พบผลลัพธ์ทั้งหมด 114 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2754/2523
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความค่าล่วงเวลา: ลูกจ้างเรียกร้องค่าล่วงเวลาจากนายจ้างมีอายุความ 2 ปี ตามมาตรา 165(9) หากเป็นเงินจ้างที่ไม่แน่นอน
คำว่า 'หัตถกรรม' นั้น ประกอบคำว่า 'โรงงาน' เพื่อให้ทราบว่าบุคคลจำพวกที่ 4 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 165(9) นี้ หมายถึงผู้ที่ทำงานประจำสถานที่ที่เรียกว่าโรงงานหัตถกรรมเท่านั้นไม่รวมถึงสถานที่อย่างอื่นด้วย คำว่า 'หัตถกรรม' หรือแม้กระทั่งคำว่า'โรงงานหัตถกรรม' หาได้ประกอบคำว่า 'คนงาน''ผู้ช่วยงาน' หรือ 'ลูกมือฝึกหัด' ด้วยไม่
การที่ลูกจ้างเรียกร้องเอาค่าล่วงเวลาจากนายจ้าง โดยอ้างว่าจ่ายให้ต่ำกว่าจำนวนที่จะต้องจ่ายเช่นนี้ มีกำหนดอายุความสองปี ตามมาตรา 165(9) เพราะถือได้ว่าเป็นกรณีคนงานเรียกร้องเอาเงินจ้าง และค่าล่วงเวลานี้ แม้จะมีกำหนดจ่ายเป็นระยะเวลาแต่จำนวนเงินที่จ่ายให้แก่ลูกจ้างแต่ละคนไม่แน่นอน บางเดือนมากบางเดือนน้อยไม่เท่ากันจึงมิใช่เงินประเภทที่บัญญัติในมาตรา 166
การที่ลูกจ้างเรียกร้องเอาค่าล่วงเวลาจากนายจ้าง โดยอ้างว่าจ่ายให้ต่ำกว่าจำนวนที่จะต้องจ่ายเช่นนี้ มีกำหนดอายุความสองปี ตามมาตรา 165(9) เพราะถือได้ว่าเป็นกรณีคนงานเรียกร้องเอาเงินจ้าง และค่าล่วงเวลานี้ แม้จะมีกำหนดจ่ายเป็นระยะเวลาแต่จำนวนเงินที่จ่ายให้แก่ลูกจ้างแต่ละคนไม่แน่นอน บางเดือนมากบางเดือนน้อยไม่เท่ากันจึงมิใช่เงินประเภทที่บัญญัติในมาตรา 166
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2650/2523 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อยกเว้นค่าล่วงเวลาสำหรับลูกจ้างผู้มีอำนาจหน้าที่ทำการแทนนายจ้างในการจ้างงาน
เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่า ลูกจ้างมีอำนาจหน้าที่ทำการแทนนายจ้างโดยสมบูรณ์ในการจ้างคนงาน ไม่ว่าเป็นตัวคนที่ว่างงาน ค่าแรง ตลอดจนกรณีที่เกี่ยวข้องกับเรื่องการจ้างนั้น จึงเป็นกรณีที่ระบุตามข้อ 36 (1) แห่งประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการคุ้มครองแรงงานฯ ลูกจ้างจึงไม่มีสิทธิได้รับค่าล่วงเวลา หาต้องพิจารณาว่าในการทำงานของลูกจ้าง ลูกจ้างจะต้องอยู่ภายใต้บังคับของนายจ้างหรือผู้แทนของนายจ้างหรือไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2650/2523
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ลูกจ้างมีอำนาจทำการแทนนายจ้างในการจ้างงาน ย่อมไม่มีสิทธิได้รับค่าล่วงเวลา ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย
เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่า ลูกจ้างมีอำนาจหน้าที่ทำการแทนนายจ้างโดยสมบูรณ์ในการจ้างคนงาน ไม่ว่าเป็นตัวคนที่ว่างงาน ค่าแรง ตลอดจนกรณีที่เกี่ยวข้องกับเรื่องการจ้างนั้น จึงเป็นกรณีที่ระบุตามข้อ 36(1) แห่งประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงานฯ ลูกจ้างจึงไม่มีสิทธิได้รับค่าล่วงเวลา หาต้องพิจารณาว่าในการทำงานของลูกจ้าง ลูกจ้างจะต้องอยู่ภายใต้บังคับของนายจ้างหรือผู้แทนของนายจ้างหรือไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3074/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างเนื่องจากฐานะการเงินของนายจ้าง และสิทธิการได้รับค่าชดเชยและค่าล่วงเวลาของลูกจ้าง
บริษัทนายจ้างประกาศหยุดพักการผลิตและปิดโรงงานเพราะเงินทุนและวัตถุดิบไม่พอ ไม่ได้อ้างข้อที่คนงานหยุดงาน จึงไม่เข้าข้อยกเว้นที่นายจ้างจะไม่จ่ายเงินชดเชยตามประกาศกระทรวงมหาดไทยฯ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1320/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ลูกจ้างทำความสะอาดและเก็บเงินในร้านตัดผม มีสิทธิได้รับค่าล่วงเวลา แม้ทำงานเกี่ยวกับกิจการร้านค้า ไม่ถือเป็นงานบ้าน
งานทำความสะอาดร้านตัดผมและเก็บเงินจากลูกค้าที่ ล.ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะลูกจ้างนั้น เป็นงานเกี่ยวกับร้านตัดผมที่จำเลยประกอบกิจการอยู่ โดยเฉพาะหน้าที่เก็บเงินจากลูกค้าที่มาตัดผม ย่อมเห็นได้ว่าไม่เกี่ยวกับงานบ้าน กรณีถือไม่ได้ว่า ล. เป็นลูกจ้างซึ่งทำงานเกี่ยวกับงานบ้าน ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการคุ้มครองแรงงาน ล. จึงมีสิทธิได้รับค่าล่วงเวลา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 898/2520 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ลูกจ้างถูกสั่งทำงานซ่อมรถนอกเวลาราชการ นายจ้างต้องจ่ายค่าชดเชยและค่าล่วงเวลา แม้มีการตกลงกันไม่คิดค่าล่วงเวลา
ผู้แทนโจทก์สั่งให้ลูกจ้างไปซ่อมรถบดถนนที่เสีย ลูกจ้างได้เดินทางไปทันทีและโดยดี แต่รถยนต์ที่ใช้เดินทางไปเกิดเสีย ลูกจ้างช่วยแก้ไขอยู่จนกระทั่งเวลา 16 น. เศษ จึงใช้การได้ ที่ลูกจ้างไม่เดินทางต่อไปเพื่อซ่อมรถบดถนนก็เพราะเห็นว่าจวนจะหมดเวลาทำงานตามปกติ (17 น.) แล้ว ดังนี้ ถือไม่ได้ว่าลูกจ้างขัดคำสั่งโจทก์ โจทก์ให้ลูกจ้างออกจากงาน (เมื่อ พ.ศ. 2513) จึงต้องจ่ายเงินชดเชยแก่ลูกจ้าง
ประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องกำหนดเวลาทำงานฯ ซึ่งกำหนดว่าถ้านายจ้างให้ลูกจ้างทำงานในวันหยุดตามประเพณีนิยม หรือในวันหยุดงานพักผ่อนประจำปี นายจ้างต้องจ่ายค่าล่วงเวลาให้ตามอัตราที่กำหนดนั้น มีเจตนารมณ์เพื่อคุมครองลูกจ้างในเรื่องค่าแรงงาน ซึ่งกำหนดอัตราค่าแรงงานไว้ไม่ให้นายจ้างเอาเปรียบลูกจ้าง ถือว่าข้อกำหนดดังกล่าวเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนเป็นบทบัญญัติเด็ดขาดซึ่งจะตกลงเป็นอย่างอื่นไม่ได้ ดังนั้น การที่โจทก์กับลูกจ้างตกลงกันไม่คิดค่าล่วงเวลาเพราะลูกจ้างขอทำงานในวันหยุดชดใช้วันทำงานปกติที่ขาดงาน ซึ่งเป็นข้อตกลงที่ตกเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 113 ใช้บังคับไม่ได้ โจทก์ต้องจ่ายค่าล่วงเวลาให้ลูกจ้าง
ประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องกำหนดเวลาทำงานฯ ซึ่งกำหนดว่าถ้านายจ้างให้ลูกจ้างทำงานในวันหยุดตามประเพณีนิยม หรือในวันหยุดงานพักผ่อนประจำปี นายจ้างต้องจ่ายค่าล่วงเวลาให้ตามอัตราที่กำหนดนั้น มีเจตนารมณ์เพื่อคุมครองลูกจ้างในเรื่องค่าแรงงาน ซึ่งกำหนดอัตราค่าแรงงานไว้ไม่ให้นายจ้างเอาเปรียบลูกจ้าง ถือว่าข้อกำหนดดังกล่าวเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนเป็นบทบัญญัติเด็ดขาดซึ่งจะตกลงเป็นอย่างอื่นไม่ได้ ดังนั้น การที่โจทก์กับลูกจ้างตกลงกันไม่คิดค่าล่วงเวลาเพราะลูกจ้างขอทำงานในวันหยุดชดใช้วันทำงานปกติที่ขาดงาน ซึ่งเป็นข้อตกลงที่ตกเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 113 ใช้บังคับไม่ได้ โจทก์ต้องจ่ายค่าล่วงเวลาให้ลูกจ้าง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 898/2520
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขัดคำสั่งและค่าชดเชยจากการเลิกจ้าง: การพิจารณาความชอบธรรมในการเลิกจ้างและการจ่ายค่าล่วงเวลา
ผู้แทนโจทก์สั่งให้ลูกจ้างไปซ่อมรถบดถนนที่เสีย ลูกจ้างได้เดินทางไปทันทีและโดยดี แต่รถยนต์ที่ใช้เดินทางไปเกิดเสีย ลูกจ้างช่วยแก้ไขอยู่จนกระทั่งเวลา 16 น. เศษ จึงใช้การได้ ที่ลูกจ้างไม่เดินทางต่อไปเพื่อซ่อมรถบดถนนก็เพราะเห็นว่าจวนจะหมดเวลาทำงานตามปกติ (17 น.) แล้ว ดังนี้ ถือไม่ได้ว่าลูกจ้างขัดคำสั่งโจทก์ โจทก์ให้ลูกจ้างออกจากงาน (เมื่อพ.ศ.2513) จึงต้องจ่ายเงินชดเชยแก่ลูกจ้าง
ประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องกำหนดเวลาทำงานฯซึ่งกำหนดว่าถ้านายจ้างให้ลูกจ้างทำงานในวันหยุดตามประเพณีนิยม หรือในวันหยุดงานพักผ่อนประจำปีนายจ้างต้องจ่ายค่าล่วงเวลาให้ตามอัตราที่กำหนดนั้น มีเจตนารมณ์เพื่อคุ้มครองลูกจ้างในเรื่องค่าแรงงาน ซึ่งกำหนดอัตราค่าแรงงานไว้ไม่ให้นายจ้างเอาเปรียบลูกจ้าง ถือว่าข้อกำหนดดังกล่าวเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนเป็นบทบัญญัติเด็ดขาดซึ่งจะตกลงเป็นอย่างอื่นไม่ได้ ดังนั้น การที่โจทก์กับลูกจ้างตกลงกันไม่คิดค่าล่วงเวลาเพราะลูกจ้างขอทำงานในวันหยุดชดใช้วันทำงานปกติที่ขาดงาน ซึ่งเป็นข้อตกลงที่ตกเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 113 ใช้บังคับไม่ได้โจทก์ต้องจ่ายค่าล่วงเวลาให้ลูกจ้าง
ประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องกำหนดเวลาทำงานฯซึ่งกำหนดว่าถ้านายจ้างให้ลูกจ้างทำงานในวันหยุดตามประเพณีนิยม หรือในวันหยุดงานพักผ่อนประจำปีนายจ้างต้องจ่ายค่าล่วงเวลาให้ตามอัตราที่กำหนดนั้น มีเจตนารมณ์เพื่อคุ้มครองลูกจ้างในเรื่องค่าแรงงาน ซึ่งกำหนดอัตราค่าแรงงานไว้ไม่ให้นายจ้างเอาเปรียบลูกจ้าง ถือว่าข้อกำหนดดังกล่าวเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนเป็นบทบัญญัติเด็ดขาดซึ่งจะตกลงเป็นอย่างอื่นไม่ได้ ดังนั้น การที่โจทก์กับลูกจ้างตกลงกันไม่คิดค่าล่วงเวลาเพราะลูกจ้างขอทำงานในวันหยุดชดใช้วันทำงานปกติที่ขาดงาน ซึ่งเป็นข้อตกลงที่ตกเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 113 ใช้บังคับไม่ได้โจทก์ต้องจ่ายค่าล่วงเวลาให้ลูกจ้าง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 99-101/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจกระทรวงมหาดไทยในการกำหนดจ่ายค่าล่วงเวลาและค่าล่วงเวลาในวันหยุดตามประกาศคณะปฏิวัติฯ
ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 ข้อ 2 ที่ให้กระทรวงมหาดไทยมีอำนาจกำหนดการจ่ายค่าจ้างของลูกจ้างนั้น คำว่า "ค่าจ้าง" มิได้มีบทนิยามไว้ จึงต้องเข้าใจตามความหมายสามัญ คือหมายถึงสินจ้างที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างตลอดเวลาที่ลูกจ้างทำงานให้ หรือนัยหนึ่งหมายถึงสินจ้างที่ให้ตอบแทนการทำงานของลูกจ้าง
ประกาศของกระทรวงมหาดไทยที่ออกโดยอาศัยอำนาจตามความในข้อ 2 แห่งประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 ได้กำหนดบทนิยามคำว่า "ค่าจ้าง" "ค่าล่วงเวลา" และ "ค่าล่วงเวลาในวันหยุด" ขึ้นเพื่อสะดวกแก่การดำเนินให้เป็นไปตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 ในส่วนที่เกี่ยวกับการจ่ายค่าจ้างโดยจำแนกชื่อค่าจ้างหรือสินจ้างที่นายจ้างให้แก่ลูกจ้าง และหลักเกณฑ์การจ่ายต่างกับคำว่า "ค่าจ้าง" ตามที่กำหนดไว้ในประกาศของกระทรวงมหาดไทย ส่วนที่บทนิยามคำว่า "ค่าจ้าง" ตามประกาศของกระทรวงมหาดไทยไม่รวม "ค่าล่วงเวลา" และ "ค่าล่วงเวลาในวันหยุด" เพราะได้มีบทนิยามไว้อีกส่วนหนึ่งต่างหาก ฉะนั้น คำว่า "ค่าล่วงเวลา" และ "ค่าล่วงเวลาในวันหยุด" จึงเป็นค่าจ้างตามความมุ่งหมายในประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 ประกาศของกระทรวงหมาดไทยที่กำหนดการปฏิบัติในเรื่องการจ่ายค่าจ้างโดยจำแนกชื่อสินจ้างต่างกันไป จึงไม่ได้ออกนอกเหนืออำนาจที่ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 กำหนดให้
ประกาศของกระทรวงมหาดไทยที่ออกโดยอาศัยอำนาจตามความในข้อ 2 แห่งประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 ได้กำหนดบทนิยามคำว่า "ค่าจ้าง" "ค่าล่วงเวลา" และ "ค่าล่วงเวลาในวันหยุด" ขึ้นเพื่อสะดวกแก่การดำเนินให้เป็นไปตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 ในส่วนที่เกี่ยวกับการจ่ายค่าจ้างโดยจำแนกชื่อค่าจ้างหรือสินจ้างที่นายจ้างให้แก่ลูกจ้าง และหลักเกณฑ์การจ่ายต่างกับคำว่า "ค่าจ้าง" ตามที่กำหนดไว้ในประกาศของกระทรวงมหาดไทย ส่วนที่บทนิยามคำว่า "ค่าจ้าง" ตามประกาศของกระทรวงมหาดไทยไม่รวม "ค่าล่วงเวลา" และ "ค่าล่วงเวลาในวันหยุด" เพราะได้มีบทนิยามไว้อีกส่วนหนึ่งต่างหาก ฉะนั้น คำว่า "ค่าล่วงเวลา" และ "ค่าล่วงเวลาในวันหยุด" จึงเป็นค่าจ้างตามความมุ่งหมายในประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 ประกาศของกระทรวงหมาดไทยที่กำหนดการปฏิบัติในเรื่องการจ่ายค่าจ้างโดยจำแนกชื่อสินจ้างต่างกันไป จึงไม่ได้ออกนอกเหนืออำนาจที่ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 กำหนดให้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 99-101/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตอำนาจประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 และการนิยามค่าจ้าง รวมถึงค่าล่วงเวลา
ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ข้อ 2 ที่ให้กระทรวงมหาดไทยมีอำนาจกำหนดการจ่ายค่าจ้างของลูกจ้างนั้น คำว่า'ค่าจ้าง' มิได้มีบทนิยามไว้ จึงต้องเข้าใจตามความหมายสามัญคือหมายถึงสินจ้างที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างตลอดเวลาที่ลูกจ้างทำงานให้ หรือนัยหนึ่งหมายถึงสินจ้างที่ให้ตอบแทนการทำงานของลูกจ้าง
ประกาศของกระทรวงมหาดไทยที่ออกโดยอาศัยอำนาจตามความในข้อ2 แห่งประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ได้กำหนดบทนิยามคำว่า 'ค่าจ้าง''ค่าล่วงเวลา'และ'ค่าล่วงเวลาในวันหยุด' ขึ้นเพื่อสะดวกแก่การดำเนินการให้เป็นไปตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 ในส่วนที่เกี่ยวกับการจ่ายค่าจ้างโดยจำแนกชื่อค่าจ้างหรือสินจ้างที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างและหลักเกณฑ์การจ่ายต่างกันไปตามเวลาหรือวันที่ลูกจ้างทำงานให้ คำว่า 'ค่าล่วงเวลา'และ'ค่าล่วงเวลาในวันหยุด'เป็นค่าจ้างหรือสินจ้างที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างที่ทำงานเกินเวลาปกติ หรือทำงานในวันหยุดในอัตราพิเศษ อันมีลักษณะและหลักเกณฑ์ในการจ่ายต่างกับคำว่า 'ค่าจ้าง' ตามที่กำหนดไว้ในประกาศของกระทรวงมหาดไทยส่วนที่บทนิยามคำว่า 'ค่าจ้าง'ตามประกาศของกระทรวงมหาดไทยไม่รวม'ค่าล่วงเวลา'และ 'ค่าล่วงเวลาในวันหยุด' เพราะได้มีบทนิยามไว้อีกส่วนหนึ่งต่างหาก ฉะนั้น คำว่า 'ค่าล่วงเวลา' และ'ค่าล่วงเวลาในวันหยุด' จึงเป็นค่าจ้างตามความมุ่งหมายในประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 ประกาศของกระทรวงมหาดไทยที่กำหนดการปฏิบัติในเรื่องการจ่ายค่าจ้างโดยจำแนกชื่อสินจ้างต่างกันไปจึงไม่ได้ออกนอกเหนืออำนาจที่ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 กำหนดให้
ประกาศของกระทรวงมหาดไทยที่ออกโดยอาศัยอำนาจตามความในข้อ2 แห่งประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ได้กำหนดบทนิยามคำว่า 'ค่าจ้าง''ค่าล่วงเวลา'และ'ค่าล่วงเวลาในวันหยุด' ขึ้นเพื่อสะดวกแก่การดำเนินการให้เป็นไปตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 ในส่วนที่เกี่ยวกับการจ่ายค่าจ้างโดยจำแนกชื่อค่าจ้างหรือสินจ้างที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างและหลักเกณฑ์การจ่ายต่างกันไปตามเวลาหรือวันที่ลูกจ้างทำงานให้ คำว่า 'ค่าล่วงเวลา'และ'ค่าล่วงเวลาในวันหยุด'เป็นค่าจ้างหรือสินจ้างที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างที่ทำงานเกินเวลาปกติ หรือทำงานในวันหยุดในอัตราพิเศษ อันมีลักษณะและหลักเกณฑ์ในการจ่ายต่างกับคำว่า 'ค่าจ้าง' ตามที่กำหนดไว้ในประกาศของกระทรวงมหาดไทยส่วนที่บทนิยามคำว่า 'ค่าจ้าง'ตามประกาศของกระทรวงมหาดไทยไม่รวม'ค่าล่วงเวลา'และ 'ค่าล่วงเวลาในวันหยุด' เพราะได้มีบทนิยามไว้อีกส่วนหนึ่งต่างหาก ฉะนั้น คำว่า 'ค่าล่วงเวลา' และ'ค่าล่วงเวลาในวันหยุด' จึงเป็นค่าจ้างตามความมุ่งหมายในประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 ประกาศของกระทรวงมหาดไทยที่กำหนดการปฏิบัติในเรื่องการจ่ายค่าจ้างโดยจำแนกชื่อสินจ้างต่างกันไปจึงไม่ได้ออกนอกเหนืออำนาจที่ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 กำหนดให้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 99-101/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจกระทรวงมหาดไทยในการกำหนดค่าจ้างและค่าล่วงเวลาตามประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 19
ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ข้อ 2 ที่ให้กระทรวงมหาดไทยมีอำนาจกำหนดการจ่ายค่าจ้างของลูกจ้างนั้น. คำว่า'ค่าจ้าง' มิได้มีบทนิยามไว้ จึงต้องเข้าใจตามความหมายสามัญ. คือหมายถึงสินจ้างที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างตลอดเวลาที่ลูกจ้างทำงานให้. หรือนัยหนึ่งหมายถึงสินจ้างที่ให้ตอบแทนการทำงานของลูกจ้าง.
ประกาศของกระทรวงมหาดไทยที่ออกโดยอาศัยอำนาจตามความในข้อ2 แห่งประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ได้กำหนดบทนิยามคำว่า 'ค่าจ้าง''ค่าล่วงเวลา'และ'ค่าล่วงเวลาในวันหยุด'ขึ้นเพื่อสะดวกแก่การดำเนินการให้เป็นไปตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 ในส่วนที่เกี่ยวกับการจ่ายค่าจ้างโดยจำแนกชื่อค่าจ้างหรือสินจ้างที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้าง. และหลักเกณฑ์การจ่ายต่างกันไปตามเวลาหรือวันที่ลูกจ้างทำงานให้ คำว่า 'ค่าล่วงเวลา'และ'ค่าล่วงเวลาในวันหยุด'เป็นค่าจ้างหรือสินจ้างที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างที่ทำงานเกินเวลาปกติ หรือทำงานในวันหยุดในอัตราพิเศษ. อันมีลักษณะและหลักเกณฑ์ในการจ่ายต่างกับคำว่า 'ค่าจ้าง' ตามที่กำหนดไว้ในประกาศของกระทรวงมหาดไทย. ส่วนที่บทนิยามคำว่า 'ค่าจ้าง'ตามประกาศของกระทรวงมหาดไทยไม่รวม.'ค่าล่วงเวลา'และ'ค่าล่วงเวลาในวันหยุด' เพราะได้มีบทนิยามไว้อีกส่วนหนึ่งต่างหาก ฉะนั้น คำว่า 'ค่าล่วงเวลา' และ'ค่าล่วงเวลาในวันหยุด' จึงเป็นค่าจ้างตามความมุ่งหมายในประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 ประกาศของกระทรวงมหาดไทยที่กำหนดการปฏิบัติในเรื่องการจ่ายค่าจ้างโดยจำแนกชื่อสินจ้างต่างกันไป. จึงไม่ได้ออกนอกเหนืออำนาจที่ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 กำหนดให้.
ประกาศของกระทรวงมหาดไทยที่ออกโดยอาศัยอำนาจตามความในข้อ2 แห่งประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ได้กำหนดบทนิยามคำว่า 'ค่าจ้าง''ค่าล่วงเวลา'และ'ค่าล่วงเวลาในวันหยุด'ขึ้นเพื่อสะดวกแก่การดำเนินการให้เป็นไปตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 ในส่วนที่เกี่ยวกับการจ่ายค่าจ้างโดยจำแนกชื่อค่าจ้างหรือสินจ้างที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้าง. และหลักเกณฑ์การจ่ายต่างกันไปตามเวลาหรือวันที่ลูกจ้างทำงานให้ คำว่า 'ค่าล่วงเวลา'และ'ค่าล่วงเวลาในวันหยุด'เป็นค่าจ้างหรือสินจ้างที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างที่ทำงานเกินเวลาปกติ หรือทำงานในวันหยุดในอัตราพิเศษ. อันมีลักษณะและหลักเกณฑ์ในการจ่ายต่างกับคำว่า 'ค่าจ้าง' ตามที่กำหนดไว้ในประกาศของกระทรวงมหาดไทย. ส่วนที่บทนิยามคำว่า 'ค่าจ้าง'ตามประกาศของกระทรวงมหาดไทยไม่รวม.'ค่าล่วงเวลา'และ'ค่าล่วงเวลาในวันหยุด' เพราะได้มีบทนิยามไว้อีกส่วนหนึ่งต่างหาก ฉะนั้น คำว่า 'ค่าล่วงเวลา' และ'ค่าล่วงเวลาในวันหยุด' จึงเป็นค่าจ้างตามความมุ่งหมายในประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 ประกาศของกระทรวงมหาดไทยที่กำหนดการปฏิบัติในเรื่องการจ่ายค่าจ้างโดยจำแนกชื่อสินจ้างต่างกันไป. จึงไม่ได้ออกนอกเหนืออำนาจที่ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 กำหนดให้.