พบผลลัพธ์ทั้งหมด 87 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 832/2492 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อพิพาทเรื่องทรัพย์สินระหว่างพี่น้อง: การฟ้องแบ่งทรัพย์ต้องมีฐานะเป็นหุ้นส่วน
โจทก์ตั้งรูปคดีฟ้องร้องขอแบ่งทรัพย์โดยอ้างว่าลงทุนเป็นหุ้นส่วน เมื่อฟังไม่ได้ว่าลงทุนเป็นหุ้นส่วน คดีก็ไม่จำต้องวินิจฉัยถึงการแบ่งทรัพย์ต่อไป
คดีเกิดขึ้นเนื่องจากการแตกร้าวระหว่างพี่น้อง ซึ่งต่างไม่ยอมปรองดองกัน ศาลจึงสั่งให้รวมค่าฤชาธรรมเนียมทั้ง 2 ฝ่ายทั้ง 3 ศาลแล้วแบ่งกันเสียฝ่ายละครึ่งโดยไม่ต้องคำนึงถึงว่า ฝ่ายใดจะเป็นฝ่ายแพ้คดีในที่สุด.
คดีเกิดขึ้นเนื่องจากการแตกร้าวระหว่างพี่น้อง ซึ่งต่างไม่ยอมปรองดองกัน ศาลจึงสั่งให้รวมค่าฤชาธรรมเนียมทั้ง 2 ฝ่ายทั้ง 3 ศาลแล้วแบ่งกันเสียฝ่ายละครึ่งโดยไม่ต้องคำนึงถึงว่า ฝ่ายใดจะเป็นฝ่ายแพ้คดีในที่สุด.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 832/2492
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อพิพาทเรื่องทรัพย์สินระหว่างพี่น้อง: การฟ้องแบ่งทรัพย์ต้องอาศัยฐานะหุ้นส่วน
โจทก์ตั้งรูปคดีฟ้องร้องขอแบ่งทรัพย์โดยอ้างว่าลงทุนเป็นหุ้นส่วนเมื่อฟังไม่ได้ว่าลงทุนเป็นหุ้นส่วน คดีก็ไม่จำต้องวินิจฉัยถึงการแบ่งทรัพย์ต่อไป
คดีเกิดขึ้นเนื่องจากการแตกร้าวระหว่างพี่น้อง ซึ่งต่างไม่ยอมปรองดองกันศาลจึงสั่งให้รวมค่าฤชาธรรมเนียมทั้ง 2 ฝ่ายทั้ง 3 ศาลแล้วแบ่งกันเสียฝ่ายละครึ่งโดยไม่ต้องคำนึงถึงว่า ฝ่ายใดจะเป็นฝ่ายแพ้คดีในที่สุด
คดีเกิดขึ้นเนื่องจากการแตกร้าวระหว่างพี่น้อง ซึ่งต่างไม่ยอมปรองดองกันศาลจึงสั่งให้รวมค่าฤชาธรรมเนียมทั้ง 2 ฝ่ายทั้ง 3 ศาลแล้วแบ่งกันเสียฝ่ายละครึ่งโดยไม่ต้องคำนึงถึงว่า ฝ่ายใดจะเป็นฝ่ายแพ้คดีในที่สุด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 419/2492
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สินเดิมก่อนสมรส: ทรัพย์มรดกที่แบ่งร่วมกันระหว่างสมรส ไม่ถือเป็นสินสมรส
ทรัพย์ซึ่งเป็นมรดกตกทอดแก่สามีก่อนสมรสกับภรรยาและทายาทตกลงแบ่งปันกันในระหว่างสมรส ทรัพย์นั้นเป็นสินเดิมของสามี หาใช่เป็นสินสมรสไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1858/2492
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาแท้จริงในสัญญายอมความ: รายการทรัพย์ที่ระบุชัดเจนมีผลเหนือข้อความกว้างๆ ในตอนต้น
สัญญายอมความซึ่งข้อความตอนต้นกล่าวว่าให้แบ่งมรดกตามพินัยกรรม แต่ในตอนหลังของข้อเดียวกันนั้นระบุรายการทรัพย์ไว้ชัดแจ้งว่าให้แบ่งทรัพย์อย่างใด ให้ใคร และแบ่งกันอย่างไรซึ่งไม่ตรงกับพินัยกรรม ดังนี้ถือว่าคู่ความมีเจตนาอันแท้จริงที่จะแบ่งทรัพย์มรดกตามรายการที่ระบุในตอนหลัง
คดีที่ศาลพิพากษาตามยอมแล้ว หากมีข้อขัดข้องสงสัย ให้คู่ความร้องขอให้ศาลสั่งได้ เพราะเป็นเรื่องพิพาทกันด้วยเรื่องบังคับคดี มิใช่เรื่องที่อ้างว่าคำพิพากษาไม่เป็นไปตามยอม เมื่อศาลชั้นต้นสั่งอย่างไรแล้ว ต่อไปคู่ความก็มีสิทธิอุทธรณ์ฎีกาได้ตามวิธีพิจารณา
คดีที่ศาลพิพากษาตามยอมแล้ว หากมีข้อขัดข้องสงสัย ให้คู่ความร้องขอให้ศาลสั่งได้ เพราะเป็นเรื่องพิพาทกันด้วยเรื่องบังคับคดี มิใช่เรื่องที่อ้างว่าคำพิพากษาไม่เป็นไปตามยอม เมื่อศาลชั้นต้นสั่งอย่างไรแล้ว ต่อไปคู่ความก็มีสิทธิอุทธรณ์ฎีกาได้ตามวิธีพิจารณา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1055/2492 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องแบ่งสินสมรส และผลของพินัยกรรมเมื่อคู่สมรสถึงแก่กรรมก่อน
ป.ม.แพ่ง ฯ มาตรา 185 เป็นเรื่องของการขยายเวลาคือถ้าสิทธิเรียกร้องจะขาดอายุความสั้นกว่า 1 ปี ก็ให้ขยายออกไป 1 ปี ส่วนที่กฎหมายกำหนดให้มีอายุความฟ้องร้องเกินกว่า 1 ปี ก็ต้องเป็นไปตามบทบัญญัตินั้น จะนำมาตรานี้มาใช้บังคับ โดยย่นเวลาให้สั้นเข้านั้นหาได้ไม่
โจทก์,จำเลยหย่าขาดกันโดยคำพิพากษาของศาล โจทก์ฟ้องขอให้แบ่งทรัพย์อันเป็นส่วนสินสมรส เป็นคดีฟ้องเรียกทรัพย์สิน มีอายุความ 10 ปี ตาม ป.ม.แพ่ง ฯ มาตรา 164.แม้บิดามารดาจะทำพินัยกรรม์ร่วมกันก็ดี แต่เมื่อบิดาตายก่อน พินัยกรรม์ก็มีผลบังคับฉะเพาะส่วนของบิดาเท่านั้น
เงินผลประโยชน์อันเกิดจากสินสมรสนั้น จำเลยซึ่งถูกฟ้องขอแบ่งจะหักไว้ได้ก็ฉะเพาะค่ารักษาทรัพย์สิน ซึ่งเป็นประโยชน์ร่วมกัน ส่วนเงินค่ากินอยู่ของจำเลยและบุตรโจทก์จำเลยนั้นเป็นคนละประเภท จำเลยไม่ได้ฟ้องแย้ง ก็หักให้ไม่ได้.
โจทก์,จำเลยหย่าขาดกันโดยคำพิพากษาของศาล โจทก์ฟ้องขอให้แบ่งทรัพย์อันเป็นส่วนสินสมรส เป็นคดีฟ้องเรียกทรัพย์สิน มีอายุความ 10 ปี ตาม ป.ม.แพ่ง ฯ มาตรา 164.แม้บิดามารดาจะทำพินัยกรรม์ร่วมกันก็ดี แต่เมื่อบิดาตายก่อน พินัยกรรม์ก็มีผลบังคับฉะเพาะส่วนของบิดาเท่านั้น
เงินผลประโยชน์อันเกิดจากสินสมรสนั้น จำเลยซึ่งถูกฟ้องขอแบ่งจะหักไว้ได้ก็ฉะเพาะค่ารักษาทรัพย์สิน ซึ่งเป็นประโยชน์ร่วมกัน ส่วนเงินค่ากินอยู่ของจำเลยและบุตรโจทก์จำเลยนั้นเป็นคนละประเภท จำเลยไม่ได้ฟ้องแย้ง ก็หักให้ไม่ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 759/2491 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแบ่งทรัพย์มรดก: สิทธิเรียกร้องแบ่งทรัพย์ยังไม่ขาดอายุความ แม้มีการตกลงแบ่งกันไว้ แต่ยังไม่ได้แบ่งจริง
เมื่อเจ้ามฤดกตายแล้ว ผู้รับมฤดกได้ทำสัญญาตกลงแบ่งทรัพย์กันคนละส่วน แต่ยังไม่ได้แบ่งปันกัน และมอบเงินประกันการค้าน้ำมันกับบริษัทน้ำมัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกองมฤดก ให้อยู่ในความควบคุมดูแลของจำเลย ดั่งนี้ ถือว่าทายาทต่างยังเป็นเจ้าของรวมในเงินประกันนั้น จะนำมาตรา 1754 ป.พ.พ.มาใช้บังคับไม่ได้
ป.พ.พ.มาตรา 1748 วรรค 2 บัญญัติว่า สิทธิที่จะเรียกให้แบ่งทรัพย์มฤดกตามวรรคก่อนจะตัดโดยนิติกรรมเกินคราวละสิบปีไม่ได้นั้น หมายความว่าทายาทจะทำความตกลงกันห้ามไม่ให้ใครเรียกให้แบ่งทรัพย์มฤดกก็ย่อมทำได้ แต่ในการที่จะทำนิติกรรมห้ามเรียกแบ่งทรัพย์มฤดกนั้น จะห้ามได้แต่เพียงคราวละสิบปี เมื่อพ้นกำหนด 10 ปีแล้ว ทายาทย่อมมีสิทธิจะเรียกให้แบ่งได้เสมอตามทรัพย์สิทธิของเขา จะแปลกลับเป็นว่า ทายาทจะเรียกให้แบ่งทรัพย์ไม่ได้ เมื่อเกินสิบปีแล้วนั้น ไม่ได้
ป.พ.พ.มาตรา 1748 วรรค 2 บัญญัติว่า สิทธิที่จะเรียกให้แบ่งทรัพย์มฤดกตามวรรคก่อนจะตัดโดยนิติกรรมเกินคราวละสิบปีไม่ได้นั้น หมายความว่าทายาทจะทำความตกลงกันห้ามไม่ให้ใครเรียกให้แบ่งทรัพย์มฤดกก็ย่อมทำได้ แต่ในการที่จะทำนิติกรรมห้ามเรียกแบ่งทรัพย์มฤดกนั้น จะห้ามได้แต่เพียงคราวละสิบปี เมื่อพ้นกำหนด 10 ปีแล้ว ทายาทย่อมมีสิทธิจะเรียกให้แบ่งได้เสมอตามทรัพย์สิทธิของเขา จะแปลกลับเป็นว่า ทายาทจะเรียกให้แบ่งทรัพย์ไม่ได้ เมื่อเกินสิบปีแล้วนั้น ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 759/2491
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแบ่งมรดก: สิทธิเรียกร้องแบ่งทรัพย์ยังคงมีอยู่ แม้จะมอบให้จัดการดูแล และข้อตกลงห้ามแบ่งเกิน 10 ปี
เมื่อเจ้ามรดกตายแล้ว ผู้รับมรดกได้ทำสัญญาตกลงแบ่งทรัพย์กันคนละส่วน แต่ยังไม่ได้แบ่งปันกัน และมอบเงินประกันการค้าน้ำมันกับบริษัทน้ำมัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกองมรดกให้อยู่ในความควบคุมดูแลของจำเลย ดั่งนี้ ถือว่าทายาทต่างยังเป็นเจ้าของรวมในเงินประกันนั้น จำนำมาตรา1754 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาใช้บังคับไม่ได้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1748 วรรค 2 บัญญัติว่าสิทธิที่จะเรียกให้แบ่งทรัพย์มรดกตามวรรคก่อนจะตัดโดยนิติกรรมเกินคราวละสิบปีไม่ได้นั้น หมายความว่าทายาทจะทำความตกลงกันห้ามไม่ให้ใครเรียกให้แบ่งทรัพย์มรดกก็ย่อมทำได้ แต่ในการที่จะทำนิติกรรมห้ามเรียกแบ่งทรัพย์มรดกนั้นจะห้ามได้แต่เพียงคราวละสิบปีเมื่อพ้นกำหนด 10 ปีแล้ว ทายาทย่อมมีสิทธิจะเรียกให้แบ่งได้เสมอตามทรัพยสิทธิของเขา จะแปลกลับเป็นว่าทายาทจะเรียกให้แบ่งทรัพย์ไม่ได้ เมื่อเกินสิบปีแล้วนั้นไม่ได้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1748 วรรค 2 บัญญัติว่าสิทธิที่จะเรียกให้แบ่งทรัพย์มรดกตามวรรคก่อนจะตัดโดยนิติกรรมเกินคราวละสิบปีไม่ได้นั้น หมายความว่าทายาทจะทำความตกลงกันห้ามไม่ให้ใครเรียกให้แบ่งทรัพย์มรดกก็ย่อมทำได้ แต่ในการที่จะทำนิติกรรมห้ามเรียกแบ่งทรัพย์มรดกนั้นจะห้ามได้แต่เพียงคราวละสิบปีเมื่อพ้นกำหนด 10 ปีแล้ว ทายาทย่อมมีสิทธิจะเรียกให้แบ่งได้เสมอตามทรัพยสิทธิของเขา จะแปลกลับเป็นว่าทายาทจะเรียกให้แบ่งทรัพย์ไม่ได้ เมื่อเกินสิบปีแล้วนั้นไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 168/2491 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองมรดกเกิน 1 ปี ทำให้เกิดสิทธิในทรัพย์มรดก และผลของการแบ่งทรัพย์มรดกตามการครอบครอง
ผู้มีสิทธิได้รับมฤดกเข้ามาอยู่+ที่มฤดกเมื่อ-เกิน 1 ปีนับแต่+มฤดกตาย ผู้รับมฤดกคนที่+ครองที่มฤดก ย่อมฟ้องขับไล่ได้
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยบุกรุกแย่งกรรมสิทธิที่ดินของโจทก์ 3 แปลง +ให้ห้ามมิให้เกี่ยวข้องต่อไปทาง พิจารณาได้ความว่าโจทก์เป็นเจ้าของเพียง 2 กะบิ้งเท่านั้น ศาล+พิพากษาห้ามจำเลยมิให้เกี่ยวข้อง +ที่ดิน 2 กะบิ้งอันเป้นของโจทก์+ได้
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยบุกรุกแย่งกรรมสิทธิที่ดินของโจทก์ 3 แปลง +ให้ห้ามมิให้เกี่ยวข้องต่อไปทาง พิจารณาได้ความว่าโจทก์เป็นเจ้าของเพียง 2 กะบิ้งเท่านั้น ศาล+พิพากษาห้ามจำเลยมิให้เกี่ยวข้อง +ที่ดิน 2 กะบิ้งอันเป้นของโจทก์+ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 122/2490 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หน้าที่นำสืบในคดีมรดก: จำเลยต้องนำสืบการยกทรัพย์ให้ก่อนตาย และข้อต่อสู้เรื่องแบ่งทรัพย์
คดีฟ้องแบ่งมฤดก จำเลยให้การต่อสู้ว่า ได้แบ่งทรัพย์กันเสร็จไปแล้ว โจทก์แถลงว่าให้เข้าครอบครองที่ดินสองแปลงจริง แต่ไม่ใช่เพราะจำเลยแบ่งให้ ดังนี้ไม่ใช่คำรับ จำเลยคงมีหน้าที่นำสืบตามข้อต่อสู้
เมื่อจำเลยรับว่า ทรัพย์ตามบัญชีท้ายฟ้องเป็นของเจ้ามฤดกแล้ว การที่จำเลยอ้างว่าเจ้ามฤดกยกให้ตนก่อนตาย ก็เป็นหน้าที่ของจำเลยต้องนำสืบ
แม้ศาลกำหนดหน้าที่นำสืบไว้อย่างไร ถ้าคู่ความไม่สืบพะยาน ศาลก็วินิจฉัยให้แพ้ชนะตามแต่หน้าที่ที่จะต้องนำสืบตามกฎหมาย
เมื่อจำเลยรับว่า ทรัพย์ตามบัญชีท้ายฟ้องเป็นของเจ้ามฤดกแล้ว การที่จำเลยอ้างว่าเจ้ามฤดกยกให้ตนก่อนตาย ก็เป็นหน้าที่ของจำเลยต้องนำสืบ
แม้ศาลกำหนดหน้าที่นำสืบไว้อย่างไร ถ้าคู่ความไม่สืบพะยาน ศาลก็วินิจฉัยให้แพ้ชนะตามแต่หน้าที่ที่จะต้องนำสืบตามกฎหมาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 618/2488
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแบ่งทรัพย์มรดกกรณีภริยาหลายคนและการพิจารณาเรื่องสินเดิม
ฟ้องเรียกทรัพย์ของผู้ตายโดยฟ้องว่าเป็นผู้รับมฤดกและว่าจำเลยไม่ใช่ภริยาชอบด้วยกฎหมายของผู้ตาย ทางพิจารณาฟังได้ว่าจำเลยเป็นภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายและมีสิทธิควรได้ส่วนแบ่งมฤดก ดั่งนี้ศาลตัดสินแบ่งทรัพย์ระหว่างผัวเมียและแบ่งมฤดกได้ตาม ป.ม.วิ.แพ่ง มาตรา 142 (2)
ป.ม.แพ่ง ฯ ม.1636 บัญญัติถึงกรณีเจ้ามฤดกมีภรรยาหลายคนให้ได้รับมฤดกตามลำดับชั้นและส่วนแบ่งดังระบุไว้ใน ม.1635 และบัญญัติให้ภริยาน้อยได้ส่วนแบ่งเพียงกึ่งส่วนของภริยาหลวง
คู่ความไม่ได้นำสืบถึงสินเดิมแต่ศาลอุทธรณ์ฟังว่าทั้งสองฝ่ายมีสินเดิม ฎีกาของจำเลยคัดค้านว่าไม่ชอบแต่มิได้กล่าวว่าการแบ่งเช่นนั้นจำเลยเสียเปรียบอย่างไรหรือควรแบ่งอย่างไร ฎีกาย่อมฟังไม่ขึ้น
ป.ม.แพ่ง ฯ ม.1636 บัญญัติถึงกรณีเจ้ามฤดกมีภรรยาหลายคนให้ได้รับมฤดกตามลำดับชั้นและส่วนแบ่งดังระบุไว้ใน ม.1635 และบัญญัติให้ภริยาน้อยได้ส่วนแบ่งเพียงกึ่งส่วนของภริยาหลวง
คู่ความไม่ได้นำสืบถึงสินเดิมแต่ศาลอุทธรณ์ฟังว่าทั้งสองฝ่ายมีสินเดิม ฎีกาของจำเลยคัดค้านว่าไม่ชอบแต่มิได้กล่าวว่าการแบ่งเช่นนั้นจำเลยเสียเปรียบอย่างไรหรือควรแบ่งอย่างไร ฎีกาย่อมฟังไม่ขึ้น