พบผลลัพธ์ทั้งหมด 83 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 776/2475
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาการกระทำ พยายามฆ่า vs. ทำร้ายร่างกายบาดเจ็บสาหัส พิจารณาจากบาดแผลและพฤติการณ์
พฤตติการณ์อย่างไรเรียกว่าพยายามฆ่าคนหรือทำร้ายร่างกายบาดเจ็บสาหัส
วิธีพิจารณาอาชญา ลักษณพะยาน บาดแผลเป็นเครื่องชี้เจตนา ฟ้องอ้างว่าทำผิดระวาง 2 วันดังนี้ ไม่เป็น+ทำให้จำเลยหลงข้อต่อสู้
วิธีพิจารณาอาชญา ลักษณพะยาน บาดแผลเป็นเครื่องชี้เจตนา ฟ้องอ้างว่าทำผิดระวาง 2 วันดังนี้ ไม่เป็น+ทำให้จำเลยหลงข้อต่อสู้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 369/2474
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
บาดเจ็บสาหัสตามกฎหมาย: การประเมินระยะเวลาที่ไม่สามารถประกอบอาชีพ
อย่างไรเรียกว่าบาดเจ็บสาหัส
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 26/2553 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจโจทก์ร่วม: การเข้าเป็นโจทก์ร่วมต้องมีอำนาจตามกฎหมาย และบาดเจ็บสาหัสต้องพิสูจน์ความเชื่อมโยงกับการกระทำของจำเลย
พนักงานอัยการโจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตาม ป.อ. มาตรา 297 โดยคำฟ้องของโจทก์ซึ่งโจทก์ร่วมทั้งสองขอถือเอาเป็นคำฟ้องด้วยบรรยายแต่เพียงว่า จำเลยทำร้ายร่างกายผู้เสียหายโดยใช้มือจับแขนของผู้เสียหาย แล้วเหวี่ยงอย่างแรงจนเป็นเหตุให้ผู้เสียหายล้มลงก้นกระแทกพื้นรับอันตรายสาหัสต้องป่วยเจ็บด้วยอาการทุกขเวทนาและจนประกอบกรณียกิจตามปกติไม่ได้เกินกว่ายี่สิบวัน ซึ่งตามผลการตรวจชันสูตรบาดแผลของแพทย์ผู้เสียหายได้รับบาดเจ็บกล้ามเนื้อและเส้นเอ็นบริเวณสะโพกขวาช้ำและอักเสบอย่างรุนแรง ใช้เวลารักษา 6 ถึง 8 สัปดาห์ ไม่ได้ความว่าผู้เสียหายถูกทำร้ายถึงตายหรือบาดเจ็บจนไม่สามารถจะจัดการเองได้แม้โจทก์ร่วมทั้งสองจะยื่นคำร้องอ้างว่า การทำร้ายของจำเลยทำให้ผู้เสียหายได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะบริเวณท้ายทอยต้องเข้ารักษาพยาบาลผ่าตัดเอาก้อนเลือดที่บริเวณท้ายทอยออก และรักษาตัวจนถึงแก่ความตาย โดยโจทก์ไม่คัดค้านการขอเข้าเป็นโจทก์ร่วม แต่ผู้เสียหายถึงแก่ความตายหลังเกิดเหตุนานเกือบ 9 เดือน และบาดแผลที่เป็นสาเหตุให้ผู้เสียหายถึงแก่ความตายมิใช่บาดแผลที่ผู้เสียหายถูกจำเลยทำร้ายตามฟ้อง ทั้งโจทก์มิได้ยืนยันแน่นอนว่าบาดแผลที่ทำให้ผู้เสียหายถึงแก่ความตายเกิดจากการกระทำของจำเลย ดังนี้ โจทก์ร่วมทั้งสองซึ่งเป็นผู้บุพการีของผู้เสียหาย จึงไม่มีอำนาจจัดการแทนผู้เสียหายโดยเข้าเป็นโจทก์ร่วมได้ ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 5 (2) โจทก์ร่วมทั้งสองจึงไม่มีสิทธิอุทธรณ์ว่าจำเลยกระทำความผิดตามฟ้อง