พบผลลัพธ์ทั้งหมด 128 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 896/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ตึกบนที่ดินของผู้อื่น: การซื้อขายตึกเป็นส่วนควบของที่ดิน ทำให้กรรมสิทธิ์โอนไปยังผู้ซื้อ
ผู้ร้องปลูกตึกพิพาทอยู่ในที่ดินของจำเลย และไม่ปรากฏว่าผู้ร้องปลูกตึกพิพาทเป็นการชั่วคราว ตึกพิพาทจึงเป็นส่วนควบของที่ดินของจำเลยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 107 ต่อมาผู้ร้องได้ขายตึกพิพาทให้จำเลย จำเลยชำระค่าตึกบางส่วนแล้วก็ไม่ชำระอีก ศาลพิพากษาให้จำเลยชำระ ดังนี้ ตามพฤติการณ์ถือได้ว่าผู้ร้องได้ขายตึกพิพาทให้จำเลยซึ่งเป็นเจ้าของที่ดินเสร็จเด็ดขาดแล้ว ตึกพิพาทจึงตกเป็นกรรมสิทธิ์ของจำเลยโดยไม่จำเป็นต้องไปทำการจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่อีก.
(อ้างฎีกาที่ 561/2488, 1124/2502)
(อ้างฎีกาที่ 561/2488, 1124/2502)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1355/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ต้นไม้บนที่ดินของผู้อื่น: ต้นไม้เป็นส่วนควบของที่ดิน เจ้าของที่ดินมีสิทธิในต้นไม้ แม้ผู้อื่นจะเป็นผู้ปลูก
ต้นพลูเป็นต้นไม้ยืนต้น จึงเป็นส่วนควบของที่ดิน
โจทก์เป็นผู้ปลูกต้นพลู แต่ต้นพลูได้ตกเป็นกรรมสิทธิ์ของจำเลยที่ 4 ซึ่งเป็นเจ้าของที่ดินที่โจทก์ปลูกต้นพลูเสียแล้ว แม้จำเลยจะร่วมกันตัดต้นพลู ก็ย่อมไม่มีความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ โจทก์จึงไม่ใช่ผู้เสียหาย ไม่มีอำนาจฟ้อง
โจทก์เป็นผู้ปลูกต้นพลู แต่ต้นพลูได้ตกเป็นกรรมสิทธิ์ของจำเลยที่ 4 ซึ่งเป็นเจ้าของที่ดินที่โจทก์ปลูกต้นพลูเสียแล้ว แม้จำเลยจะร่วมกันตัดต้นพลู ก็ย่อมไม่มีความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ โจทก์จึงไม่ใช่ผู้เสียหาย ไม่มีอำนาจฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1355/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ในต้นไม้ที่ปลูกในที่ดินของผู้อื่น ต้นไม้เป็นส่วนควบของที่ดิน เจ้าของที่ดินมีสิทธิ
ต้นพลูเป็นต้นไม้ยืนต้น จึงเป็นส่วนควบของที่ดิน
โจทก์เป็นผู้ปลูกต้นพลู แต่ต้นพลูได้ตกเป็นกรรมสิทธิ์ของจำเลยที่ 4 ซึ่งเป็นเจ้าของที่ดินที่โจทก์ปลูกต้นพลูเสียแล้ว แม้จำเลยจะร่วมกันตัดต้นพลู ก็ย่อมไม่มีความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ โจทก์จึงไม่ใช่ผู้เสียหาย ไม่มีอำนาจฟ้อง
โจทก์เป็นผู้ปลูกต้นพลู แต่ต้นพลูได้ตกเป็นกรรมสิทธิ์ของจำเลยที่ 4 ซึ่งเป็นเจ้าของที่ดินที่โจทก์ปลูกต้นพลูเสียแล้ว แม้จำเลยจะร่วมกันตัดต้นพลู ก็ย่อมไม่มีความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ โจทก์จึงไม่ใช่ผู้เสียหาย ไม่มีอำนาจฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 648/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ในโรงเรือนที่ปลูกสร้างบนที่ดินของผู้อื่น: การเป็นส่วนควบและข้อยกเว้น
ตามธรรมดาโรงเรือนซึ่งปลูกสร้างลงในที่ดินย่อมเป็นส่วนควบของที่ดิน ใครเป็นเจ้าของที่ดินย่อมมีกรรมสิทธิ์ในโรงเรือนนั้น เว้นแต่จะเข้าข้อยกเว้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 109 หรือ 1312
จำเลยมาได้บุตรสาวของผู้ร้องเป็นภรรยาและได้เข้าอยู่ร่วมในเรือนของผู้ร้องซึ่งปลูกอยู่ในที่ดินของผู้ร้อง ต่อมาเรือนเก่าทรุดโทรม จึงรื้อลงสร้างหลังใหม่แทน หากจะฟังว่าจำเลยเป็นผู้ออกเงินค่าก่อสร้างเรือนหลังใหม่นี้ แต่เมื่อเรือนนี้มีลักษณะถาวรติดที่ดิน และไม่ปรากฏเลยว่าจำเลยได้รับสิทธิหรืออำนาจที่จะปลูกเรือนนี้ลงในที่ดินของผู้ร้องแต่ประการใด กรณีจึงไม่เข้าข้อยกเว้นตามมาตรา 109 และไม่ใช่เรื่องที่จำเลยปลูกเรือนรุกล้ำเข้ามาในที่ดินของผู้ร้องตามมาตรา 1312 ด้วย จึงต้องถือว่าเรือนนี้เป็นส่วนควบของที่ดินที่ปลูกเรือน และตกเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้ร้องตามมาตรา 107 เจ้าหนี้ผู้ชนะคดีจำเลยจะยึดเรือนนี้เพื่อขายเอาชำระหนี้ไม่ได้
จำเลยมาได้บุตรสาวของผู้ร้องเป็นภรรยาและได้เข้าอยู่ร่วมในเรือนของผู้ร้องซึ่งปลูกอยู่ในที่ดินของผู้ร้อง ต่อมาเรือนเก่าทรุดโทรม จึงรื้อลงสร้างหลังใหม่แทน หากจะฟังว่าจำเลยเป็นผู้ออกเงินค่าก่อสร้างเรือนหลังใหม่นี้ แต่เมื่อเรือนนี้มีลักษณะถาวรติดที่ดิน และไม่ปรากฏเลยว่าจำเลยได้รับสิทธิหรืออำนาจที่จะปลูกเรือนนี้ลงในที่ดินของผู้ร้องแต่ประการใด กรณีจึงไม่เข้าข้อยกเว้นตามมาตรา 109 และไม่ใช่เรื่องที่จำเลยปลูกเรือนรุกล้ำเข้ามาในที่ดินของผู้ร้องตามมาตรา 1312 ด้วย จึงต้องถือว่าเรือนนี้เป็นส่วนควบของที่ดินที่ปลูกเรือน และตกเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้ร้องตามมาตรา 107 เจ้าหนี้ผู้ชนะคดีจำเลยจะยึดเรือนนี้เพื่อขายเอาชำระหนี้ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 648/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์โรงเรือนสร้างบนที่ดินของผู้อื่น: หลักส่วนควบ, ข้อยกเว้นสิทธิ
ตามธรรมดาโรงเรือนซึ่งปลูกสร้างลงในที่ดิน ย่อมเป็นเป็นส่วนควบของที่ดิน ใครเป็นเจ้าของที่ดินย่อมมีกรรมสิทธิ์ในโรงเรือนนั้นเว้นแต่จะเข้าข้อยกเว้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 109หรือ 1312
จำเลยมาได้บุตรสาวของผู้ร้องเป็นภรรยาและได้เข้าอยู่ร่วมในเรือนของผู้ร้องซึ่งปลูกอยู่ในที่ดินของผู้ร้องต่อมาเรือนเก่าทรุดโทรม จึงรื้อลงสร้างหลังใหม่แทนหากจะฟังว่าจำเลยเป็นผู้ออกเงินค่าก่อสร้างเรือนหลังใหม่นี้ แต่เมื่อเรือนนี้มีลักษณะถาวรติดที่ดินและไม่ปรากฏเลยว่าจำเลยได้รับสิทธิหรืออำนาจที่จะปลูกเรือนนี้ลงในที่ดินของผู้ร้องแต่ประการใดกรณีจึงไม่เข้าข้อยกเว้นตามมาตรา 109 และไม่ใช่เรื่องที่จำเลยปลูกเรือนรุกล้ำเข้ามาในที่ดินของผู้ร้องตามมาตรา 1312 ด้วย จึงต้องถือว่าเรือนนี้เป็นส่วนควบของที่ดินที่ปลูกเรือนและตกเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้ร้อง ตามมาตรา 107 เจ้าหนี้ผู้ชนะคดีจำเลยจะยึดเรือนนี้เพื่อขายเอาชำระหนี้ไม่ได้
จำเลยมาได้บุตรสาวของผู้ร้องเป็นภรรยาและได้เข้าอยู่ร่วมในเรือนของผู้ร้องซึ่งปลูกอยู่ในที่ดินของผู้ร้องต่อมาเรือนเก่าทรุดโทรม จึงรื้อลงสร้างหลังใหม่แทนหากจะฟังว่าจำเลยเป็นผู้ออกเงินค่าก่อสร้างเรือนหลังใหม่นี้ แต่เมื่อเรือนนี้มีลักษณะถาวรติดที่ดินและไม่ปรากฏเลยว่าจำเลยได้รับสิทธิหรืออำนาจที่จะปลูกเรือนนี้ลงในที่ดินของผู้ร้องแต่ประการใดกรณีจึงไม่เข้าข้อยกเว้นตามมาตรา 109 และไม่ใช่เรื่องที่จำเลยปลูกเรือนรุกล้ำเข้ามาในที่ดินของผู้ร้องตามมาตรา 1312 ด้วย จึงต้องถือว่าเรือนนี้เป็นส่วนควบของที่ดินที่ปลูกเรือนและตกเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้ร้อง ตามมาตรา 107 เจ้าหนี้ผู้ชนะคดีจำเลยจะยึดเรือนนี้เพื่อขายเอาชำระหนี้ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 716/2505 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ส่วนควบของสิ่งปลูกสร้าง: การพิจารณาจากสภาพทรัพย์และเจตนาขายฝาก
ข้อเท็จจริงที่คู่ความรับกันในเรื่องสภาพของสิ่งปลูกสร้างที่พอให้วินิจฉัยปัญหาเรื่องส่วนควบได้แล้ว
เมื่อหนังสือสัญญาระบุว่าขายฝากเรือนหลังหนึ่งก็ย่อมหมายความรวมถึงส่วนควบของเรือนหลังนี้ด้วย และเมื่อเรือนหลังเล็กเป็นส่วนควบของเรือนหลังใหญ่โดยสภาพของทรัพย์อยู่แล้ว จะขอสืบพยานบุคคลว่าได้ตกลงกันไว้ก่อนขายว่าไม่ได้ขายหลังเล็กด้วยไม่ได้
เมื่อหนังสือสัญญาระบุว่าขายฝากเรือนหลังหนึ่งก็ย่อมหมายความรวมถึงส่วนควบของเรือนหลังนี้ด้วย และเมื่อเรือนหลังเล็กเป็นส่วนควบของเรือนหลังใหญ่โดยสภาพของทรัพย์อยู่แล้ว จะขอสืบพยานบุคคลว่าได้ตกลงกันไว้ก่อนขายว่าไม่ได้ขายหลังเล็กด้วยไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 716/2505
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขายฝากรวมส่วนควบ: สัญญาครอบคลุมส่วนควบโดยสภาพ สิทธิการอ้างตกลงเพิ่มเติมไม่มีผล
เมื่อหนังสือสัญญาระบุว่าขายฝากเรือนหลังหนึ่งก็ย่อมหมายความรวมถึงส่วนควบของเรือนหลังนี้ด้วยและเมื่อเรือนหลังเล็กเป็นส่วนควบของเรือนหลังใหญ่โดยสภาพของทรัพย์อยู่แล้วจะขอสืบพยานบุคคลว่าได้ตกลงกันไว้ก่อนขายว่าไม่ได้ขายหลังเล็กด้วยนั้นไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1130-1131/2505
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การชำระหนี้โดยเจตนาฉ้อฉลและการเปลี่ยนสภาพทรัพย์สินเป็นส่วนควบของที่ดิน
ในกรณีที่จำเลยมีเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาสองราย แต่ทรัพย์ของจำเลยมีเพียงอย่างเดียว มีราคาไม่พอใช้หนี้ทั้งสองราย การที่จำเลยเลือกใช้หนี้เพียงรายใดรายหนึ่ง อันเป็นผลทำให้เจ้าหนี้อีกคนหนึ่งเสียเปรียบและเจ้าหนี้ผู้รับชำระหนี้ก็ทราบดีอยู่แล้ว เช่นนี้ ย่อมเป็นการฉ้อฉล เจ้าหนี้ผู้เสียเปรียบขอให้เพิกถอนการชำระหนี้ได้
แต่เมื่อปรากฏว่า หนี้ที่ลูกหนี้ชำระแก่เจ้าหนี้ไปก่อนนั้นเป็นไม้ที่รื้อมาจากโรงเรือนของลูกหนี้ และเจ้าหนี้นั้นได้เอาไม้ไปปลูกเป็นโรงเรือนในที่ดินของเจ้าหนี้เสร็จเรียบร้อยแล้ว ดังนี้ ก็เท่ากับว่าเจ้าหนี้เอาสัมภาระของผู้อื่นไปปลูกสร้างโรงเรือนในที่ดิน ย่อมเป็นส่วนควบของที่ดินตาม มาตรา 1315 ไปแล้ว เจ้าหนี้ที่เสียเปรียบจะตามไปยึดเรือนดังกล่าวขายทอดตลาดไม่ได้ ได้แต่จะใช้สิทธิของลูกหนี้เรียกเอาค่าสัมภาระมาเพื่อชำระหนี้
แต่เมื่อปรากฏว่า หนี้ที่ลูกหนี้ชำระแก่เจ้าหนี้ไปก่อนนั้นเป็นไม้ที่รื้อมาจากโรงเรือนของลูกหนี้ และเจ้าหนี้นั้นได้เอาไม้ไปปลูกเป็นโรงเรือนในที่ดินของเจ้าหนี้เสร็จเรียบร้อยแล้ว ดังนี้ ก็เท่ากับว่าเจ้าหนี้เอาสัมภาระของผู้อื่นไปปลูกสร้างโรงเรือนในที่ดิน ย่อมเป็นส่วนควบของที่ดินตาม มาตรา 1315 ไปแล้ว เจ้าหนี้ที่เสียเปรียบจะตามไปยึดเรือนดังกล่าวขายทอดตลาดไม่ได้ ได้แต่จะใช้สิทธิของลูกหนี้เรียกเอาค่าสัมภาระมาเพื่อชำระหนี้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1408/2503 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเป็นส่วนควบของเรือน: พิจารณาจากความจำเป็นในการใช้ประโยชน์ร่วมกันและการแยกออกจากกันโดยไม่ทำให้เสียหาย
จำเลยสร้างเรือนพิพาทขึ้นเพื่ออยู่กับครอบครัว โดยแยกจากผู้ร้อง ผู้ร้องมีเรือน 2 หลังแฝดอยู่แล้ว เรือนพิพาทปลูกติดกับนอกชานเรือนผู้ร้อง เอาเสาต้นสั้นเกาะจากนอกชาน ถ้าไม่อาศัยเสานอกชานบ้านเก่าด้วยจะปลูกไม่ได้ เช่นนี้ เรือนรายพิพาทมิได้เป็นสาระสำคัญในความเป็นอยู่ของเรือนผู้ร้อง และอาจเแยกจากกันได้โดยไม่ทำให้เรือนผู้ร้องเสียหายหรือเปลี่ยนรูปทรง อย่างใด เรือนพิพาทจึงมิใช่ส่วนควบของเรือนผู้ร้อง และอาจแยกจากกันได้โดยไม่ทำให้เรือนผู้ร้องเสียหาย หรือเปลี่ยนรูปทรงอย่างใด เรือนพิพาทจึงมิใช่ส่วนควบของเรือนผู้ร้องตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 107
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1408/2503
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ส่วนควบของเรือน: การพิจารณาความเป็นสาระสำคัญและการแยกจากกันได้โดยไม่ทำให้เสียหาย
จำเลยสร้างเรือนพิพาทขึ้นเพื่ออยู่กับครอบครัว โดยแยกจากผู้ร้อง ผู้ร้องมีเรือน 2 หลังแฝดอยู่แล้ว เรือนพิพาทปลูกติดกับนอกชานเรือนผู้ร้อง เอาเสาต้นสั้นเกาะจากนอกชาน ถ้าไม่อาศัยเสานอกชานบ้านเก่าด้วยจะปลูกไม่ได้ เช่นนี้เรือนรายพิพาทมิได้เป็นสาระสำคัญในความเป็นอยู่ของเรือนผู้ร้อง และอาจแยกจากกันได้โดยไม่ทำให้เรือนผู้ร้องเสียหายหรือเปลี่ยนรูปทรงอย่างใด เรือนพิพาทจึงมิใช่ส่วนควบของเรือนผู้ร้องตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 107