คำพิพากษาที่อยู่ใน Tags
ภรรยา

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 198 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 316/2503 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ผลของการบอกล้างสัญญากู้เงินโดยสามีต่อภรรยา และการสืบพยานขัดแย้งเอกสาร
ภรรยาทำสัญญากู้เงินของเขามาและสามีได้บอกล้างสัญญาแล้ว แม้การบอกล้างของสามีจะเป็นผลทำให้สัญญานั้นตกเป็นโมฆะได้ก็แต่เฉพาะเพียงเท่าที่ผูกพันสินบริคณฑ์ตาม ป.พ.พ. มาตรา 38 เท่านั้น หาได้กระทำให้ตกเป็นโมฆะทั้งหมดไม่ เพราะหญิงมีสามีเป็นบุคคลที่บรรลุนิติภาวะแล้ว นิติกรรมที่ทำขึ้นจึงยังสมบูรณ์ผูกพันในทรัพย์สินส่วนตัวของภรรยาตาม มาตรา 37 ประกอบด้วย มาตรา 1479 ผู้ให้กู้ก็มีสิทธิที่จะบังคับเอาจากทรัพย์สินส่วนของภรรยาได้
จำเลยรับว่า ได้ลงชื่อในใบยืนเงินไว้ในฐานะผู้กู้แล้วจะขอสืบข้อเท็จจริงว่า ที่จำเลยลงชื่อไว้นั้น ได้ลงในฐานผู้ค้ำประกันไม่ได้ เป็นการสืบเถียงฝ่าฝืนเอกสารท้ายฟ้อง ต้องห้ามตาม ป.วิ.พ. มาตรา 94

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 316/2503

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ผลของการบอกล้างสัญญากู้โดยสามีต่อภรรยา: สิทธิบังคับคดีจากทรัพย์สินส่วนตัว
ภรรยาทำสัญญากู้เงินของเขามาและสามีได้บอกล้างสัญญาแล้วแม้การบอกล้างของสามีจะเป็นผลทำให้สัญญานั้นตกเป็นโมฆะได้ก็แต่เฉพาะเพียงเท่าที่ผูกพันสินบริคณฑ์ตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 38 เท่านั้น หาได้กระทำให้ตกเป็นโมฆะทั้งหมดไม่ เพราะหญิงมีสามีเป็นบุคคลที่บรรลุนิติภาวะแล้วนิติกรรมที่ทำขึ้นจึงยังสมบูรณ์ผูกพันในทรัพย์สินส่วนตัวของภรรยาตาม มาตรา 37 ประกอบด้วย มาตรา 1479ผู้ให้กู้ก็มีสิทธิที่จะบังคับเอาจากทรัพย์สินส่วนของภรรยาได้
จำเลยรับว่า ได้ลงชื่อในใบยืมเงินไว้ในฐานะผู้กู้แล้วจะขอสืบข้อเท็จจริงว่าที่จำเลยลงชื่อไว้นั้น ได้ลงในฐานะผู้ค้ำประกันไม่ได้เป็นการสืบเถียงฝ่าฝืนเอกสารท้ายฟ้อง ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 883/2502 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การฟ้องหย่าต้องพิจารณาเหตุผลที่แท้จริง หากภรรยาไม่ยอมอยู่กับสามีเนื่องจากอิทธิพลครอบครัว สามีไม่ต้องรับผิด
บิดามารดาของภรรยารังเกียจสามีของบุตรสาว ถึงกับกล่าวหาเป็นคดีอาญาและขับไล่สามีของบุตรสาวออกจากบ้านสามีได้มีที่อยู่ใหม่ และขอให้ภรรยาไปอยู่ด้วย ภรรยาไม่ยอมไป เพราะเชื่อคำบิดา มารดา ดังนี้ จะถือว่าเป็นความผิดของสามีไม่ได้ กรณียังไม่มีเหตุสมควรจะให้หย่ากัน
(อ้างฎีกาที่ 894/2493)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 883/2502

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การฟ้องหย่าต้องพิจารณาเหตุผลฝ่ายหญิงที่ไม่ยอมอยู่กับสามี แม้สามีจะอุปการะเลี้ยงดูและมีที่อยู่ใหม่
บิดามารดาของภรรยารังเกียจสามีของบุตรสาว ถึงกับกล่าวหาเป็นคดีอาญาและขับไล่สามีของบุตรสาวออกจากบ้าน สามีได้มีที่อยู่ใหม่ และขอให้ภรรยาไปอยู่ด้วย ภรรยาไม่ยอมไป เพราะเชื่อคำบิดามารดา ดังนี้ จะถือว่าเป็นความผิดของสามีไม่ได้ กรณียังไม่มีเหตุสมควรจะให้หย่ากัน (อ้างฎีกาที่ 894/2493)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 431/2502 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การฟ้องร้องซ้ำในคดีทรัพย์สินมรดก: เมื่อโจทก์มิได้เป็นคู่ความในคดีก่อน แม้ภรรยาจะเป็นคู่ความ
ภรรยาโจทก์คดีนี้ถูกฟ้องเป็นจำเลยในคดีก่อนขอแบ่งมรดกศาลฎีกาตัดสินคดีนั้นว่าทรัพย์ที่พิพาทเป็นมรดกให้แบ่งระหว่างภรรยาโจทก์กับจำเลยทั้งสามในคดีนี้คนละส่วน ดั่งนี้ โจทก์ผู้เป็นสามีกลับมาฟ้องขอให้ห้ามจำเลยทั้งสามเกี่ยวข้องกับทรัพย์พิพาทนั้นได้ ไม่เป็นฟ้องซ้ำตาม ป.วิ.แพ่ง มาตรา 148 เพราะในคดีก่อนโจทก์ไม่ได้เข้าเป็นคู่ความด้วย และในคดีก่อนก็มิใช่คดีที่ศาลได้มีคำสั่งให้ขับไล่ภรรยาโจทก์ตามมาตรา 142 (1) ฉะนั้น จะใช้คำพิพากษาในคดีก่อนบังคับตลอดถึงบริวารด้วยย่อมไม่ตรงกับเรื่อง

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 531/2501

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิร้องขัดทรัพย์ของสามีในทรัพย์สินที่ภรรยาเป็นเจ้าของร่วม แม้ไม่ได้ระบุในคำร้อง
แม้ในคำร้องจะมิได้กล่าวว่าทรัพย์ที่ร้องขัดทรัพย์เป็นของภรรยาผู้ร้องแต่ในชั้นพิจารณานำสืบได้ความว่าเป็นทรัพย์ของภรรยาผู้ร้องก็ถือได้ว่าผู้ร้องมีสิทธิร้องขัดทรัพย์ทรัพย์ของภรรยาได้ (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 4/2501)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 251/2501

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิของสามีในกรณีภรรยากู้เงินโดยไม่ได้รับความยินยอม: การคุ้มครองสิทธิในทรัพย์สินส่วนตัว
จำเลยถูกฟ้องเรียกเงินตามสัญญากู้สามีจำเลยขอเข้าเป็นจำเลยร่วมอ้างว่าเพื่อคุ้มครองสิทธิของตนโดยที่จำเลยทำนิติกรรมไปไม่ได้รับความยินยอมจากตนก่อนดังนี้ ศาลไม่อนุญาต เพราะถึงแม้ว่าโจทก์ชนะคดี ก็ยังไม่แน่ว่าโจทก์จะบังคับเอาจากทรัพย์ใดโจทก์อาจบังคับเอาจากทรัพย์สินส่วนตัวของจำเลยก็ได้เพราะฉะนั้นในชั้นนี้ จึงยังไม่จำเป็นที่ผู้ร้องสามีจำเลยจะต้องร้องขอความคุ้มครองสิทธิ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 247/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิสามีในการโต้แย้งสัญญากู้ของภรรยา: ศาลไม่อนุญาตให้เข้าเป็นจำเลยร่วมหากสิทธิยังไม่ถูกโต้แย้ง
ในคดีที่โจทก์ฟ้องหญิงมีสามีเป็นจำเลยเรียกเงินตามสัญญากู้นั้น เมื่อจำเลยให้การปฏิเสธความรับผิด คดียังไม่แน่ว่าโจทก์จะชนะหรือไม่ ถึงหากชนะ จะยึดทรัพย์ส่วนตัวของหญิงสามีก็ไม่มีสิทธิโต้แย้งคัดค้านเช่นนี้ สามีก็ยังไม่ถูกโต้แย้งสิทธิอย่างไร ฉะนั้นการที่สามีร้องขอเข้ามาเป็นจำเลยร่วมกับภรรยาเพื่อยังให้ได้รับความรับรองคุ้มครองหรือบังคับตามสิทธิที่มีอยู่ตาม ป.วิ.แพ่ง มาตรา 57(1) ในขณะนี้ ศาลจึงไม่จำเป็นต้องอนุญาต

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 247/2501

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การขอเป็นจำเลยร่วมในคดีกู้ยืมเงิน: สิทธิของสามีเมื่อภรรยาทำสัญญาโดยไม่ได้รับความยินยอม
ในคดีที่โจทก์ฟ้องหญิงมีสามีเป็นจำเลยเรียกเงินตามสัญญากู้นั้นเมื่อจำเลยให้การปฏิเสธความรับผิดคดียังไม่แน่ว่าโจทก์จะชนะหรือไม่ ถึงหากชนะ จะยึดทรัพย์ส่วนตัวของหญิงสามีก็ไม่มีสิทธิโต้แย้งคัดค้านเช่นนี้สามีก็ยังไม่ถูกโต้แย้งสิทธิอย่างไรฉะนั้นการที่สามีร้องขอเข้ามาเป็นจำเลยร่วมกับภรรยาเพื่อยังให้ได้รับความรับรองคุ้มครองหรือบังคับตามสิทธิที่มีอยู่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57(1) ในขณะนี้ศาลจึงไม่จำเป็นต้องอนุญาต

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 819/2500 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิบอกล้างนิติกรรมโมฆียะเฉพาะสามีเมื่อภรรยามีส่วนร่วมในสินบริคณห์
กฎหมายไม่ได้ห้ามหญิงมีสามีไม่ให้ทำนิติกรรม, เหตุที่กฎหมายบัญญัติให้นิติกรรมเป็นโมฆียะก็เฉพาะที่จะผูกพันสินบริคณห์ ซึ่งสามีมีส่วนได้เสียร่วมอยู่ด้วย ป.พ.พ.มาตรา 137 วรรค 2 จึงบัญญัติให้สามีมีสิทธิบอกล้างได้ และเป็นสิทธิเฉพาะสามีที่จะบอกล้างคนเดียวเท่านั้น เพราะหญิงมีสามีไม่ใช่ผู้ไร้ความสามารถดังที่บัญญัติไว้ใน ม.137 วรรคต้น ตัวหญิงเองจึงไม่มีสิทธิบอกล้างได้.
of 20