พบผลลัพธ์ทั้งหมด 94 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 205/2494 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับรองบุตรนอกกฎหมาย: สิทธิในการรับมรดก การรับรองโดยพฤติการณ์ย่อมเพียงพอ
บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้วไม่จำจะต้องเป็นการรับรองในทางจดทะเบียนรับรองบุตร การรับรองโดยกิริยาความประพฤติเป็นที่เปิดเผย ก็ย่อมเพียงพอให้บุตรนอกกฎหมายนั้นมีสิทธิรับมรดกเหมือนกับบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายได้
(อ้างฎีกาที่ 446/2493)
(อ้างฎีกาที่ 446/2493)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 446/2493 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิรับมรดกของบุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรอง แม้มิได้เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมาย
บุตรนอกกฎหมาย ซึ่งมีหลักฐานฟังได้ว่า บิดาได้รับรองว่าเป็นบุตรนั้น มีสิทธิรับมรดกของบิดา ตามป.ม.แพ่งฯมาตรา 1627
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1882/2493
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับรองบุตรโดยการแจ้งเกิดและอุปการะเลี้ยงดู ทำให้บุตรมีสิทธิรับมรดกได้ แม้ไม่ได้จดทะเบียนสมรส
ชายหญิงแต่งงานกันโดยไม่ได้จดทะเบียนสมรส ซึ่งถือว่าไม่เป็นผัวเมียกันโดยชอบด้วยกฎหมายนั้น เมื่อเกิดบุตรออกมา ชายได้แจ้งทะเบียนการเกิดของเด็กว่า เป็นบุตรของตนและชายได้อุปการะเลี้ยงดูเด็กกับแสดงกับคนอื่นทั่วๆไปว่าเป็นบุตรของตน ดังนี้ ถือว่าเด็กนั้นมีสิทธิรับมรดกของชายนั้นได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1182/2493
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
บุตรบุญธรรมตามกฎหมายเก่า: สิทธิรับมรดก vs. สิทธิครอบครอง
บุตรบุญธรรมตามกฎหมายเก่า ไม่ได้จดทะเบียนเป็นบุตรบุญธรรมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 นั้น ไม่มีสิทธิรับมรดกของผู้รับบุตรบุญธรรม (ประชุมใหญ่)
ฟ้องบรรยายว่าเป็นบุตรบุญธรรมของเจ้ามรดก เจ้ามรดกตายแล้วทรัพย์สินตกทอดมายังตนกับสามี ได้ครอบครองมาโดย ความสงบและเปิดเผยด้วยเจตนาเป็นเจ้าของติดต่อกันมา 6 ปี จำเลยเข้ามาไถหว่านในนาพิพาทนี้ จึงขอให้ขับไล่นั้นถือว่า โจทก์ได้อ้างสิทธิครอบครองทรัพย์พิพาทเป็นหลักแห่งข้อหาในการขอให้บังคับจำเลยด้วย มิใช่อ้างสิทธิรับมรดกแต่อย่างเดียว
ฟ้องบรรยายว่าเป็นบุตรบุญธรรมของเจ้ามรดก เจ้ามรดกตายแล้วทรัพย์สินตกทอดมายังตนกับสามี ได้ครอบครองมาโดย ความสงบและเปิดเผยด้วยเจตนาเป็นเจ้าของติดต่อกันมา 6 ปี จำเลยเข้ามาไถหว่านในนาพิพาทนี้ จึงขอให้ขับไล่นั้นถือว่า โจทก์ได้อ้างสิทธิครอบครองทรัพย์พิพาทเป็นหลักแห่งข้อหาในการขอให้บังคับจำเลยด้วย มิใช่อ้างสิทธิรับมรดกแต่อย่างเดียว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1063/2493
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสืบสายเลือดและสิทธิรับมรดก: ความสัมพันธ์ทางสายเลือดที่ถูกต้องตามกฎหมายเท่านั้นที่มีสิทธิ
บิดาโจทก์เป็นเพียงพี่ร่วมมารดา(ต่างบิดา)ของยายผู้ตายถือว่า โจทก์มิใช่ ลุง ป้า น้า อา ของผู้ตาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 232/2492
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการรับมรดกไม่ระงับ แม้มิได้อุทธรณ์คำพิพากษาชั้นต้น ทายาทมีสิทธิร้องขอส่วนแบ่งมรดกได้เสมอ
ศาลได้อนุญาตให้ผู้ร้องร้องขอแบ่งมรดกในฐานทายาทศาลชั้นต้นยกฟ้อง ผู้ร้องไม่ได้อุทธรณ์คำพิพากษาศาลชั้นต้นด้วยกับโจทก์นั้น หาใช่เป็นการสละมรดกตามกฎหมายหรือต้องด้วยบทบัญญัติแห่งกฎหมายใด ที่จะทำให้สิทธิในการรับมรดกของผู้ร้องต้องเสียไปไม่
ในระหว่างพิจารณาทายาทมีสิทธิที่จะร้องขอส่วนแบ่งมรดกในคดีที่ทายาทคนอื่นได้ฟ้องไว้แล้ว(ประชุมใหญ่ครั้งที่6-7/92)
ในระหว่างพิจารณาทายาทมีสิทธิที่จะร้องขอส่วนแบ่งมรดกในคดีที่ทายาทคนอื่นได้ฟ้องไว้แล้ว(ประชุมใหญ่ครั้งที่6-7/92)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 944/2491 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิรับมรดกแทนที่ของญาติลำดับ 6 แม้ญาติลำดับเดียวกันจะได้รับมรดกไปแล้ว
ข.เป็นพี่น้องร่วมบิดามารดากับ ล. ซึ่งเป็นมารดาของเจ้ามฤดก ป.เป็นพี่น้องร่วมบิดาแต่ต่างมารดากับ ล. ดังนี้ ช. และ ป. ย่อมเป็นน้าและอาของเจ้ามฤดก ทั้ง ช. และ ป. ย่อมเป็นญาติลำกัด 6 ในมาตรา 1629 เช่นเดียวกัน
ญาติลำดับ 6 ในมาตรา 1629 นี้ กฎหมายไม่ได้แยกญาติชิดและห่าง ดังในลำดับ 3 และ 4.
ญาติลำดับ 6 ในมาตรา 1629 ย่อมรับมฤดกแทนที่กันได้ตามมาตรา 1639.
ญาติลำดับ 6 ในมาตรา 1629 นี้ กฎหมายไม่ได้แยกญาติชิดและห่าง ดังในลำดับ 3 และ 4.
ญาติลำดับ 6 ในมาตรา 1629 ย่อมรับมฤดกแทนที่กันได้ตามมาตรา 1639.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 944/2491
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิรับมรดกแทนที่ของญาติลำดับ 6 แม้ญาติลำดับเดียวกันจะได้รับมรดกไปแล้ว
ช.เป็นพี่น้องร่วมบิดามารดากับ ล. ซึ่งเป็นมารดาของเจ้ามรดกป. เป็นพี่น้องร่วมบิดาแต่ต่างมารดากับ ล. ดังนี้ ช. และ ป. ย่อมเป็นน้าและอาของเจ้ามรดก ทั้ง ช. และ ป. ย่อมเป็นญาติลำดับ 6 ใน มาตรา1629 เช่นเดียวกัน
ญาติลำดับ 6 ใน มาตรา 1629 นี้ กฎหมายไม่ได้แยกญาติชิดและห่างดังในลำดับ 3 และ 4
ญาติลำดับ 6 ในมาตรา 1629 ย่อมรับมรดกแทนที่กันได้ตาม มาตรา 1639
ญาติลำดับ 6 ใน มาตรา 1629 นี้ กฎหมายไม่ได้แยกญาติชิดและห่างดังในลำดับ 3 และ 4
ญาติลำดับ 6 ในมาตรา 1629 ย่อมรับมรดกแทนที่กันได้ตาม มาตรา 1639
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 58/2491
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิรับมรดกของบุตรบุญธรรมและการแบ่งมรดกของทายาท
บุตรบุญธรรมจะมีสิทธิรับมรดกของผู้รับบุตรบุญธรรมได้ก็ต่อเมื่อได้จดทะเบียนการรับบุตรบุญธรรมแล้ว
โจทก์ฟ้องขอให้เอาทรัพย์มรดกของผู้ตายประมูลราคาหรือขายทอดตลาดแบ่งกันระหว่างโจทก์ซึ่งเป็นทายาท เมื่อได้ความว่า จำเลยก็เป็นทายาทมีสิทธิได้รับมรดก และโจทก์ก็มิได้คัดค้านในการที่ศาลจะแบ่งส่วนให้จำเลยด้วยดังนี้ศาลย่อมมีอำนาจพิพากษาแบ่งส่วนให้จำเลยด้วยได้และในคดีเช่นนี้ค่าฤชาธรรมเนียมทั้งค่าทนายศาลสั่งให้ชักจากกองมรดกก่อนแล้วจึงให้แบ่งกันระหว่างทายาท
โจทก์ฟ้องขอให้เอาทรัพย์มรดกของผู้ตายประมูลราคาหรือขายทอดตลาดแบ่งกันระหว่างโจทก์ซึ่งเป็นทายาท เมื่อได้ความว่า จำเลยก็เป็นทายาทมีสิทธิได้รับมรดก และโจทก์ก็มิได้คัดค้านในการที่ศาลจะแบ่งส่วนให้จำเลยด้วยดังนี้ศาลย่อมมีอำนาจพิพากษาแบ่งส่วนให้จำเลยด้วยได้และในคดีเช่นนี้ค่าฤชาธรรมเนียมทั้งค่าทนายศาลสั่งให้ชักจากกองมรดกก่อนแล้วจึงให้แบ่งกันระหว่างทายาท
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 210/2491 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิรับมฤดก: การเป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายหลังเจ้ามฤดกเสียชีวิตไม่มีผลต่อการรับมรดก
เจ้ามฤดกตาย มฤดกย่อมตกทอดทายาททันที บุคลธรรมดาที่จะเป็นทายาทและมีสิทธิรับมฤดกของ+ได้ นอกจากจะต้องมีสภาพ+สามารถมีสิทธิตาม ม.1604 +ยังต้องมีสิทธิที่จะรับมฤดกในขณะที่เจ้ามฤดกตายด้วย
ในกรณีที่มีคำพิพากษาว่าเป็นความชอบด้วยก.ม.นั้นมีผลนับตั้งแต่+พิพากษาถึงที่สุด ถ้าในขณะที่คำพิพากษาถึงที่สุดนั้น เป็นเวลาภายหลังเจ้ามฤดกตายแล้ว และไมามีมฤดก+ไม่มีทางจะให้เด็กคนน้นได้รับมฤดกได้
โจท์ฟ้องขอแบ่งมฤดกของบิดา+ข้อที่ศาลพิพากษา ว่าเป็น+นั้น ไม่มีประเด็นที่จะต้อง+ว่า เมื่อก่อนตาย บิดา+โจทก์ว่าเป็นบุตร อันจะทำมีสิทธิรับมฤดกตามป.พ.พ.ม.+หรือไม่ คงจะมีประเด็นข้อเถียง+ขอ งศาลที่แสดงไว้นั้น จะมีผลต่อโจทก์ในทางรับมฤดกอย่างไรหรือไม่
ในกรณีที่มีคำพิพากษาว่าเป็นความชอบด้วยก.ม.นั้นมีผลนับตั้งแต่+พิพากษาถึงที่สุด ถ้าในขณะที่คำพิพากษาถึงที่สุดนั้น เป็นเวลาภายหลังเจ้ามฤดกตายแล้ว และไมามีมฤดก+ไม่มีทางจะให้เด็กคนน้นได้รับมฤดกได้
โจท์ฟ้องขอแบ่งมฤดกของบิดา+ข้อที่ศาลพิพากษา ว่าเป็น+นั้น ไม่มีประเด็นที่จะต้อง+ว่า เมื่อก่อนตาย บิดา+โจทก์ว่าเป็นบุตร อันจะทำมีสิทธิรับมฤดกตามป.พ.พ.ม.+หรือไม่ คงจะมีประเด็นข้อเถียง+ขอ งศาลที่แสดงไว้นั้น จะมีผลต่อโจทก์ในทางรับมฤดกอย่างไรหรือไม่