พบผลลัพธ์ทั้งหมด 337 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1923/2541
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าทดแทนที่ดินเวนคืนตามประกาศ คสช. ไม่ต้องเสียดอกเบี้ยและค่าฤชาธรรมเนียม
เงินค่าทดแทนที่ดินที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยจำเลยชำระเพิ่มให้แก่โจทก์ตามประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 44เป็นราคาเบื้องต้นของที่ดินโจทก์ที่ได้แก้ไขราคาใหม่ และราคาของที่ดินโจทก์ที่แก้ไขแล้วนี้เป็นราคาซื้อขายที่ตกลงกันใหม่แทนราคาเดิมตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2530 มาตรา 10 ทวิ วรรคหนึ่ง เงินจำนวนนี้จึงเป็นเงินที่จำเลยชำระค่าทดแทนที่ดินโจทก์ที่จะต้องเวนคืนตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2530 และตามประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 44 เรื่อง การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ซึ่งเป็นกฎหมายพิเศษโดยเฉพาะ จึงไม่ตกอยู่ในบังคับที่จะต้องนำไปชำระค่าดอกเบี้ยและเสียค่าฤชาธรรมเนียมก่อนตาม ป.พ.พ.มาตรา 329 วรรคหนึ่ง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7130/2540 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องเรียกเงินตามตั๋วสัญญาใช้เงินและการร่วมรับผิดในค่าฤชาธรรมเนียม
โจทก์ฟ้องโดยยกข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาว่า ว.ขอไถ่ถอนตั๋วสัญญาใช้เงินของโจทก์โดยโจทก์ไม่ได้มอบอำนาจ จำเลยที่ 2 พนักงานของจำเลยที่ 1 ไม่ตรวจสอบหลักฐานการมอบอำนาจ ร่วมกันยินยอมให้ ว.รับตั๋วสัญญาใช้เงินของโจทก์ไปให้พนักงานฝ่ายตั๋วเงินของจำเลยที่ 1 สั่งจ่ายเช็คของธนาคารตามจำนวนเงินในตั๋วสัญญาใช้เงินพร้อมดอกเบี้ยโดยระบุชื่อโจทก์หรือผู้ถือเป็นผู้รับเงินแล้วมอบให้ ว.ไป ว.ได้สลักหลังปลอมลายมือชื่อโจทก์ในเช็คแล้วนำไปเข้าบัญชีเรียกเก็บเงินเป็นเหตุให้โจทก์ไม่อาจไถ่ถอนตั๋วสัญญาใช้เงินของโจทก์ได้ ขอให้บังคับให้จำเลยทั้งสองชำระเงินตามตั๋วสัญญาใช้เงินและดอกเบี้ยให้โจทก์ จำเลยที่ 1 ให้การต่อสู้ว่า โจทก์ฟ้องจำเลยที่ 1 ในฐานะผู้ออกตั๋วสัญญาใช้เงินต้องฟ้องภายใน 3 ปี นับแต่วันออกตั๋วตาม ป.พ.พ.มาตรา 1001 ดังนี้ คำฟ้องของโจทก์ข้างต้นเป็นการฟ้องเรียกเงินประกันตามตั๋วสัญญาใช้เงินคืนจากจำเลยที่ 1ซึ่งจำเลยที่ 1 มอบให้แก่ ว.ไปโดยมิชอบอันเป็นการกระทำละเมิดต่อโจทก์ ซึ่งจำเลยที่ 1 จะต้องใช้เงินค่าสินไหมทดแทนให้โจทก์โดยการคืนทรัพย์สิน ซึ่งโจทก์ต้องเสียไปเพราะละเมิดตาม ป.พ.พ.มาตรา 438 วรรคสอง ไม่ใช่ฟ้องเรียกเงินตามตั๋วสัญญาใช้เงิน และสิทธิเรียกร้องของโจทก์ที่จะให้จำเลยที่ 1 คืนเงินตามตั๋วสัญญาใช้เงินอันโจทก์ต้องเสียไปเพราะละเมิดดังกล่าว ไม่มีบัญญัติอายุความไว้จึงมีกำหนด 10 ปี ตามมาตรา 193/30
จำเลยที่ 2 เป็นฝ่ายชนะคดีในชั้นศาลอุทธรณ์ การที่ศาลอุทธรณ์เพียงแต่พิพากษาแก้เป็นว่า ให้ยกฟ้องโจทก์สำหรับจำเลยที่ 2 นอกจากที่แก้ให้เป็นไปตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น ค่าฤชาธรรมเนียมชั้นอุทธรณ์ให้เป็นพับ ซึ่งเป็นผลให้จำเลยที่ 2 ยังคงต้องร่วมรับผิดกับจำเลยที่ 1 ใช้ค่าฤชาธรรมเนียมในศาลชั้นต้นแทนโจทก์อยู่ จึงเป็นการไม่ชอบ ศาลฎีกาเห็นสมควรแก้ไขเป็นว่าค่าฤชาธรรมเนียมในศาลชั้นต้นระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 2 ให้เป็นพับ
จำเลยที่ 2 เป็นฝ่ายชนะคดีในชั้นศาลอุทธรณ์ การที่ศาลอุทธรณ์เพียงแต่พิพากษาแก้เป็นว่า ให้ยกฟ้องโจทก์สำหรับจำเลยที่ 2 นอกจากที่แก้ให้เป็นไปตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น ค่าฤชาธรรมเนียมชั้นอุทธรณ์ให้เป็นพับ ซึ่งเป็นผลให้จำเลยที่ 2 ยังคงต้องร่วมรับผิดกับจำเลยที่ 1 ใช้ค่าฤชาธรรมเนียมในศาลชั้นต้นแทนโจทก์อยู่ จึงเป็นการไม่ชอบ ศาลฎีกาเห็นสมควรแก้ไขเป็นว่าค่าฤชาธรรมเนียมในศาลชั้นต้นระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 2 ให้เป็นพับ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7130/2540 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องละเมิดจากการไถ่ถอนตั๋วสัญญาใช้เงินโดยไม่ได้รับมอบอำนาจ และการแก้ไขค่าฤชาธรรมเนียม
โจทก์ฟ้องโดยยกข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาว่า ว. ขอไถ่ถอนตั๋วสัญญาใช้เงินของโจทก์โดยโจทก์ไม่ได้มอบอำนาจ จำเลยที่ 2 พนักงานของจำเลยที่ 1ไม่ตรวจสอบหลักฐานการมอบอำนาจ ร่วมกันยินยอมให้ ว. รับตั๋วสัญญาใช้เงินของโจทก์ไปให้พนักงานฝ่ายตั๋วเงินของจำเลยที่ 1 สั่งจ่ายเช็คของธนาคารตามจำนวนเงินในตั๋วสัญญาใช้เงินพร้อมดอกเบี้ยโดยระบุชื่อโจทก์หรือผู้ถือเป็นผู้รับเงินแล้วมอบให้ ว. ไป ว. ได้สลักหลังปลอมลายมือชื่อโจทก์ในเช็คแล้วนำไปเข้าบัญชีเรียกเก็บเงินเป็นเหตุให้โจทก์ไม่อาจไถ่ถอนตั๋วสัญญาใช้เงินของโจทก์ได้ ขอให้บังคับให้จำเลยทั้งสองชำระเงินตามตั๋วสัญญาใช้เงินและดอกเบี้ยให้โจทก์ จำเลยที่ 1 ให้การต่อสู้ว่า โจทก์ฟ้องจำเลยที่ 1ในฐานะผู้ออกตั๋วสัญญาใช้เงินต้องฟ้องภายใน 3 ปี นับแต่วันออกตั๋วตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1001 ดังนี้ คำฟ้องของโจทก์ข้างต้นเป็นการฟ้องเรียกเงินประกันตามตั๋วสัญญาใช้เงินคืนจากจำเลยที่ 1 ซึ่งจำเลยที่ 1 มอบให้แก่ว. ไปโดยมิชอบอันเป็นการกระทำละเมิดต่อโจทก์ ซึ่งจำเลยที่ 1 จะต้องใช้เงินค่าสินไหมทดแทนให้โจทก์โดยการคืนทรัพย์สิน ซึ่งโจทก์ต้องเสียไปเพราะละเมิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 438 วรรคสอง ไม่ใช่ฟ้องเรียกเงินตามตั๋วสัญญาใช้เงิน และสิทธิเรียกร้องของโจทก์ที่จะให้จำเลยที่ 1 คืนเงินตามตั๋วสัญญาใช้เงินอันโจทก์ต้องเสียไปเพราะละเมิดดังกล่าว ไม่มีบัญญัติอายุความไว้จึงมีกำหนด10 ปี ตามมาตรา 193/30
จำเลยที่ 2 เป็นฝ่ายชนะคดีในชั้นศาลอุทธรณ์ การที่ศาลอุทธรณ์เพียงแต่พิพากษาแก้เป็นว่า ให้ยกฟ้องโจทก์สำหรับจำเลยที่ 2 นอกจากที่แก้ให้เป็นไปตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น ค่าฤชาธรรมเนียมชั้นอุทธรณ์ให้เป็นพับ ซึ่งเป็นผลให้จำเลยที่ 2 ยังคงต้องร่วมรับผิดกับจำเลยที่ 1 ใช้ค่าฤชาธรรมเนียมในศาลชั้นต้นแทนโจทก์อยู่ จึงเป็นการไม่ชอบ ศาลฎีกาเห็นสมควรแก้ไขเป็นว่าค่าฤชาธรรมเนียมในศาลชั้นต้นระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 2 ให้เป็นพับ
จำเลยที่ 2 เป็นฝ่ายชนะคดีในชั้นศาลอุทธรณ์ การที่ศาลอุทธรณ์เพียงแต่พิพากษาแก้เป็นว่า ให้ยกฟ้องโจทก์สำหรับจำเลยที่ 2 นอกจากที่แก้ให้เป็นไปตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น ค่าฤชาธรรมเนียมชั้นอุทธรณ์ให้เป็นพับ ซึ่งเป็นผลให้จำเลยที่ 2 ยังคงต้องร่วมรับผิดกับจำเลยที่ 1 ใช้ค่าฤชาธรรมเนียมในศาลชั้นต้นแทนโจทก์อยู่ จึงเป็นการไม่ชอบ ศาลฎีกาเห็นสมควรแก้ไขเป็นว่าค่าฤชาธรรมเนียมในศาลชั้นต้นระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 2 ให้เป็นพับ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7130/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องละเมิดจากการไถ่ถอนตั๋วสัญญาใช้เงินโดยมิชอบ และการแก้ไขค่าฤชาธรรมเนียม
โจทก์ฟ้องโดยยกข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาว่า ว. ขอไถ่ถอนตั๋วสัญญาใช้เงินของโจทก์โดยโจทก์ไม่ได้มอบอำนาจ จำเลยที่ 2 พนักงานของจำเลยที่ 1ไม่ตรวจสอบหลักฐานการมอบอำนาจ ร่วมกันยินยอมให้ ว. รับตั๋วสัญญาใช้เงินของโจทก์ไปให้พนักงานฝ่ายตั๋วเงินของจำเลยที่ 1 สั่งจ่ายเช็คของธนาคารตามจำนวนเงินในตั๋วสัญญาใช้เงินพร้อมดอกเบี้ยโดยระบุชื่อโจทก์หรือผู้ถือเป็นผู้รับเงินแล้วมอบให้ ว. ไป ว. ได้สลักหลังปลอมลายมือชื่อโจทก์ในเช็คแล้วนำไปเข้าบัญชีเรียกเก็บเงินเป็นเหตุให้โจทก์ไม่อาจไถ่ถอนตั๋วสัญญาใช้เงินของโจทก์ได้ ขอให้บังคับให้จำเลยทั้งสองชำระเงินตามตั๋วสัญญาใช้เงินและดอกเบี้ยให้โจทก์ จำเลยที่ 1 ให้การต่อสู้ว่า โจทก์ฟ้องจำเลยที่ 1ในฐานะผู้ออกตั๋วสัญญาใช้เงินต้องฟ้องภายใน 3 ปี นับแต่วันออกตั๋วตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1001 ดังนี้ คำฟ้องของโจทก์ข้างต้นเป็นการฟ้องเรียกเงินประกันตามตั๋วสัญญาใช้เงินคืนจากจำเลยที่ 1 ซึ่งจำเลยที่ 1 มอบให้แก่ว. ไปโดยมิชอบอันเป็นการกระทำละเมิดต่อโจทก์ ซึ่งจำเลยที่ 1 จะต้องใช้เงินค่าสินไหมทดแทนให้โจทก์โดยการคืนทรัพย์สิน ซึ่งโจทก์ต้องเสียไปเพราะละเมิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 438 วรรคสอง ไม่ใช่ฟ้องเรียกเงินตามตั๋วสัญญาใช้เงิน และสิทธิเรียกร้องของโจทก์ที่จะให้จำเลยที่ 1 คืนเงินตามตั๋วสัญญาใช้เงินอันโจทก์ต้องเสียไปเพราะละเมิดดังกล่าว ไม่มีบัญญัติอายุความไว้จึงมีกำหนด10 ปี ตามมาตรา 193/30
จำเลยที่ 2 เป็นฝ่ายชนะคดีในชั้นศาลอุทธรณ์ การที่ศาลอุทธรณ์เพียงแต่พิพากษาแก้เป็นว่า ให้ยกฟ้องโจทก์สำหรับจำเลยที่ 2 นอกจากที่แก้ให้เป็นไปตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น ค่าฤชาธรรมเนียมชั้นอุทธรณ์ให้เป็นพับ ซึ่งเป็นผลให้จำเลยที่ 2 ยังคงต้องร่วมรับผิดกับจำเลยที่ 1 ใช้ค่าฤชาธรรมเนียมในศาลชั้นต้นแทนโจทก์อยู่ จึงเป็นการไม่ชอบ ศาลฎีกาเห็นสมควรแก้ไขเป็นว่าค่าฤชาธรรมเนียมในศาลชั้นต้นระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 2 ให้เป็นพับ
จำเลยที่ 2 เป็นฝ่ายชนะคดีในชั้นศาลอุทธรณ์ การที่ศาลอุทธรณ์เพียงแต่พิพากษาแก้เป็นว่า ให้ยกฟ้องโจทก์สำหรับจำเลยที่ 2 นอกจากที่แก้ให้เป็นไปตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น ค่าฤชาธรรมเนียมชั้นอุทธรณ์ให้เป็นพับ ซึ่งเป็นผลให้จำเลยที่ 2 ยังคงต้องร่วมรับผิดกับจำเลยที่ 1 ใช้ค่าฤชาธรรมเนียมในศาลชั้นต้นแทนโจทก์อยู่ จึงเป็นการไม่ชอบ ศาลฎีกาเห็นสมควรแก้ไขเป็นว่าค่าฤชาธรรมเนียมในศาลชั้นต้นระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 2 ให้เป็นพับ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6967/2540 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตประเด็นข้อพิพาทและค่าฤชาธรรมเนียม: การคำนวณทุนทรัพย์ที่ใช้บังคับกับค่าขึ้นศาลเฉพาะดอกเบี้ย
ระหว่างพิจารณาคดีของศาลชั้นต้น โจทก์แถลงรับว่าได้รับเงินตามเช็คจำนวน 4 ฉบับ ที่พิพาทกันแล้วปรากฏตามรายงานกระบวนพิจารณาของศาลชั้นต้น ฉะนั้น ประเด็นข้อพิพาทที่ศาลชั้นต้นจะต้องวินิจฉัยจึงมีเพียงว่าจำเลยทั้งสองจะต้องรับผิดชำระดอกเบี้ยตามเช็คพิพาททั้ง 4 ฉบับ ให้แก่โจทก์เพียงใดหรือไม่เท่านั้นส่วนหนี้ตามเช็คพิพาท 4 ฉบับ ไม่เป็นประเด็นข้อพิพาทต่อไป
เมื่อศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่าจำเลยที่ 1 ต้องชำระดอกเบี้ยตามเช็คพิพาททั้ง 4 ฉบับ ให้โจทก์ และกำหนดในคำพิพากษาว่าให้จำเลยที่ 1 ใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนแทนโจทก์ เฉพาะค่าขึ้นศาลให้ใช้แทนเท่าทุนทรัพย์ที่โจทก์ชนะคดี ดังนี้ จำนวนทุนทรัพย์ที่โจทก์ชนะคดีตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นจึงหมายถึงเฉพาะจำนวนดอกเบี้ยที่เป็นข้อพิพาทและศาลชั้นต้นต้องวินิจฉัยเท่านั้น เพราะหากศาลชั้นต้นต้องการให้จำเลยที่ 1 ชำระค่าขึ้นศาลแทนโจทก์ทั้งหมด ก็ไม่จำต้องระบุว่าเฉพาะค่าขึ้นศาลให้จำเลยที่ 1 ใช้แทนเท่าทุนทรัพย์ที่โจทก์ชนะคดี
เมื่อจำเลยที่ 1 อุทธรณ์ จำเลยที่ 1 จึงไม่ต้องวางเงินค่าขึ้นศาลในส่วนที่เป็นทุนทรัพย์ตามเช็คพิพาททั้ง 4 ฉบับ ที่ไม่เป็นประเด็นข้อพิพาท
เมื่อศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่าจำเลยที่ 1 ต้องชำระดอกเบี้ยตามเช็คพิพาททั้ง 4 ฉบับ ให้โจทก์ และกำหนดในคำพิพากษาว่าให้จำเลยที่ 1 ใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนแทนโจทก์ เฉพาะค่าขึ้นศาลให้ใช้แทนเท่าทุนทรัพย์ที่โจทก์ชนะคดี ดังนี้ จำนวนทุนทรัพย์ที่โจทก์ชนะคดีตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นจึงหมายถึงเฉพาะจำนวนดอกเบี้ยที่เป็นข้อพิพาทและศาลชั้นต้นต้องวินิจฉัยเท่านั้น เพราะหากศาลชั้นต้นต้องการให้จำเลยที่ 1 ชำระค่าขึ้นศาลแทนโจทก์ทั้งหมด ก็ไม่จำต้องระบุว่าเฉพาะค่าขึ้นศาลให้จำเลยที่ 1 ใช้แทนเท่าทุนทรัพย์ที่โจทก์ชนะคดี
เมื่อจำเลยที่ 1 อุทธรณ์ จำเลยที่ 1 จึงไม่ต้องวางเงินค่าขึ้นศาลในส่วนที่เป็นทุนทรัพย์ตามเช็คพิพาททั้ง 4 ฉบับ ที่ไม่เป็นประเด็นข้อพิพาท
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6841/2540 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผลของการทำสัญญาประนีประนอมยอมความต่อคำพิพากษาศาลอุทธรณ์และการไม่ต้องชำระค่าฤชาธรรมเนียม
ระหว่างพิจารณาของศาลฎีกา โจทก์และจำเลยทำสัญญาประนี-ประนอมยอมความกันว่า จำเลยยอมชำระเงินจำนวน 3,000,000 บาท แก่โจทก์และโจทก์ไม่ติดใจเรียกร้องอื่นใดนอกจากนี้อีก และโจทก์จำเลยยอมให้ค่าฤชา-ธรรมเนียมชั้นฎีกาเป็นพับ ดังนี้ เมื่อศาลฎีกาได้พิพากษาให้คดีเสร็จเด็ดขาดไปตามสัญญาประนีประนอมยอมความดังกล่าว จึงเป็นกรณีที่คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ถูกเปลี่ยนแปลงแก้ไขโดยคำพิพากษาตามสัญญาประนีประนอมยอมความของศาลฎีกาและเป็นผลให้จำเลยไม่ต้องจดทะเบียนโอนที่ดินพร้อมตึกแถวแก่โจทก์และไม่ต้องใช้ค่าฤชาธรรมเนียมในชั้นพิจารณาของศาลชั้นต้นและค่าทนายความชั้นอุทธรณ์แทนโจทก์ตามคำพิพากษาของศาลล่างทั้งสองอีกต่อไป โจทก์จึงไม่มีสิทธิได้รับเงินค่าฤชาธรรมเนียมในชั้นพิจารณาของศาลชั้นต้นที่จำเลยนำมาวางศาลเพื่อใช้แทนโจทก์เมื่อจำเลยยื่นอุทธรณ์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6841/2540 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผลของการทำสัญญาประนีประนอมยอมความต่อสิทธิเรียกร้องค่าฤชาธรรมเนียมที่จำเลยวางศาลไว้
ระหว่างพิจารณาของศาลฎีกา โจทก์และจำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันว่า จำเลยยอมชำระเงินจำนวน 3,000,000 บาท แก่โจทก์และโจทก์ไม่ติดใจเรียกร้องอื่นใดนอกจากนี้อีก และโจทก์จำเลยยอมให้ค่าฤชาธรรมเนียมชั้นฎีกาเป็นพับ ดังนี้ เมื่อศาลฎีกาได้พิพากษาให้คดีเสร็จเด็ดขาดไปตามสัญญาประนีประนอมยอมความดังกล่าว จึงเป็นกรณีที่คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ถูกเปลี่ยนแปลงแก้ไขโดยคำพิพากษาตามสัญญาประนีประนอมยอมความของศาลฎีกาและเป็นผลให้จำเลยไม่ต้องจดทะเบียนโอนที่ดินพร้อมตึกแถวแก่โจทก์และไม่ต้องใช้ค่าฤชาธรรมเนียมในชั้นพิจารณาของศาลชั้นต้นและค่าทนายความชั้นอุทธรณ์แทนโจทก์ตามคำพิพากษาของศาลล่างทั้งสองอีกต่อไป โจทก์จึงไม่มีสิทธิได้รับเงินค่าฤชาธรรมเนียมในชั้นพิจารณาของศาลชั้นต้นที่จำเลยนำมาวางศาลเพื่อใช้แทนโจทก์เมื่อจำเลยยื่นอุทธรณ์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6841/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประนีประนอมยอมความแก้ไขคำพิพากษาเดิม โจทก์สละสิทธิเรียกร้องค่าฤชาธรรมเนียม
ระหว่างพิจารณาของศาลฎีกา โจทก์และจำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันว่า จำเลยยอมชำระเงินจำนวน 3,000,000 บาท แก่โจทก์และโจทก์ไม่ติดใจเรียกร้องอื่นใดนอกจากนี้อีก และโจทก์จำเลยยอมให้ค่าฤชาธรรมเนียมชั้นฎีกาเป็นพับ ดังนี้ เมื่อศาลฎีกาได้พิพากษาให้คดีเสร็จเด็ดขาดไปตามสัญญาประนีประนอมยอมความดังกล่าว จึงเป็นกรณีที่คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ถูกเปลี่ยนแปลงแก้ไขโดยคำพิพากษาตามสัญญาประนีประนอมยอมความของศาลฎีกาและเป็นผลให้จำเลยไม่ต้องจดทะเบียนโอนที่ดินพร้อมตึกแถวแก่โจทก์และไม่ต้องใช้ค่าฤชาธรรมเนียมในชั้นพิจารณาของศาลชั้นต้นและค่าทนายความชั้นอุทธรณ์แทนโจทก์ตามคำพิพากษาของศาลล่างทั้งสองอีกต่อไป โจทก์จึงไม่มีสิทธิได้รับเงินค่าฤชาธรรมเนียมในชั้นพิจารณาของศาลชั้นต้นที่จำเลยนำมาวางศาลเพื่อใช้แทนโจทก์เมื่อจำเลยยื่นอุทธรณ์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5955/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ดอกเบี้ยค่าสินไหมทดแทนและการสละประเด็นค่าฤชาธรรมเนียม
เมื่อสิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนของจำเลยเกิดขึ้นแล้วตั้งแต่วันเกิดเหตุ ดังนั้นโดยนัยแห่ง ป.พ.พ.มาตรา 206, 224 วรรคหนึ่ง จำเลยจึงชอบที่จะฟ้องเรียกดอกเบี้ยร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปีของต้นเงินค่าสินไหมทดแทนเอาแก่โจทก์นับแต่วันฟ้องซึ่งเป็นวันในระหว่างเวลาที่โจทก์ผิดนัดได้ แต่เมื่อมีคำท้ากันคู่ความมิได้กำหนดค่าเสียหายส่วนนี้ไว้ด้วย จึงถือได้ว่าได้ตกลงกันสละประเด็นในส่วนนี้ไปแล้ว ศาลจึงพิพากษาให้จำเลยได้เฉพาะจำนวนเงินค่าเสียหายตามคำท้าเท่านั้น จะพิพากษาให้โจทก์รับผิดชำระดอกเบี้ยดังกล่าวนับแต่วันฟ้องย่อมเป็นการพิพากษาเกินคำขอและนอกคำท้า
ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 141(5), 167 บัญญัติให้ศาลสั่งเกี่ยวกับเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมในคำพิพากษาทุกเรื่อง ฉะนั้นไม่ว่าคู่ความจะมีคำร้องขอเกี่ยวด้วยเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมหรือไม่ก็ตามศาลต้องวินิจฉัยอยู่แล้ว ที่ศาลพิพากษาตามยอม แต่ให้โจทก์ใช้ค่าฤชาธรรมเนียมในศาลชั้นต้นแทนจำเลยจึงไม่เกินคำขอหรือคำท้าที่คู่ความได้ตกลงท้ากันไว้
ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 141(5), 167 บัญญัติให้ศาลสั่งเกี่ยวกับเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมในคำพิพากษาทุกเรื่อง ฉะนั้นไม่ว่าคู่ความจะมีคำร้องขอเกี่ยวด้วยเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมหรือไม่ก็ตามศาลต้องวินิจฉัยอยู่แล้ว ที่ศาลพิพากษาตามยอม แต่ให้โจทก์ใช้ค่าฤชาธรรมเนียมในศาลชั้นต้นแทนจำเลยจึงไม่เกินคำขอหรือคำท้าที่คู่ความได้ตกลงท้ากันไว้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5348/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแก้ไขข้อตกลงในสัญญากู้ยืมเงิน, ดอกเบี้ยเกินอัตราที่กฎหมายกำหนด, และอำนาจศาลในการสั่งค่าฤชาธรรมเนียม
สัญญากู้ยืมเงินมีข้อความระบุชัดเจนว่าจำเลยได้รับเงิน80,000 บาท ไปแล้วในวันทำสัญญา การที่จำเลยนำสืบว่าไม่ได้รับเงินเต็มตามจำนวน 80,000 บาท ตามที่ระบุไว้ในสัญญา เนื่องจากโจทก์นำหนี้เงินกู้เดิม 10,000 บาทรวมกับยอดหนี้เงินกู้ใหม่ 13,000 บาท แล้วโจทก์คิดต้นเงินรวมกับดอกเบี้ยเป็นจำนวน 70,000 บาท โดยให้จำเลยผ่อนชำระเดือนละ 1,000 บาท เป็นเวลา 70 เดือน เป็นการนำสืบว่าจำเลยได้รับเงินไปจากโจทก์จำนวนเท่าใด ไม่ใช่เป็นการนำสืบเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความในเอกสารสัญญากู้ยืมเงินตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94(ข)แต่เป็นการนำพยานบุคคลมาสืบถึงความไม่สมบูรณ์แห่งหนี้ตามมาตรา 94 วรรคท้าย จำเลยย่อมนำสืบได้ จำเลยกู้เงินโจทก์ 23,000 บาท มิใช่ 80,000 บาท ตามที่ระบุในสัญญากู้ยืมเงิน และโจทก์คิดดอกเบี้ยโดยนำต้นเงินรวมกับดอกเบี้ยเป็นจำนวน 70,000 บาท แล้วให้จำเลยชำระเดือนละ 1,000 บาท เป็นเวลา 70 เดือน เมื่อคำนวณแล้วได้เป็นอัตราดอกเบี้ยเกินกว่าร้อยละ 15 ต่อปี ดอกเบี้ยจึงเป็นโมฆะ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161และ 167 บัญญัติให้ศาลต้องสั่งในเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมไม่ว่าคู่ความจะมีคำขอหรือไม่ ดังนั้น แม้ว่าในคำให้การของจำเลยมิได้ขอให้โจทก์ใช้ค่าทนายความแก่จำเลย ศาลอุทธรณ์ก็มีอำนาจพิพากษาให้โจทก์ใช้ค่าทนายความชั้นอุทธรณ์แทนจำเลยคดีนี้จำเลยไม่ได้ฟ้องแย้ง คำให้การของจำเลยที่ขอให้ศาลไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาทและที่จำเลยไม่ได้ขอให้โจทก์ใช้ค่าทนายความแทนจำเลยไม่ใช่คำขอท้ายคำฟ้อง จึงไม่มีกรณีที่ศาลจะพิพากษาเกินไปกว่าหรือนอกจากที่ปรากฏในคำฟ้องของจำเลย