเงินมัดจำ แม้ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือ
โจทก์จำเลยตกลงซื้อขายกระบือ 3 ตัว ราคา 6,000 บาท โจทก์ชำระเงินค่ากระบือให้แก่จำเลยแล้ว จำเลยรับว่าจะส่งกระบือทั้ง 3 ตัวให้แก่โจทก์ แต่แล้วจำเลยไม่นำกระบือไปให้โจทก์ตามที่ตกลงกัน ข้อตกลงเช่นนี้เข้าลักษณะสัญญาจะซื้อขาย เมื่อโจทก์ชำระเงินค่ากระบือให้แก่จำเลย ถือได้ว่ามีการชำระหนี้แล้ว โจทก์จึงฟ้องร้องบังคับคดีได้โดยไม่ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1087/2507
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อจำกัดการนำสืบข้อต่อสู้เปลี่ยนแปลงสัญญากู้เป็นมัดจำซื้อขาย และประเด็นการชำระหนี้ด้วยการโอนที่ดิน
เมื่อจำเลยให้การรับว่า ได้ทำหนังสือสัญญากู้เงินให้โจทก์ไว้จริง จำเลยจะขอนำสืบตามข้อต่อสู้ว่าหนังสือสัญญากู้นั้นทำขึ้นแทนหนังสือวางเงินมัดจำในการที่จำเลยขายที่ดินให้โจทก์ไม่ได้ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94
จำเลยฎีกาอ้างว่า จำเลยมีสิทธินำสืบได้ว่า ได้มีการโอนที่ดินใช้หนี้เงินกู้ให้แก่โจทก์ อันเป็นการชำระหนี้อย่างอื่นแทนเงินกู้ให้แก่โจทก์แล้ว แต่ในคำให้การของจำเลยมิได้กล่าวตั้งเป็นประเด็นข้อนี้ไว้โดยชัดแจ้งก็ไม่มีประเด็นที่จำเลยจะนำสืบในข้อนี้ได้
จำเลยฎีกาอ้างว่า จำเลยมีสิทธินำสืบได้ว่า ได้มีการโอนที่ดินใช้หนี้เงินกู้ให้แก่โจทก์ อันเป็นการชำระหนี้อย่างอื่นแทนเงินกู้ให้แก่โจทก์แล้ว แต่ในคำให้การของจำเลยมิได้กล่าวตั้งเป็นประเด็นข้อนี้ไว้โดยชัดแจ้งก็ไม่มีประเด็นที่จำเลยจะนำสืบในข้อนี้ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1710/2500 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สำคัญผิดในสาระสำคัญแห่งนิติกรรมซื้อขายที่ดิน: การเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญาวางมัดจำ และการรับฟังพยานหลักฐาน
พฤติการณ์ที่นับว่าเป็นเรื่องสำคัญผิดในสาระสำคัญแห่งนิติกรรม
เมื่อสัญญาวางเงินมัดจำปรากฎชัดแจ้งว่าการซื้อขายที่ดินตกลงราคากัน 40,000 บาท โจทก์ได้วางเงินมัดจำให้จำเลยรับไปในวันทำสัญญา 30,000 บาท จำเลยจะอ้างและนำพยานบุคคลมาสืบว่าได้รับเงินไปในวันทำสัญญาเพียง 500 บาท ย่อมเป็นการสืบเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญาวางเงินมัดจำที่จำเลยทำให้โจทก์ยึดถือไว้ต้องห้ามตาม ป.วิ.แพ่ง ม.94
ในคดีฟ้องขอให้แสดงว่าสัญญาซื้อขายที่ดินเป็นโมฆะโดยอ้างว่าสำคัญผิดในสาระสำคัญแห่งนิติกรรม เมื่อจำเลยมิได้โต้เถียงในเรื่องความประมาทเลินเล่อ ฯ ไว้ในคำให้การ ก็ไม่มีประเด็นที่ศาลจะพึงรับพิจารณาวินิจฉัยให้.
เมื่อสัญญาวางเงินมัดจำปรากฎชัดแจ้งว่าการซื้อขายที่ดินตกลงราคากัน 40,000 บาท โจทก์ได้วางเงินมัดจำให้จำเลยรับไปในวันทำสัญญา 30,000 บาท จำเลยจะอ้างและนำพยานบุคคลมาสืบว่าได้รับเงินไปในวันทำสัญญาเพียง 500 บาท ย่อมเป็นการสืบเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญาวางเงินมัดจำที่จำเลยทำให้โจทก์ยึดถือไว้ต้องห้ามตาม ป.วิ.แพ่ง ม.94
ในคดีฟ้องขอให้แสดงว่าสัญญาซื้อขายที่ดินเป็นโมฆะโดยอ้างว่าสำคัญผิดในสาระสำคัญแห่งนิติกรรม เมื่อจำเลยมิได้โต้เถียงในเรื่องความประมาทเลินเล่อ ฯ ไว้ในคำให้การ ก็ไม่มีประเด็นที่ศาลจะพึงรับพิจารณาวินิจฉัยให้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 788/2499 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าเสียหายจากการผิดสัญญาซื้อขาย: ริบมัดจำ + ค่าเสียหายพิเศษที่คาดเห็นได้
ผู้ซื้อทำสัญญาซื้อแป้งจากผู้ขายโดยวางมัดจำไว้บางส่วน ผู้ขายจึงได้วางมัดจำซื้อแป้งจากบุคคลภายนอก ต่อมาผู้ซื้อผิดสัญญาไม่ซื้อแป้งจากผู้ขาย ๆ ย่อมมีสิทธิริบมัดจำเสีย ทั้งยังเรียกร้องให้ผู้ซื้อใช้เงินทดแทนตามจำนวนที่ผู้ขายได้ถูกบุคคลภายนอกริบเงินมัดจำไปด้วยได้ โดยถือว่าเป็นค่าเสียหายอันเกิดจากพฤติการณ์พิเศษ ทั้งนี้ในเมื่อเป็นพฤติการณ์ที่ผู้ซื้อพึงคาดล่วงหน้าได้แล้ว
การที่ผู้ซื้อไม่ซื้อแป้งทำให้แป้งเสื่อมคุณภาพต้องขายไปในราคาถูกก็ดี การที่ผู้ขายต้องขาดกำไรที่จะพึงได้จากการขายแป้งก็ดี เหล่านี้เป็นค่าเสียหายตามปกติ.
การที่ผู้ซื้อไม่ซื้อแป้งทำให้แป้งเสื่อมคุณภาพต้องขายไปในราคาถูกก็ดี การที่ผู้ขายต้องขาดกำไรที่จะพึงได้จากการขายแป้งก็ดี เหล่านี้เป็นค่าเสียหายตามปกติ.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 992/2497 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเกิดสัญญาระหว่างบริษัทกับคู่สัญญา แม้มีข้อโต้แย้งเรื่องอำนาจกรรมการผู้จัดการ สัญญาบังคับคดีได้หากมีการวางมัดจำ
โจทย์ฟ้องว่าจำเลยผิดสัญญาซื้อขายไม้เสากับบริษัทโจทก์ จำเลยตัดฟ้องว่ากรรมการผู้จัดการบริษัทโจทก์เซ็นชื่อในสัญญาซื้อขายโดยไม่มีอำนาจเป็นโมฆะ เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่าจำเลยทำสัญญาขายไม้กับบริษัทโจทก์และได้รับเงินมัดจำหรือชำระหนี้บางส่วนจากบริษัทโจทก์ไปแล้ว ก็ย่อมเกิดสัญญารระหว่างจำเลยกับบริษัทโจทก์ฟ้องร้องบังคับคดีกันได้ ฉะนั้นปัญหาว่ากรรมการผู้จัดการมีอำนาจเซ็นสัญญากับจำเลยหรือไม่ จึงไม่จำเป็นต้องวินิจฉัย