พบผลลัพธ์ทั้งหมด 1,106 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 388-389/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิสูจน์สถานะการเป็นทายาทเพื่อการแต่งตั้งผู้จัดการมรดก และการตรวจสอบความถูกต้องของพินัยกรรม
จำเลยร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกของ ล. ผู้ตาย โดยอ้างว่าจำเลยเป็นบุตรของ ล.โจทก์ค้านว่าจำเลยไม่ใช่บุตรของ ล. ปัญหาว่าจำเลยเป็นบุตรของ ล. หรือไม่จึงเป็นประเด็นโดยตรงและสำคัญแห่งคดีซึ่งศาลจำเป็นต้องวินิจฉัยชี้ขาด หาใช่เป็นเรื่องที่จะให้ไปฟ้องร้องกันอีกคดีหนึ่งไม่ เพราะถ้าคดีฟังได้ว่าจำเลยไม่ใช่บุตรของ ล. ก็ย่อมไม่ใช่ทายาทไม่มีอำนาจร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดก คำร้องของจำเลยต้องยกเสียถ้าหากคดีฟังได้ในทางตรงข้าม คือฟังว่าจำเลยเป็นบุตร ล. จำเลยก็เป็นทายาทในลำดับผู้สืบสันดาน ส. ซึ่งเป็นโจทก์ไม่มีสิทธิรับมรดกในฐานะผู้รับมรดกแทนที่ บ. ซึ่งเป็นทายาทในลำดับน้องร่วมบิดาเดียวกับ ล. ผู้ตาย
ส. ซึ่งเป็นโจทก์เป็นผู้รับมรดกแทนที่ บ. ซึ่งเป็นทายาทในลำดับเดียวกับจำเลย ส. ย่อมมีสิทธิรับมรดกและร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกได้เท่าเทียมกับจำเลย
โจทก์ร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกโดยอ้างว่าโจทก์เป็นผู้รับพินัยกรรมทรัพย์บางอย่าง ฝ่ายจำเลยคัดค้านว่าพินัยกรรมปลอมจึงต้องวินิจฉัยปัญหาว่าพินัยกรรมปลอมหรือไม่ ถ้าฟังได้ว่าพินัยกรรมไม่ปลอม โจทก์ก็เป็นผู้มีส่วนได้เสียในทรัพย์ที่ระบุในพินัยกรรมย่อมมีสิทธิร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกได้ถ้าฟังได้ว่าพินัยกรรมปลอม คำร้องของโจทก์ก็ต้องยก เพราะโจทก์ไม่มีสิทธิรับมรดกในฐานะทายาทโดยชอบธรรมและในฐานะผู้รับพินัยกรรม
คดีของโจทก์เป็นเรื่องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกโดยโจทก์กล่าวอ้างว่าเป็นผู้รับพินัยกรรมเป็นคดีไม่มีทุนทรัพย์ซึ่งต้องเสียค่าขึ้นศาล 50 บาทเท่านั้น โจทก์หาได้เรียกร้องเอาทรัพย์ตามที่ระบุไว้ในพินัยกรรมมาด้วยไม่จึงไม่ใช่คดีมีทุนทรัพย์ ไม่ต้องเสียค่าขึ้นศาลตามราคาทรัพย์ในพินัยกรรม
ส. ซึ่งเป็นโจทก์เป็นผู้รับมรดกแทนที่ บ. ซึ่งเป็นทายาทในลำดับเดียวกับจำเลย ส. ย่อมมีสิทธิรับมรดกและร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกได้เท่าเทียมกับจำเลย
โจทก์ร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกโดยอ้างว่าโจทก์เป็นผู้รับพินัยกรรมทรัพย์บางอย่าง ฝ่ายจำเลยคัดค้านว่าพินัยกรรมปลอมจึงต้องวินิจฉัยปัญหาว่าพินัยกรรมปลอมหรือไม่ ถ้าฟังได้ว่าพินัยกรรมไม่ปลอม โจทก์ก็เป็นผู้มีส่วนได้เสียในทรัพย์ที่ระบุในพินัยกรรมย่อมมีสิทธิร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกได้ถ้าฟังได้ว่าพินัยกรรมปลอม คำร้องของโจทก์ก็ต้องยก เพราะโจทก์ไม่มีสิทธิรับมรดกในฐานะทายาทโดยชอบธรรมและในฐานะผู้รับพินัยกรรม
คดีของโจทก์เป็นเรื่องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกโดยโจทก์กล่าวอ้างว่าเป็นผู้รับพินัยกรรมเป็นคดีไม่มีทุนทรัพย์ซึ่งต้องเสียค่าขึ้นศาล 50 บาทเท่านั้น โจทก์หาได้เรียกร้องเอาทรัพย์ตามที่ระบุไว้ในพินัยกรรมมาด้วยไม่จึงไม่ใช่คดีมีทุนทรัพย์ ไม่ต้องเสียค่าขึ้นศาลตามราคาทรัพย์ในพินัยกรรม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 388-389/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิสูจน์สถานะทายาทและผลกระทบต่อการเป็นผู้จัดการมรดก รวมถึงการตรวจสอบพินัยกรรม
จำเลยร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกของ ล. ผู้ตาย. โดยอ้างว่าจำเลยเป็นบุตรของ ล.. โจทก์ค้านว่าจำเลยไม่ใช่บุตรของ ล.. ปัญหาว่าจำเลยเป็นบุตรของล.หรือไม่.จึงเป็นประเด็นโดยตรงและสำคัญแห่งคดี. ซึ่งศาลจำเป็นต้องวินิจฉัยชี้ขาด. หาใช่เป็นเรื่องที่จะให้ไปฟ้องร้องกันอีกคดีหนึ่งไม่. เพราะถ้าคดีฟังได้ว่าจำเลยไม่ใช่บุตรของ ล. ก็ย่อมไม่ใช่ทายาท. ไม่มีอำนาจร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดก. คำร้องของจำเลยต้องยกเสีย.ถ้าหากคดีฟังได้ในทางตรงข้าม คือฟังว่าจำเลยเป็นบุตร ล. จำเลยก็เป็นทายาทในลำดับผู้สืบสันดาน. ส.ซึ่งเป็นโจทก์ไม่มีสิทธิรับมรดกในฐานะผู้รับมรดกแทนที่ บ. ซึ่งเป็นทายาทในลำดับน้องร่วมบิดาเดียวกับ ล. ผู้ตาย.
ส.ซึ่งเป็นโจทก์เป็นผู้รับมรดกแทนที่ บ.ซึ่งเป็นทายาทในลำดับเดียวกับจำเลย. ส.ย่อมมีสิทธิรับมรดกและร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกได้เท่าเทียมกับจำเลย.
โจทก์ร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกโดยอ้างว่าโจทก์เป็นผู้รับพินัยกรรมทรัพย์บางอย่าง. ฝ่ายจำเลยคัดค้านว่าพินัยกรรมปลอม. จึงต้องวินิจฉัยปัญหาว่าพินัยกรรมปลอมหรือไม่. ถ้าฟังได้ว่าพินัยกรรมไม่ปลอม. โจทก์ก็เป็นผู้มีส่วนได้เสียในทรัพย์ที่ระบุในพินัยกรรมย่อมมีสิทธิร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกได้. ถ้าฟังได้ว่าพินัยกรรมปลอม. คำร้องของโจทก์ก็ต้องยก. เพราะโจทก์ไม่มีสิทธิรับมรดกในฐานะทายาทโดยชอบธรรมและในฐานะผู้รับพินัยกรรม.
คดีของโจทก์เป็นเรื่องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดก. โดยโจทก์กล่าวอ้างว่าเป็นผู้รับพินัยกรรม. เป็นคดีไม่มีทุนทรัพย์ซึ่งต้องเสียค่าขึ้นศาล 50 บาทเท่านั้น. โจทก์หาได้เรียกร้องเอาทรัพย์ตามที่ระบุไว้ในพินัยกรรมมาด้วยไม่.จึงไม่ใช่คดีมีทุนทรัพย์. ไม่ต้องเสียค่าขึ้นศาลตามราคาทรัพย์ในพินัยกรรม.
ส.ซึ่งเป็นโจทก์เป็นผู้รับมรดกแทนที่ บ.ซึ่งเป็นทายาทในลำดับเดียวกับจำเลย. ส.ย่อมมีสิทธิรับมรดกและร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกได้เท่าเทียมกับจำเลย.
โจทก์ร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกโดยอ้างว่าโจทก์เป็นผู้รับพินัยกรรมทรัพย์บางอย่าง. ฝ่ายจำเลยคัดค้านว่าพินัยกรรมปลอม. จึงต้องวินิจฉัยปัญหาว่าพินัยกรรมปลอมหรือไม่. ถ้าฟังได้ว่าพินัยกรรมไม่ปลอม. โจทก์ก็เป็นผู้มีส่วนได้เสียในทรัพย์ที่ระบุในพินัยกรรมย่อมมีสิทธิร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกได้. ถ้าฟังได้ว่าพินัยกรรมปลอม. คำร้องของโจทก์ก็ต้องยก. เพราะโจทก์ไม่มีสิทธิรับมรดกในฐานะทายาทโดยชอบธรรมและในฐานะผู้รับพินัยกรรม.
คดีของโจทก์เป็นเรื่องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดก. โดยโจทก์กล่าวอ้างว่าเป็นผู้รับพินัยกรรม. เป็นคดีไม่มีทุนทรัพย์ซึ่งต้องเสียค่าขึ้นศาล 50 บาทเท่านั้น. โจทก์หาได้เรียกร้องเอาทรัพย์ตามที่ระบุไว้ในพินัยกรรมมาด้วยไม่.จึงไม่ใช่คดีมีทุนทรัพย์. ไม่ต้องเสียค่าขึ้นศาลตามราคาทรัพย์ในพินัยกรรม.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 382/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เสียงข้างมากผู้จัดการมรดกมีอำนาจจัดการทรัพย์มรดก บุคคลภายนอกต้องยินยอมตาม
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1726 นั้น การทำการตามหน้าที่ของผู้จัดการมรดกต้องเป็นไปตามเสียงข้างมาก. และเสียงข้างมากดังกล่าวนี้มิได้มีกฎหมายบังคับว่าต้องจัดให้มีการประชุมผู้จัดการมรดกเพื่อปรึกษาออกเสียงกันโดยตรงในกรณีที่ผู้จัดการมรดกเห็นควรดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งในการจัดการมรดก และปรากฏว่าได้แจ้งไปยังผู้จัดการมรดกทุกคนแล้ว มีผู้เห็นด้วยเป็นส่วนมาก ความเห็นส่วนข้างมากนั้นก็ถือได้ว่าเป็นเสียงข้างมาก ตกเป็นหน้าที่ของผู้จัดการมรดกที่จะต้องจัดการไปตามนั้นผู้จัดการมรดกส่วนข้างมากก็อาจดำเนินการไปในนามของผู้จัดการมรดกทั้งคณะได้ การรวบรวมทรัพย์มรดกก็ตาม ก็เป็นการจัดการมรดก บุคคลภายนอกหากได้ทราบความเห็นหรือเสียงข้างมากที่ให้เรียกทรัพย์มรดกนั้นแล้ว ก็ต้องรับรู้และยินยอมให้ผู้จัดการมรดกส่วนข้างมากรับทรัพย์มรดกไปจะเกี่ยงให้ผู้จัดการมรดกส่วนข้างมากนำผู้จัดการมรดกส่วนข้างน้อยเข้ามาร่วมจัดการด้วยหาได้ไม่
ศาลชั้นต้นเห็นว่าการกระทำของจำเลยเป็นละเมิด แต่ศาลอุทธรณ์เห็นว่าไม่เป็นละเมิด จะถือได้อย่างมากเพียงแต่เป็นการผิดสัญญา ซึ่งเป็นเรื่องระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ส่วนจำเลยที่ 2, 3 ไม่ต้องรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1 แล้วพิพากษายืนในข้อที่ให้จำเลยที่ 2, 3 ร่วมเสียค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความในศาลชั้นต้นด้วยนั้นเป็นเรื่องการใช้ดุลพินิจของศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161 และไม่มีเหตุอันสมควรที่ศาลฎีกาจะแก้ไข
ศาลชั้นต้นเห็นว่าการกระทำของจำเลยเป็นละเมิด แต่ศาลอุทธรณ์เห็นว่าไม่เป็นละเมิด จะถือได้อย่างมากเพียงแต่เป็นการผิดสัญญา ซึ่งเป็นเรื่องระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ส่วนจำเลยที่ 2, 3 ไม่ต้องรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1 แล้วพิพากษายืนในข้อที่ให้จำเลยที่ 2, 3 ร่วมเสียค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความในศาลชั้นต้นด้วยนั้นเป็นเรื่องการใช้ดุลพินิจของศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161 และไม่มีเหตุอันสมควรที่ศาลฎีกาจะแก้ไข
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 382/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เสียงข้างมากของผู้จัดการมรดกมีผลผูกพัน การจัดการทรัพย์มรดกต้องเป็นไปตามเสียงข้างมาก แม้ผู้จัดการมรดกส่วนน้อยไม่ยินยอม
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1726 นั้น การทำการตามหน้าที่ของผู้จัดการมรดกต้องเป็นไปตามเสียงข้างมาก และเสียงข้างมากดังกล่าวนี้มิได้มีกฎหมายบังคับว่าต้องจัดให้มีการประชุมผู้จัดการมรดกเพื่อปรึกษาออกเสียงกันโดยตรงในกรณีที่ผู้จัดการมรดกเห็นควรดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งในการจัดการมรดกและปรากฏว่าได้แจ้งไปยังผู้จัดการมรดกทุกคนแล้ว มีผู้เห็นด้วยเป็นส่วนมาก ความเห็นส่วนข้างมากนั้นก็ถือได้ว่าเป็นเสียงข้างมากตกเป็นหน้าที่ของผู้จัดการมรดกที่จะต้องจัดการไปตามนั้นผู้จัดการมรดกส่วนข้างมากก็อาจดำเนินการไปในนามของผู้จัดการมรดกทั้งคณะได้การรวบรวมทรัพย์มรดกก็ตาม ก็เป็นการจัดการมรดก บุคคลภายนอกหากได้ทราบความเห็นหรือเสียงข้างมากที่ให้เรียกทรัพย์มรดกนั้นแล้วก็ต้องรับรู้และยินยอมให้ผู้จัดการมรดกส่วนข้างมากรับทรัพย์มรดกไปจะเกี่ยงให้ผู้จัดการมรดกส่วนข้างมากนำผู้จัดการมรดกส่วนข้างน้อยเข้ามาร่วมจัดการด้วยหาได้ไม่
ศาลชั้นต้นเห็นว่าการกระทำของจำเลยเป็นละเมิดแต่ศาลอุทธรณ์เห็นว่าไม่เป็นละเมิดจะถือได้อย่างมากเพียงแต่เป็นการผิดสัญญาซึ่งเป็นเรื่องระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ส่วนจำเลยที่ 2,3 ไม่ต้องรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1 แล้วพิพากษายืนในข้อที่ให้จำเลยที่ 2, 3ร่วมเสียค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความในศาลชั้นต้นด้วยนั้นเป็นเรื่องการใช้ดุลพินิจของศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161 และไม่มีเหตุอันสมควรที่ศาลฎีกาจะแก้ไข
ศาลชั้นต้นเห็นว่าการกระทำของจำเลยเป็นละเมิดแต่ศาลอุทธรณ์เห็นว่าไม่เป็นละเมิดจะถือได้อย่างมากเพียงแต่เป็นการผิดสัญญาซึ่งเป็นเรื่องระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ส่วนจำเลยที่ 2,3 ไม่ต้องรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1 แล้วพิพากษายืนในข้อที่ให้จำเลยที่ 2, 3ร่วมเสียค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความในศาลชั้นต้นด้วยนั้นเป็นเรื่องการใช้ดุลพินิจของศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161 และไม่มีเหตุอันสมควรที่ศาลฎีกาจะแก้ไข
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 382/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เสียงข้างมากของผู้จัดการมรดกมีผลผูกพัน การจัดการมรดกต้องเป็นไปตามเสียงข้างมาก แม้ผู้จัดการมรดกส่วนน้อยไม่ยินยอม
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1726 นั้น. การทำการตามหน้าที่ของผู้จัดการมรดกต้องเป็นไปตามเสียงข้างมาก. และเสียงข้างมากดังกล่าวนี้มิได้มีกฎหมายบังคับว่าต้องจัดให้มีการประชุมผู้จัดการมรดกเพื่อปรึกษาออกเสียงกันโดยตรงในกรณีที่ผู้จัดการมรดกเห็นควรดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งในการจัดการมรดก. และปรากฏว่าได้แจ้งไปยังผู้จัดการมรดกทุกคนแล้ว มีผู้เห็นด้วยเป็นส่วนมาก. ความเห็นส่วนข้างมากนั้นก็ถือได้ว่าเป็นเสียงข้างมากตกเป็นหน้าที่ของผู้จัดการมรดกที่จะต้องจัดการไปตามนั้น.ผู้จัดการมรดกส่วนข้างมากก็อาจดำเนินการไปในนามของผู้จัดการมรดกทั้งคณะได้. การรวบรวมทรัพย์มรดกก็ตาม ก็เป็นการจัดการมรดก บุคคลภายนอกหากได้ทราบความเห็นหรือเสียงข้างมากที่ให้เรียกทรัพย์มรดกนั้นแล้ว. ก็ต้องรับรู้และยินยอมให้ผู้จัดการมรดกส่วนข้างมากรับทรัพย์มรดกไป.จะเกี่ยงให้ผู้จัดการมรดกส่วนข้างมากนำผู้จัดการมรดกส่วนข้างน้อยเข้ามาร่วมจัดการด้วยหาได้ไม่.
ศาลชั้นต้นเห็นว่าการกระทำของจำเลยเป็นละเมิด. แต่ศาลอุทธรณ์เห็นว่าไม่เป็นละเมิด. จะถือได้อย่างมากเพียงแต่เป็นการผิดสัญญา. ซึ่งเป็นเรื่องระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1. ส่วนจำเลยที่ 2,3 ไม่ต้องรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1. แล้วพิพากษายืนในข้อที่ให้จำเลยที่ 2, 3ร่วมเสียค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความในศาลชั้นต้นด้วยนั้น.เป็นเรื่องการใช้ดุลพินิจของศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161. และไม่มีเหตุอันสมควรที่ศาลฎีกาจะแก้ไข.
ศาลชั้นต้นเห็นว่าการกระทำของจำเลยเป็นละเมิด. แต่ศาลอุทธรณ์เห็นว่าไม่เป็นละเมิด. จะถือได้อย่างมากเพียงแต่เป็นการผิดสัญญา. ซึ่งเป็นเรื่องระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1. ส่วนจำเลยที่ 2,3 ไม่ต้องรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1. แล้วพิพากษายืนในข้อที่ให้จำเลยที่ 2, 3ร่วมเสียค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความในศาลชั้นต้นด้วยนั้น.เป็นเรื่องการใช้ดุลพินิจของศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161. และไม่มีเหตุอันสมควรที่ศาลฎีกาจะแก้ไข.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1636/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ดุลพินิจศาลในการรับคำคัดค้านหลังเริ่มไต่สวนพยานในคดีผู้จัดการมรดก
การที่ผู้ร้องคัดค้านยื่นคำร้องคัดค้านในกรณีขอเป็นผู้จัดการมรดก ภายหลังจากศาลได้เริ่มสืบพยานผู้ร้องไปแล้วนั้น ย่อมอยู่ในดุลพินิจของศาลที่จะเห็นสมควรรับคำร้องคัดค้านหรือไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1122-1123/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องแย้งเรียกค่าใช้จ่ายผู้จัดการมรดกสัมพันธ์กับฟ้องเดิม สัญญาแบ่งมรดกเป็นเหตุ
ค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความที่จำเลยเสียไปในการดำเนินคดีร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตาย ซึ่งโจทก์จำเลยเป็นผู้ร้องขอร่วมกันและโจทก์ตกลงจะชดใช้ให้จำเลยครั้งหนึ่ง. โดยระบุไว้ในสัญญาแบ่งมรดก. แต่ภายหลังกลับถอนคำร้องเสีย เนื่องจากตกลงกันในการจัดการมรดกไม่ได้นั้น. เมื่อโจทก์มาฟ้องคดีขอรับมรดกแต่ผู้เดียว และขอให้ศาลพิพากษาว่าสัญญาแบ่งมรดกเป็นโมฆะ. จำเลยย่อมฟ้องแย้งเรียกค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความตามที่ตกลงไว้ในสัญญาแบ่งมรดกจากโจทก์ได้. เพราะเป็นฟ้องแย้งที่เกี่ยวกับคำฟ้องเดิม.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1470/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การตั้งผู้จัดการมรดก แม้มีข้อตกลงแบ่งมรดกแล้ว ก็ยังจำเป็นต้องมีผู้จัดการมรดกเพื่อให้การโอนมรดกสมบูรณ์
แม้จะมีข้อตกลงระหว่างผู้ร้องกับผู้คักค้าน ในการแบ่งปันมรดกกันไว้หมดแล้ว แต่การที่จะจัดการโอนมรดกให้แก่กันตามข้อตกลง ก็ยังจำเป็นจะต้องมีผู้จัดการมรดกเป็นผู้จัดการให้บังเกิดผลเสร็จสิ้นไปตามข้อตกลงนั้น
ในคดีที่ร้องขอต่อศาลให้ตั้งผู้จัดการมรดก ผู้ร้องจะต้องบรรยายในคำร้องถึงรายละเอียดแห่งข้อเท็จจริงและพฤติการณ์อันจำเป็นและสมควรที่จะต้องมีผู้จัดการมรดก ให้ได้ความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1713 เท่านั้น ข้อตกลงแบ่งทรัพย์ระหว่างผู้ร้องกับผู้คัดค้านมิใช่รายละเอียดเกี่ยวกับประเด็นที่ศาลจะพึงต้องพิจารณา ผู้ร้องจึงไม่ จำต้องบรรยายถึงข้อตกลงนั้นมาในคำร้อง หรือต้องคัดสำเนาข้อตกลงยื่นต่อศาลพร้อมคำร้อง
ในคดีที่ร้องขอต่อศาลให้ตั้งผู้จัดการมรดก ผู้ร้องจะต้องบรรยายในคำร้องถึงรายละเอียดแห่งข้อเท็จจริงและพฤติการณ์อันจำเป็นและสมควรที่จะต้องมีผู้จัดการมรดก ให้ได้ความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1713 เท่านั้น ข้อตกลงแบ่งทรัพย์ระหว่างผู้ร้องกับผู้คัดค้านมิใช่รายละเอียดเกี่ยวกับประเด็นที่ศาลจะพึงต้องพิจารณา ผู้ร้องจึงไม่ จำต้องบรรยายถึงข้อตกลงนั้นมาในคำร้อง หรือต้องคัดสำเนาข้อตกลงยื่นต่อศาลพร้อมคำร้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1470/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การตั้งผู้จัดการมรดก แม้มีข้อตกลงแบ่งมรดกแล้ว ก็ยังจำเป็นเพื่อจัดการโอนทรัพย์ให้สมบูรณ์ตามข้อตกลง
แม้จะมีข้อตกลงระหว่างผู้ร้องกับผู้คัดค้าน ในการแบ่งปันมรดกกันไว้หมดแล้ว แต่การที่จะจัดการโอนมรดกให้แก่กันตามข้อตกลง ก็ยังจำเป็นจะต้องมีผู้จัดการมรดกเป็นผู้จัดการให้บังเกิดผลเสร็จสิ้นไปตามข้อตกลงนั้น
ในคดีที่ร้องขอต่อศาลให้ตั้งผู้จัดการมรดก ผู้ร้องจะต้องบรรยายในคำร้องถึงรายละเอียดแห่งข้อเท็จจริงและพฤติการณ์อันจำเป็นและสมควรที่จะต้องมีผู้จัดการมรดก ให้ได้ความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1713 เท่านั้น ข้อตกลงแบ่งทรัพย์ระหว่างผู้ร้องกับผู้คัดค้านมิใช่รายละเอียดเกี่ยวกับประเด็นที่ศาลจะพึงต้องพิจารณา ผู้ร้องจึงไม่จำต้องบรรยายถึงข้อตกลงนั้นมาในคำร้อง หรือต้องคัดสำเนาข้อตกลงยื่นต่อศาลพร้อมคำร้อง
ในคดีที่ร้องขอต่อศาลให้ตั้งผู้จัดการมรดก ผู้ร้องจะต้องบรรยายในคำร้องถึงรายละเอียดแห่งข้อเท็จจริงและพฤติการณ์อันจำเป็นและสมควรที่จะต้องมีผู้จัดการมรดก ให้ได้ความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1713 เท่านั้น ข้อตกลงแบ่งทรัพย์ระหว่างผู้ร้องกับผู้คัดค้านมิใช่รายละเอียดเกี่ยวกับประเด็นที่ศาลจะพึงต้องพิจารณา ผู้ร้องจึงไม่จำต้องบรรยายถึงข้อตกลงนั้นมาในคำร้อง หรือต้องคัดสำเนาข้อตกลงยื่นต่อศาลพร้อมคำร้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1372/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิร้องขอให้เรียกผู้จัดการมรดกมาสอบถามขึ้นอยู่กับการมีส่วนได้เสียในกองมรดกที่ศาลยังไม่ได้วินิจฉัย
ยื่นฟ้องขอแบ่งมรดกไว้ แต่คดียังอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาล ยังถือไม่ได้ว่าเป็นผู้มีส่วนได้เสียในกองมรดกนั้น จึงไม่มีสิทธิร้องขอให้ศาลเรียกผู้จัดการมรดกมาสอบถามถึงเรื่องทรัพย์มรดก
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1720 ประกอบกับมาตรา 1565 ให้อำนาจศาลเรียกผู้จัดการมรดกมาแถลงถึงความเป็นอยู่แห่งทรัพย์มรดก แต่การที่จะเรียกผู้จัดการมรดกมาแถลงหรือไม่เป็นเรื่องของศาล
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1720 ประกอบกับมาตรา 1565 ให้อำนาจศาลเรียกผู้จัดการมรดกมาแถลงถึงความเป็นอยู่แห่งทรัพย์มรดก แต่การที่จะเรียกผู้จัดการมรดกมาแถลงหรือไม่เป็นเรื่องของศาล