พบผลลัพธ์ทั้งหมด 257 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 591/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หน้าที่นำสืบผู้ร้องขอเฉลี่ยทรัพย์: จำเลยไม่มีทรัพย์สินอื่นที่บังคับชำระได้
ผู้ร้องขอเข้าเฉลี่ยทรัพย์อ้างว่า จำเลยไม่มีทรัพย์สินอื่นใดอีกโจทก์คัดค้านว่าหนี้ตามคำพิพากษาที่ผู้ร้องขอเฉลี่ยนั้นเป็นหนี้สมยอมกันและจำเลยยังมีทรัพย์สินอื่นซึ่งผู้ร้องอาจเอาชำระหนี้ได้ ประเด็นตกหน้าที่ผู้ร้องต้องนำสืบก่อนว่า จำเลยไม่มีทรัพย์สินอื่นที่ผู้ร้องจะบังคับเอาได้อีกแล้วถ้าผู้ร้องไม่สืบพยาน ศาลยกคำร้องได้โดยไม่จำต้องวินิจฉัยประเด็นอื่น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1649/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หน้าที่นำสืบ - ฟ้องแย้ง - ที่ดินมือเปล่า: ศาลต้องแยกพิจารณาฟ้องแย้งเสมือนคดีใหม่ และพิจารณาหน้าที่นำสืบของแต่ละฝ่าย
เมื่อโจทก์ฟ้องและจำเลยทั้งสามให้การแล้ว เฉพาะจำเลยที่ 1ยังฟ้องแย้งโจทก์ และมีคำขอให้บังคับโจทก์ตามฟ้องแย้งด้วยแต่คำท้าของคู่ความที่ว่า ถ้าฝ่ายใดมีหน้าที่นำสืบก่อน ให้ฝ่ายนั้นแพ้คดีนั้น มิได้มีข้อจำกัดไว้ว่าให้วินิจฉัยจากฟ้องโจทก์กับคำให้การจำเลยอย่างเดียว จึงต้องแยกวินิจฉัยตามฟ้องแย้งของจำเลยที่ 1กับคำให้การแก้ฟ้องแย้งด้วย เสมือนเป็นคนละสำนวนกับฟ้องเดิมของโจทก์
ฟ้องของโจทก์อ้างว่า ที่นาพิพาทเป็นของโจทก์ ให้จำเลยที่ 1เช่าทำแล้วไม่ชำระค่าเช่า โจทก์จะเข้าทำ จำเลยทั้งสามกลับบุกรุกเข้าทำทั้งแปลง เป็นเหตุให้โจทก์เสียหาย จึงฟ้องเรียกค่าเช่ากับค่าเสียหายจำเลยทั้งสามให้การว่า จำเลยที่ 1 ไม่เคยเช่านาพิพาทจากโจทก์เมื่อ 12 ปีมานี้ โจทก์ขายนาพิพาทให้จำเลยที่ 1 แล้วมอบที่พิพาทให้จำเลยที่ 1 ครอบครองตลอดมาเกินกว่า 10 ปีจนบัดนี้ ไม่ใช่ที่ของโจทก์และจำเลยทั้งสามไม่เคยบุกรุกที่ดินโจทก์ ดังนี้ เป็นคำให้การปฏิเสธฟ้องโจทก์โดยตลอด และที่นาพิพาทเป็นที่ดินมือเปล่า ส.ค.1 ของโจทก์ไม่ใช่หนังสือสำคัญสำหรับที่พิพาทนี้ โจทก์จึงมีหน้าที่ต้องนำสืบก่อนว่าโจทก์ให้จำเลยที่ 1 เช่าทำนาพิพาทและจำเลยทั้งสามบุกรุกที่ของโจทก์จริงหรือไม่ เมื่อโจทก์ไม่นำสืบ โจทก์ก็ต้องแพ้คดีตามคำท้า คือยกฟ้องโจทก์สำหรับจำเลยทั้งสาม
ฟ้องแย้งของจำเลยที่ 1 ที่ว่าโจทก์ขายนาพิพาทให้จำเลยครอบครองตลอดมากว่า 10 ปี ไม่เคยเช่าจากโจทก์นั้น โจทก์ให้การปฏิเสธฟ้องแย้งอยู่ว่า ไม่เคยขายให้จำเลยที่ 1 จำเลยที่ 1 ทำนาอยู่โดยเช่าจากโจทก์ ดังนี้ แม้จะเป็นที่ดินมือเปล่า จำเลยที่ 1 ก็ยังมีหน้าที่ต้องนำสืบก่อนให้สมฟ้องแย้งจึงจะบังคับห้ามโจทก์เกี่ยวข้องกับที่พิพาทได้ตามคำขอท้ายฟ้องแย้ง ส่วนคำขอบังคับให้โจทก์โอนที่พิพาทต่อเจ้าพนักงานอำเภอนั้น บังคับไม่ได้ เพราะเป็นที่ดินมือเปล่า ศาลได้แต่พิพากษาว่าจำเลยที่ 1 มีสิทธิครอบครองที่พิพาทเท่านั้น เมื่อจำเลยที่ 1ไม่นำสืบ ก็ต้องยกฟ้องแย้งของจำเลยที่ 1 เช่นเดียวกัน
ฟ้องของโจทก์อ้างว่า ที่นาพิพาทเป็นของโจทก์ ให้จำเลยที่ 1เช่าทำแล้วไม่ชำระค่าเช่า โจทก์จะเข้าทำ จำเลยทั้งสามกลับบุกรุกเข้าทำทั้งแปลง เป็นเหตุให้โจทก์เสียหาย จึงฟ้องเรียกค่าเช่ากับค่าเสียหายจำเลยทั้งสามให้การว่า จำเลยที่ 1 ไม่เคยเช่านาพิพาทจากโจทก์เมื่อ 12 ปีมานี้ โจทก์ขายนาพิพาทให้จำเลยที่ 1 แล้วมอบที่พิพาทให้จำเลยที่ 1 ครอบครองตลอดมาเกินกว่า 10 ปีจนบัดนี้ ไม่ใช่ที่ของโจทก์และจำเลยทั้งสามไม่เคยบุกรุกที่ดินโจทก์ ดังนี้ เป็นคำให้การปฏิเสธฟ้องโจทก์โดยตลอด และที่นาพิพาทเป็นที่ดินมือเปล่า ส.ค.1 ของโจทก์ไม่ใช่หนังสือสำคัญสำหรับที่พิพาทนี้ โจทก์จึงมีหน้าที่ต้องนำสืบก่อนว่าโจทก์ให้จำเลยที่ 1 เช่าทำนาพิพาทและจำเลยทั้งสามบุกรุกที่ของโจทก์จริงหรือไม่ เมื่อโจทก์ไม่นำสืบ โจทก์ก็ต้องแพ้คดีตามคำท้า คือยกฟ้องโจทก์สำหรับจำเลยทั้งสาม
ฟ้องแย้งของจำเลยที่ 1 ที่ว่าโจทก์ขายนาพิพาทให้จำเลยครอบครองตลอดมากว่า 10 ปี ไม่เคยเช่าจากโจทก์นั้น โจทก์ให้การปฏิเสธฟ้องแย้งอยู่ว่า ไม่เคยขายให้จำเลยที่ 1 จำเลยที่ 1 ทำนาอยู่โดยเช่าจากโจทก์ ดังนี้ แม้จะเป็นที่ดินมือเปล่า จำเลยที่ 1 ก็ยังมีหน้าที่ต้องนำสืบก่อนให้สมฟ้องแย้งจึงจะบังคับห้ามโจทก์เกี่ยวข้องกับที่พิพาทได้ตามคำขอท้ายฟ้องแย้ง ส่วนคำขอบังคับให้โจทก์โอนที่พิพาทต่อเจ้าพนักงานอำเภอนั้น บังคับไม่ได้ เพราะเป็นที่ดินมือเปล่า ศาลได้แต่พิพากษาว่าจำเลยที่ 1 มีสิทธิครอบครองที่พิพาทเท่านั้น เมื่อจำเลยที่ 1ไม่นำสืบ ก็ต้องยกฟ้องแย้งของจำเลยที่ 1 เช่นเดียวกัน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1649/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หน้าที่นำสืบ – ฟ้องแย้ง – ที่ดินมือเปล่า – ศาลต้องแยกวินิจฉัยฟ้องแย้งเสมือนคนละสำนวน
เมื่อโจทก์ฟ้องและจำเลยทั้งสามให้การแล้ว เฉพาะจำเลยที่ 1 ยังฟ้องแย้งโจทก์ และมีคำขอให้บังคับโจทก์ตามฟ้องแย้งด้วยแต่คำท้าของคู่ความที่ว่า ถ้าฝ่ายใดมีหน้าที่นำสืบก่อน ให้ฝ่ายนั้นแพ้คดีนั้น มิได้มีข้อจำกัดไว้ว่าให้วินิจฉัยจากฟ้องโจทก์กับคำให้การจำเลยอย่างเดียว จึงต้องแยกวินิจฉัยตามฟ้องแย้งของจำเลยที่ 1กับคำให้การแก้ฟ้องแย้งด้วย เสมือนเป็นคนละสำนวนกับฟ้องเดิมของโจทก์
ฟ้องของโจทก์อ้างว่า ที่นาพิพาทเป็นของโจทก์ ให้จำเลยที่ 1เช่าทำแล้วไม่ชำระค่าเช่า โจทก์จะเข้าทำจำเลยทั้งสามกลับบุกรุกเข้าทำทั้งแปลง เป็นเหตุให้โจทก์เสียหาย จึงฟ้องเรียกค่าเช่ากับค่าเสียหายจำเลยทั้งสามให้การว่า จำเลยที่ 1 ไม่เคยเช่านาพิพาทจากโจทก์เมื่อ 12 ปีมานี้ โจทก์ขายนาพิพาทให้จำเลยที่ 1 แล้วมอบที่พิพาทให้จำเลยที่ 1 ครอบครองตลอดมาเกินกว่า 10 ปีจนบัดนี้ ไม่ใช่ที่ของโจทก์และจำเลยทั้งสามไม่เคยบุกรุกที่ดินโจทก์ ดังนี้ เป็นคำให้การปฏิเสธฟ้องโจทก์โดยตลอด และที่นาพิพาทเป็นที่ดินมือเปล่า ส.ค.1 ของโจทก์ไม่ใช่หนังสือสำคัญสำหรับที่พิพาทนี้ โจทก์จึงมีหน้าที่ต้องนำสืบก่อนว่าโจทก์ให้จำเลยที่ 1 เช่าทำนาพิพาทและจำเลยทั้งสามบุกรุกที่ของโจทก์จริงหรือไม่ เมื่อโจทก์ไม่นำสืบ โจทก์ก็ต้องแพ้คดีตามคำท้า คือยกฟ้องโจทก์สำหรับจำเลยทั้งสาม
ฟ้องแย้งของจำเลยที่ 1 ที่ว่าโจทก์ขายนาพิพาทให้จำเลยครอบครองตลอดมากว่า 10 ปี ไม่เคยเช่าจากโจทก์นั้น โจทก์ให้การปฏิเสธฟ้องแย้งอยู่ว่า ไม่เคยขายให้จำเลยที่ 1 จำเลยที่ 1 ทำนาอยู่โดยเช่าจากโจทก์ ดังนี้ แม้จะเป็นที่ดินมือเปล่า จำเลยที่ 1 ก็ยังมีหน้าที่ต้องนำสืบก่อนให้สมฟ้องแย้งจึงจะบังคับห้ามโจทก์เกี่ยวข้องกับที่พิพาทได้ตามคำขอท้ายฟ้องแย้ง ส่วนคำขอบังคับให้โจทก์โอนที่พิพาทต่อเจ้าพนักงานอำเภอนั้นบังคับไม่ได้เพราะเป็นที่ดินมือเปล่า ศาลได้แต่พิพากษาว่าจำเลยที่ 1 มีสิทธิครอบครองที่พิพาทเท่านั้น เมื่อจำเลยที่ 1ไม่นำสืบ ก็ต้องยกฟ้องแย้งของจำเลยที่ 1 เช่นเดียวกัน
ฟ้องของโจทก์อ้างว่า ที่นาพิพาทเป็นของโจทก์ ให้จำเลยที่ 1เช่าทำแล้วไม่ชำระค่าเช่า โจทก์จะเข้าทำจำเลยทั้งสามกลับบุกรุกเข้าทำทั้งแปลง เป็นเหตุให้โจทก์เสียหาย จึงฟ้องเรียกค่าเช่ากับค่าเสียหายจำเลยทั้งสามให้การว่า จำเลยที่ 1 ไม่เคยเช่านาพิพาทจากโจทก์เมื่อ 12 ปีมานี้ โจทก์ขายนาพิพาทให้จำเลยที่ 1 แล้วมอบที่พิพาทให้จำเลยที่ 1 ครอบครองตลอดมาเกินกว่า 10 ปีจนบัดนี้ ไม่ใช่ที่ของโจทก์และจำเลยทั้งสามไม่เคยบุกรุกที่ดินโจทก์ ดังนี้ เป็นคำให้การปฏิเสธฟ้องโจทก์โดยตลอด และที่นาพิพาทเป็นที่ดินมือเปล่า ส.ค.1 ของโจทก์ไม่ใช่หนังสือสำคัญสำหรับที่พิพาทนี้ โจทก์จึงมีหน้าที่ต้องนำสืบก่อนว่าโจทก์ให้จำเลยที่ 1 เช่าทำนาพิพาทและจำเลยทั้งสามบุกรุกที่ของโจทก์จริงหรือไม่ เมื่อโจทก์ไม่นำสืบ โจทก์ก็ต้องแพ้คดีตามคำท้า คือยกฟ้องโจทก์สำหรับจำเลยทั้งสาม
ฟ้องแย้งของจำเลยที่ 1 ที่ว่าโจทก์ขายนาพิพาทให้จำเลยครอบครองตลอดมากว่า 10 ปี ไม่เคยเช่าจากโจทก์นั้น โจทก์ให้การปฏิเสธฟ้องแย้งอยู่ว่า ไม่เคยขายให้จำเลยที่ 1 จำเลยที่ 1 ทำนาอยู่โดยเช่าจากโจทก์ ดังนี้ แม้จะเป็นที่ดินมือเปล่า จำเลยที่ 1 ก็ยังมีหน้าที่ต้องนำสืบก่อนให้สมฟ้องแย้งจึงจะบังคับห้ามโจทก์เกี่ยวข้องกับที่พิพาทได้ตามคำขอท้ายฟ้องแย้ง ส่วนคำขอบังคับให้โจทก์โอนที่พิพาทต่อเจ้าพนักงานอำเภอนั้นบังคับไม่ได้เพราะเป็นที่ดินมือเปล่า ศาลได้แต่พิพากษาว่าจำเลยที่ 1 มีสิทธิครอบครองที่พิพาทเท่านั้น เมื่อจำเลยที่ 1ไม่นำสืบ ก็ต้องยกฟ้องแย้งของจำเลยที่ 1 เช่นเดียวกัน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 87/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อตกลงท้าทายหลักฐานที่ไม่ชัดเจน และหน้าที่นำสืบพยานของผู้ฟ้อง
คู่ความท้ากันว่า ถ้าจำเลยนำหนังสือซื้อขายที่ดินหรือสำเนาที่อำเภอรับรองมาจากอำเภอได้ โจทก์ยอมแพ้ ถ้าไม่มีหนังสือดังกล่าวที่พิพาทตกเป็นของโจทก์ เมื่ออำเภอมีหนังสือแจ้งมาว่าค้นไม่พบ คู่ความท้ากันใหม่ว่าให้ศาลเอาหนังสือตอบนี้ไปประกอบกับคำท้าเดิมแล้ววินิจฉัยว่าที่พิพาทจะเป็นของฝ่ายใด ศาลวินิจฉัยว่าตามหนังสือตอบของอำเภอฟังไม่ถนัดว่ามีหนังสือซื้อขายที่พิพาทหรือไม่ จึงชี้ขาดให้แพ้ชนะกันตามคำท้าไม่ได้ เมื่อต่างแถลงไม่สืบพยานคดีนี้ หน้าที่นำสืบตกแก่โจทก์ โจทก์จึงต้องแพ้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 87/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การชี้ขาดข้อพิพาทตามคำท้า และหน้าที่การนำสืบพยานเมื่อคู่ความไม่สืบ
คู่ความท้ากันว่า ถ้าจำเลยนำหนังสือซื้อขายที่ดินหรือสำเนาที่อำเภอรับรองมาจากอำเภอได้โจทก์ยอมแพ้ ถ้าไม่มีหนังสือดังกล่าวที่พิพาทตกเป็นของโจทก์เมื่ออำเภอมีหนังสือแจ้งมาว่าค้นไม่พบคู่ความท้ากันใหม่ว่าให้ศาลเอาหนังสือตอบนี้ไปประกอบกับคำท้าเดิมแล้ววินิจฉัยว่าที่พิพาทจะเป็นของฝ่ายใด ศาลวินิจฉัยว่าตามหนังสือตอบของอำเภอฟังไม่ถนัดว่ามีหนังสือซื้อขายที่พิพาทหรือไม่จึงชี้ขาดให้แพ้ชนะกันตามคำท้าไม่ได้ เมื่อต่างแถลงไม่สืบพยานคดีนี้ หน้าที่นำสืบตกแก่โจทก์ โจทก์จึงต้องแพ้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 87/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การท้าคดีโดยอ้างเอกสาร เอกสารหายไม่อาจใช้ชี้ขาดได้ โจทก์มีหน้าที่นำสืบหลักฐาน
คู่ความท้ากันว่า. ถ้าจำเลยนำหนังสือซื้อขายที่ดินหรือสำเนาที่อำเภอรับรองมาจากอำเภอได้. โจทก์ยอมแพ้. ถ้าไม่มีหนังสือดังกล่าวที่พิพาทตกเป็นของโจทก์. เมื่ออำเภอมีหนังสือแจ้งมาว่าค้นไม่พบ. คู่ความท้ากันใหม่ว่าให้ศาลเอาหนังสือตอบนี้ไปประกอบกับคำท้าเดิมแล้ววินิจฉัยว่าที่พิพาทจะเป็นของฝ่ายใด. ศาลวินิจฉัยว่าตามหนังสือตอบของอำเภอฟังไม่ถนัดว่ามีหนังสือซื้อขายที่พิพาทหรือไม่. จึงชี้ขาดให้แพ้ชนะกันตามคำท้าไม่ได้. เมื่อต่างแถลงไม่สืบพยานคดีนี้ หน้าที่นำสืบตกแก่โจทก์ โจทก์จึงต้องแพ้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 690/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าซื้อกับคนต่างด้าว: สิทธิในการได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ตามสนธิสัญญาไมตรี และหน้าที่นำสืบ
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยทำสัญญาเช่าซื้อที่ดินของโจทก์ และจำเลยผิดสัญญาและค้างชำระเงิน จำเลยให้การรับว่า ทำสัญญาเช่าซื้อกับโจทก์และไม่ได้ชำระเงินค่าเช่าซื้อให้แก่โจทก์จริง แต่อ้างว่าสัญญาเช่าซื้อเป็นโมฆะ เพราะจำเลยเป็นคนต่างด้าว ไม่มีสิทธิได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ และทำสัญญาด้วยความสำคัญผิดในสารสำคัญแห่งนิติกรรม ดังนี้ จำเลยเป็นฝ่ายกล่าวอ้างขึ้นใหม่ว่าสัญญาเช่าซื้อเป็นโมฆะ โดยมีวัตถุประสงค์ต้องห้ามตามกฎหมายและสำคัญผิดในสารสำคัญของนิติกรรม มิใช่เพียงปฏิเสธว่าไม่ผิดสัญญาเท่ากับจำเลยต่อสู้ว่าการที่จำเลยไม่ชำระเงินค่าเช่าซื้อ ไม่เป็นผิดสัญญา จำเลยจึงมีหน้าที่นำสืบก่อนว่าสัญญานั้นไม่มีผลผูกพันอันจะทำให้จำเลยไม่ต้องปฏิบัติตามสัญญา
สนธิสัญญาทางไมตรีระหว่างราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐจีนซึ่งเริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 28 มีนาคม 2489 ความในข้อ 6แห่งสนธิสัญญามีว่า คนชาติแห่งอัครภาคีแต่ละฝ่ายมีสิทธิที่จะได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ตลอดทั่วอาณาเขตของอีกฝ่ายหนึ่งนั้น ยังมีผลใช้บังคับตลอดไป ไม่ว่ารัฐบาลของสาธารณรัฐจีนจะไปตั้งอยู่ที่ไต้หวันหรือเกาะฟอโมซา เพราะสนธิสัญญาทางไมตรีระหว่างราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐจีนยังมีต่อกันอยู่ หาได้ถูกยกเลิกไปไม่
สำเนาหนังสือกระทรวงมหาดไทยที่ 2639/2504 ลงวันที่ 16กุมภาพันธ์ 2504 ถึงผู้ว่าราชการจังหวัดทุกจังหวัด ระบุสัญชาติคนต่างด้าวที่มีสิทธิขออนุญาตให้ได้มาซึ่งที่ดินตามมาตรา 86 แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน โดยไม่ระบุคนต่างด้าวสัญชาติจีนรวมอยู่ด้วย และจำเลยแนบติดมาท้ายฎีกาของจำเลยนั้น จำเลยไม่ได้ระบุอ้างเป็นพยานไว้ก่อนและไม่มีเจ้าหน้าที่รับรองว่าเป็นสำเนาที่ถูกต้องทั้งไม่ใช่กฎหมาย ศาลฎีกาย่อมไม่รับวินิจฉัย
ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 86 มิได้บัญญัติห้ามเด็ดขาดไม่ให้คนต่างด้าวถือกรรมสิทธิ์ที่ดิน จำเลยซึ่งเป็นบุคคลสัญชาติจีนและเป็นผู้เช่าซื้อที่ดินของโจทก์ยังอยู่ในวิสัยที่จะไปขออนุญาตถือกรรมสิทธิ์ที่ดินได้และไม่ใช่สัญญาที่มีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมายหรือเป็นการพ้นวิสัย สัญญาเช่าซื้อระหว่างโจทก์จำเลยจึงสมบูรณ์ (วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 5 -6/2511)
ฎีกาจำเลยในข้อที่ว่า การชำระเงินค่าเช่าซื้อ แม้จะผิดพลาดไปบ้างโจทก์ไม่ถือว่าจำเลยผิดสัญญาก็ดี หรือโจทก์ยังไม่ได้บอกกล่าวให้จำเลยชำระเงินค่าเช่าซื้อยังถือไม่ได้ว่าจำเลยผิดสัญญาก็ดี จำเลยไม่ได้ยกขึ้นต่อสู้ว่ากล่าวมาในศาลชั้นต้น จำเลยจะยกขึ้นในชั้นฎีกาไม่ได้
จำเลยฟ้องแย้งว่า จำเลยได้ชำระเงินให้ ป. ซึ่งโจทก์เป็นหนี้ ป. แทนโจทก์ โจทก์ปฏิเสธว่าจำเลยไม่ได้ชำระเงินแทนและโจทก์มิได้เป็นหนี้แต่จำเลยกลับนำสืบว่าจำเลยส่งมอบข้าวสาร ไม่ใช่ชำระเงินแทน จึงเป็นการนำสืบนอกฟ้องแย้งของจำเลย
สนธิสัญญาทางไมตรีระหว่างราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐจีนซึ่งเริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 28 มีนาคม 2489 ความในข้อ 6แห่งสนธิสัญญามีว่า คนชาติแห่งอัครภาคีแต่ละฝ่ายมีสิทธิที่จะได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ตลอดทั่วอาณาเขตของอีกฝ่ายหนึ่งนั้น ยังมีผลใช้บังคับตลอดไป ไม่ว่ารัฐบาลของสาธารณรัฐจีนจะไปตั้งอยู่ที่ไต้หวันหรือเกาะฟอโมซา เพราะสนธิสัญญาทางไมตรีระหว่างราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐจีนยังมีต่อกันอยู่ หาได้ถูกยกเลิกไปไม่
สำเนาหนังสือกระทรวงมหาดไทยที่ 2639/2504 ลงวันที่ 16กุมภาพันธ์ 2504 ถึงผู้ว่าราชการจังหวัดทุกจังหวัด ระบุสัญชาติคนต่างด้าวที่มีสิทธิขออนุญาตให้ได้มาซึ่งที่ดินตามมาตรา 86 แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน โดยไม่ระบุคนต่างด้าวสัญชาติจีนรวมอยู่ด้วย และจำเลยแนบติดมาท้ายฎีกาของจำเลยนั้น จำเลยไม่ได้ระบุอ้างเป็นพยานไว้ก่อนและไม่มีเจ้าหน้าที่รับรองว่าเป็นสำเนาที่ถูกต้องทั้งไม่ใช่กฎหมาย ศาลฎีกาย่อมไม่รับวินิจฉัย
ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 86 มิได้บัญญัติห้ามเด็ดขาดไม่ให้คนต่างด้าวถือกรรมสิทธิ์ที่ดิน จำเลยซึ่งเป็นบุคคลสัญชาติจีนและเป็นผู้เช่าซื้อที่ดินของโจทก์ยังอยู่ในวิสัยที่จะไปขออนุญาตถือกรรมสิทธิ์ที่ดินได้และไม่ใช่สัญญาที่มีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมายหรือเป็นการพ้นวิสัย สัญญาเช่าซื้อระหว่างโจทก์จำเลยจึงสมบูรณ์ (วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 5 -6/2511)
ฎีกาจำเลยในข้อที่ว่า การชำระเงินค่าเช่าซื้อ แม้จะผิดพลาดไปบ้างโจทก์ไม่ถือว่าจำเลยผิดสัญญาก็ดี หรือโจทก์ยังไม่ได้บอกกล่าวให้จำเลยชำระเงินค่าเช่าซื้อยังถือไม่ได้ว่าจำเลยผิดสัญญาก็ดี จำเลยไม่ได้ยกขึ้นต่อสู้ว่ากล่าวมาในศาลชั้นต้น จำเลยจะยกขึ้นในชั้นฎีกาไม่ได้
จำเลยฟ้องแย้งว่า จำเลยได้ชำระเงินให้ ป. ซึ่งโจทก์เป็นหนี้ ป. แทนโจทก์ โจทก์ปฏิเสธว่าจำเลยไม่ได้ชำระเงินแทนและโจทก์มิได้เป็นหนี้แต่จำเลยกลับนำสืบว่าจำเลยส่งมอบข้าวสาร ไม่ใช่ชำระเงินแทน จึงเป็นการนำสืบนอกฟ้องแย้งของจำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 690/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าซื้อกับคนต่างด้าว: สิทธิในการได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ภายใต้สนธิสัญญาและความสำคัญของการนำสืบหน้าที่
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยทำสัญญาเช่าซื้อที่ดินของโจทก์ และจำเลยผิดสัญญาและค้างชำระเงิน จำเลยให้การรับว่า ทำสัญญาเช่าซื้อกับโจทก์และไม่ได้ชำระเงินค่าเช่าซื้อให้แก่โจทก์จริง แต่อ้างว่าสัญญาเช่าซื้อเป็นโมฆะ เพราะจำเลยเป็นคนต่างด้าว ไม่มีสิทธิได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ และทำสัญญาด้วยความสำคัญผิดในสารสำคัญแห่งนิติกรรมดังนี้ จำเลยเป็นฝ่ายกล่าวอ้างขึ้นใหม่ว่าสัญญาเช่าซื้อเป็นโมฆะ โดยมีวัตถุประสงค์ต้องห้ามตามกฎหมายและสำคัญผิดในสารสำคัญของนิติกรรมมิใช่เพียงปฏิเสธว่าไม่ผิดสัญญาเท่ากับจำเลยต่อสู้ว่าการที่จำเลยไม่ชำระเงินค่าเช่าซื้อ ไม่เป็นผิดสัญญาจำเลยจึงมีหน้าที่นำสืบก่อนว่าสัญญานั้นไม่มีผลผูกพันอันจะทำให้จำเลยไม่ต้องปฏิบัติตามสัญญา
สนธิสัญญาทางไมตรีระหว่างราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐจีนซึ่งเริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 28 มีนาคม 2489 ความในข้อ 6แห่งสนธิสัญญามีว่า คนชาติแห่งอัครภาคีแต่ละฝ่ายมีสิทธิที่จะได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ตลอดทั่วอาณาเขตของอีกฝ่ายหนึ่งนั้นยังมีผลใช้บังคับตลอดไป ไม่ว่ารัฐบาลของสาธารณรัฐจีนจะไปตั้งอยู่ที่ไต้หวันหรือเกาะฟอโมซาเพราะสนธิสัญญาทางไมตรีระหว่างราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐจีนยังมีต่อกันอยู่ หาได้ถูกยกเลิกไปไม่
สำเนาหนังสือกระทรวงมหาดไทยที่ 2639/2504 ลงวันที่ 16กุมภาพันธ์ 2504 ถึงผู้ว่าราชการจังหวัดทุกจังหวัด ระบุสัญชาติคนต่างด้าวที่มีสิทธิขออนุญาตให้ได้มาซึ่งที่ดินตามมาตรา 86 แห่งประมวลกฎหมายที่ดินโดยไม่ระบุคนต่างด้าวสัญชาติจีนรวมอยู่ด้วย และจำเลยแนบติดมาท้ายฎีกาของจำเลยนั้นจำเลยไม่ได้ระบุอ้างเป็นพยานไว้ก่อนและไม่มีเจ้าหน้าที่รับรองว่าเป็นสำเนาที่ถูกต้องทั้งไม่ใช่กฎหมาย ศาลฎีกาย่อมไม่รับวินิจฉัย
ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 86 มิได้บัญญัติห้ามเด็ดขาดไม่ให้คนต่างด้าวถือกรรมสิทธิ์ที่ดิน จำเลยซึ่งเป็นบุคคลสัญชาติจีนและเป็นผู้เช่าซื้อที่ดินของโจทก์ยังอยู่ในวิสัยที่จะไปขออนุญาตถือกรรมสิทธิ์ที่ดินได้และไม่ใช่สัญญาที่มีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมายหรือเป็นการพ้นวิสัย สัญญาเช่าซื้อระหว่างโจทก์จำเลยจึงสมบูรณ์ (วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 5-6/2511)
ฎีกาจำเลยในข้อที่ว่า การชำระเงินค่าเช่าซื้อ แม้จะผิดพลาดไปบ้างโจทก์ไม่ถือว่าจำเลยผิดสัญญาก็ดี หรือโจทก์ยังไม่ได้บอกกล่าวให้จำเลยชำระเงินค่าเช่าซื้อยังถือไม่ได้ว่าจำเลยผิดสัญญาก็ดีจำเลยไม่ได้ยกขึ้นต่อสู้ว่ากล่าวมาในศาลชั้นต้น จำเลยจะยกขึ้นในชั้นฎีกาไม่ได้
จำเลยฟ้องแย้งว่า จำเลยได้ชำระเงินให้ ป. ซึ่งโจทก์เป็นหนี้ ป. แทนโจทก์ โจทก์ปฏิเสธว่าจำเลยไม่ได้ชำระเงินแทนและโจทก์มิได้เป็นหนี้แต่จำเลยกลับนำสืบว่าจำเลยส่งมอบข้าวสารไม่ใช่ชำระเงินแทนจึงเป็นการนำสืบนอกฟ้องแย้งของจำเลย
สนธิสัญญาทางไมตรีระหว่างราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐจีนซึ่งเริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 28 มีนาคม 2489 ความในข้อ 6แห่งสนธิสัญญามีว่า คนชาติแห่งอัครภาคีแต่ละฝ่ายมีสิทธิที่จะได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ตลอดทั่วอาณาเขตของอีกฝ่ายหนึ่งนั้นยังมีผลใช้บังคับตลอดไป ไม่ว่ารัฐบาลของสาธารณรัฐจีนจะไปตั้งอยู่ที่ไต้หวันหรือเกาะฟอโมซาเพราะสนธิสัญญาทางไมตรีระหว่างราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐจีนยังมีต่อกันอยู่ หาได้ถูกยกเลิกไปไม่
สำเนาหนังสือกระทรวงมหาดไทยที่ 2639/2504 ลงวันที่ 16กุมภาพันธ์ 2504 ถึงผู้ว่าราชการจังหวัดทุกจังหวัด ระบุสัญชาติคนต่างด้าวที่มีสิทธิขออนุญาตให้ได้มาซึ่งที่ดินตามมาตรา 86 แห่งประมวลกฎหมายที่ดินโดยไม่ระบุคนต่างด้าวสัญชาติจีนรวมอยู่ด้วย และจำเลยแนบติดมาท้ายฎีกาของจำเลยนั้นจำเลยไม่ได้ระบุอ้างเป็นพยานไว้ก่อนและไม่มีเจ้าหน้าที่รับรองว่าเป็นสำเนาที่ถูกต้องทั้งไม่ใช่กฎหมาย ศาลฎีกาย่อมไม่รับวินิจฉัย
ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 86 มิได้บัญญัติห้ามเด็ดขาดไม่ให้คนต่างด้าวถือกรรมสิทธิ์ที่ดิน จำเลยซึ่งเป็นบุคคลสัญชาติจีนและเป็นผู้เช่าซื้อที่ดินของโจทก์ยังอยู่ในวิสัยที่จะไปขออนุญาตถือกรรมสิทธิ์ที่ดินได้และไม่ใช่สัญญาที่มีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมายหรือเป็นการพ้นวิสัย สัญญาเช่าซื้อระหว่างโจทก์จำเลยจึงสมบูรณ์ (วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 5-6/2511)
ฎีกาจำเลยในข้อที่ว่า การชำระเงินค่าเช่าซื้อ แม้จะผิดพลาดไปบ้างโจทก์ไม่ถือว่าจำเลยผิดสัญญาก็ดี หรือโจทก์ยังไม่ได้บอกกล่าวให้จำเลยชำระเงินค่าเช่าซื้อยังถือไม่ได้ว่าจำเลยผิดสัญญาก็ดีจำเลยไม่ได้ยกขึ้นต่อสู้ว่ากล่าวมาในศาลชั้นต้น จำเลยจะยกขึ้นในชั้นฎีกาไม่ได้
จำเลยฟ้องแย้งว่า จำเลยได้ชำระเงินให้ ป. ซึ่งโจทก์เป็นหนี้ ป. แทนโจทก์ โจทก์ปฏิเสธว่าจำเลยไม่ได้ชำระเงินแทนและโจทก์มิได้เป็นหนี้แต่จำเลยกลับนำสืบว่าจำเลยส่งมอบข้าวสารไม่ใช่ชำระเงินแทนจึงเป็นการนำสืบนอกฟ้องแย้งของจำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 414/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หน้าที่นำสืบประเด็นหย่าและสินบริคณห์ในคดีมรดก: ศาลกะประเด็นถูกต้อง, การขอรับมรดกไม่ใช่กรมธรรม์ปิดปาก
เมื่อคู่ความรับข้อเท็จจริงกันแล้ว ศาลกะประเด็นไว้ว่า ประเด็นสำคัญมีอยู่ว่า ผู้ตายกับจำเลยได้หย่าขาดจากกันหรือไม่ และทรัพย์ตามพินัยกรรมเป็นสินบริคณห์หรือไม่ ซึ่งประเด็นข้อแรกเป็นเรื่องที่โจทก์กล่าวอ้างขึ้นมา จึงเป็นหน้าที่โจทก์ต้องนำสืบให้ได้ความตามนั้น ส่วนประเด็นว่าทรัพย์ตามพินัยกรรมเป็นสินบริคณห์หรือไม่ เป็นประเด็นขั้นที่สอง เมื่อโจทก์ต้องสืบประเด็นแรกซึ่งสำคัญก่อนแล้ว ศาลย่อมให้โจทก์สืบประเด็นข้อหลังด้วยในคราวเดียวกันได้
จำเลยไปแจ้งขอรับมรดกต่อเจ้าหน้าที่อำเภอว่าที่นาพิพาทเป็นมรดกของผู้ตายซึ่งเป็นสามีจำเลยว่า ที่นาพิพาทเป็นมรดกของผู้ตาย ไม่ได้แจ้งว่าจำเลยมีส่วนเป็นเจ้าของอยู่ด้วย และเจ้าหน้าที่ได้โอนให้จำเลยในทางมรดก จำเลยย่อมนำสืบได้ว่า จำเลยขอรับมรดกส่วนของผู้ตายตามสิทธิจำเลย หาใช่เป็นเรื่องกรมธรรม์ปิดปากไม่
จำเลยให้การต่อสู้คดีว่า ที่พิพาทเป็นสินบริคณห์ ผู้ตายซึ่งเป็นสามีจำเลยไม่มีสิทธิเอาสินบริคณห์ส่วนของจำเลยไปทำพินัยกรรมยกให้โจทก์ เมื่อผู้ตายตาย จำเลยจึงขอโอนรับมรดก จำเลยย่อมนำสืบเพื่อแสดงว่าทรัพย์นั้นเป็นสินบริคณห์ได้
จำเลยไปแจ้งขอรับมรดกต่อเจ้าหน้าที่อำเภอว่าที่นาพิพาทเป็นมรดกของผู้ตายซึ่งเป็นสามีจำเลยว่า ที่นาพิพาทเป็นมรดกของผู้ตาย ไม่ได้แจ้งว่าจำเลยมีส่วนเป็นเจ้าของอยู่ด้วย และเจ้าหน้าที่ได้โอนให้จำเลยในทางมรดก จำเลยย่อมนำสืบได้ว่า จำเลยขอรับมรดกส่วนของผู้ตายตามสิทธิจำเลย หาใช่เป็นเรื่องกรมธรรม์ปิดปากไม่
จำเลยให้การต่อสู้คดีว่า ที่พิพาทเป็นสินบริคณห์ ผู้ตายซึ่งเป็นสามีจำเลยไม่มีสิทธิเอาสินบริคณห์ส่วนของจำเลยไปทำพินัยกรรมยกให้โจทก์ เมื่อผู้ตายตาย จำเลยจึงขอโอนรับมรดก จำเลยย่อมนำสืบเพื่อแสดงว่าทรัพย์นั้นเป็นสินบริคณห์ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 414/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หน้าที่นำสืบประเด็นหย่าและสินบริคณห์ในคดีมรดก การรับมรดกย่อมสืบได้เมื่ออ้างว่าเป็นสินบริคณห์
เมื่อคู่ความรับข้อเท็จจริงกันแล้ว ศาลกะประเด็นไว้ว่า ประเด็นสำคัญมีอยู่ว่า ผู้ตายกับจำเลยได้หย่าขาดจากกันหรือไม่ และทรัพย์ตามพินัยกรรมเป็นสินบริคณห์หรือไม่ ซึ่งประเด็นข้อแรกเป็นเรื่องที่โจทก์กล่าวอ้างขึ้นมาจึงเป็นหน้าที่โจทก์ต้องนำสืบให้ได้ความตามนั้น ส่วนประเด็นว่าทรัพย์ตามพินัยกรรมเป็นสินบริคณห์หรือไม่เป็นประเด็นขั้นที่สองเมื่อโจทก์ต้องสืบประเด็นแรกซึ่งสำคัญก่อนแล้ว ศาลย่อมให้โจทก์สืบประเด็นข้อหลังด้วยในคราวเดียวกันได้
จำเลยไปแจ้งขอรับมรดกต่อเจ้าหน้าที่อำเภอว่าที่นาพิพาทเป็นมรดกของผู้ตายซึ่งเป็นสามีจำเลยว่า ที่นาพิพาทเป็นมรดกของผู้ตายไม่ได้แจ้งว่าจำเลยมีส่วนเป็นเจ้าของอยู่ด้วย และเจ้าหน้าที่ได้โอนให้จำเลยในทางมรดก จำเลยย่อมนำสืบได้ว่าจำเลยขอรับมรดกส่วนของผู้ตายตามสิทธิจำเลยหาใช่เป็นเรื่องกรมธรรม์ปิดปากไม่
จำเลยให้การต่อสู้คดีว่า ที่พิพาทเป็นสินบริคณห์ ผู้ตายซึ่งเป็นสามีจำเลยไม่มีสิทธิเอาสินบริคณห์ส่วนของจำเลยไปทำพินัยกรรมยกให้โจทก์เมื่อผู้ตายตาย จำเลยจึงขอโอนรับมรดกจำเลยย่อมนำสืบเพื่อแสดงว่าทรัพย์นั้นเป็นสินบริคณห์ได้
จำเลยไปแจ้งขอรับมรดกต่อเจ้าหน้าที่อำเภอว่าที่นาพิพาทเป็นมรดกของผู้ตายซึ่งเป็นสามีจำเลยว่า ที่นาพิพาทเป็นมรดกของผู้ตายไม่ได้แจ้งว่าจำเลยมีส่วนเป็นเจ้าของอยู่ด้วย และเจ้าหน้าที่ได้โอนให้จำเลยในทางมรดก จำเลยย่อมนำสืบได้ว่าจำเลยขอรับมรดกส่วนของผู้ตายตามสิทธิจำเลยหาใช่เป็นเรื่องกรมธรรม์ปิดปากไม่
จำเลยให้การต่อสู้คดีว่า ที่พิพาทเป็นสินบริคณห์ ผู้ตายซึ่งเป็นสามีจำเลยไม่มีสิทธิเอาสินบริคณห์ส่วนของจำเลยไปทำพินัยกรรมยกให้โจทก์เมื่อผู้ตายตาย จำเลยจึงขอโอนรับมรดกจำเลยย่อมนำสืบเพื่อแสดงว่าทรัพย์นั้นเป็นสินบริคณห์ได้