พบผลลัพธ์ทั้งหมด 1,106 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 838/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิกถอนพินัยกรรมต้องด้วยวิธีการทำลายหรือขีดฆ่า การตั้งผู้จัดการมรดกตามพินัยกรรม
ที่ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1693 บัญญัติว่า ผู้ทำพินัยกรรมจะเพิกถอนพินัยกรรมของตนในเวลาใดก็ได้นั้น หมายถึงว่าจะเพิกถอนเวลาใดก็ได้ตามใจชอบ การเพิกถอนทำอย่างไรนั้น มาตรา 1695 บัญญัติว่า อาจทำโดยทำลายหรือขีดฆ่าเสียด้วยความตั้งใจ "ทำลาย" หมายความว่า รื้อ ทำให้ทลาย ทำให้พัง ทำให้ฉิบหาย ทำให้หมดสิ้นไป การทำลายจึงเป็นการที่ต้องทำให้เกิดผลเช่นนั้น และการเพิกถอนมิใช่ให้ทำโดยเพียงแต่แสดงเจตนาด้วยถ้อยคำ หากจะต้องมีการกระทำ คือ "ทำลาย" หรือ "ขีดฆ่า" เป็นสำคัญ
พินัยกรรมีข้อกำหนดตั้งให้จำเลยเป็นผู้จัดการมรดก เมื่อไม่ปรากฏว่าข้อกำหนดนั้นไม่มีผลบังคับด้วยประการใด ๆ ถึงแม้โจทก์จะเป็นทายาทหรือผู้มีส่วนได้เสียหรือไม่ก็ตาม ก็ไม่เป็นกรณีมีเหตุสมควรที่โจทก์จะขอให้ตั้งตนเป็นผู้จัดการมรดก
พินัยกรรมีข้อกำหนดตั้งให้จำเลยเป็นผู้จัดการมรดก เมื่อไม่ปรากฏว่าข้อกำหนดนั้นไม่มีผลบังคับด้วยประการใด ๆ ถึงแม้โจทก์จะเป็นทายาทหรือผู้มีส่วนได้เสียหรือไม่ก็ตาม ก็ไม่เป็นกรณีมีเหตุสมควรที่โจทก์จะขอให้ตั้งตนเป็นผู้จัดการมรดก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1404-1405/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องผู้จัดการมรดก, การจัดการมรดก, ฟ้องซ้ำ, และการดำเนินการตามพินัยกรรม
มาตรา 183 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ให้อำนาจศาลจะสั่งให้คู่ความฝ่ายใดนำสืบในประเด็นข้อใดก่อนหรือหลังก็ได้ ฉะนั้น เมื่อประเด็นที่จำเลยต่อสู้เป็นประเด็นสำคัญ ซึ่งถ้าได้ความแล้วคดีอาจพิจารณาพิพากษาไปได้โดยไม่ต้องพิจารณาประเด็นข้ออื่นๆ แล้ว ศาลอาจสั่งให้จำเลยนำสืบก่อนทุกประเด็นก็ได้
พินัยกรรมก่อตั้งทรัสต์ก่อนประกาศใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 6 นั้น ไม่ขัดต่อกฎหมายที่ใช้อยู่ในเวลานั้น และพินัยกรรมที่กำหนดให้โจทก์มีอำนาจจัดการและเก็บค่าเช่านั้น คำว่า จัดการ ในที่นี้ย่อมหมายถึงการดำเนินการต่างๆ ตลอดจนการฟ้องร้องคดีด้วย
พินัยกรรมตั้งผู้จัดการมรดกรวมสี่คน เมื่อเหลือโจทก์คนเดียวเพราะผู้จัดการมรดกสองคนถึงแก่กรรมและผู้จัดการมรดกอีกคนหนึ่งลาออก เมื่อพินัยกรรมมิได้กำหนดให้จัดการมรดกพร้อมกันแล้ว โจทก์ย่อมมีอำนาจฟ้องคดีได้
การจัดการมรดกไม่ใช่สิทธิเรียกร้อง ไม่มีอายุความ เมื่อจัดการมรดกยังไม่เสร็จสิ้น ผู้จัดการมรดกย่อมมีอำนาจจัดการตลอดไปจนกว่าจะเสร็จสิ้น
โจทก์เคยฟ้องขับไล่จำเลย ศาลพิพากษายกฟ้อง เพราะโจทก์แสดงอำนาจฟ้องไม่ถูกต้องนั้น ศาลยังมิได้วินิจฉัยประเด็นต่อสู้เรื่องขับไล่ ฉะนั้น โจทก์จึงมาฟ้องขับไล่จำเลยได้ใหม่ โดยไม่ถือว่าเป็นฟ้องซ้ำ
พินัยกรรมก่อตั้งทรัสต์ก่อนประกาศใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 6 นั้น ไม่ขัดต่อกฎหมายที่ใช้อยู่ในเวลานั้น และพินัยกรรมที่กำหนดให้โจทก์มีอำนาจจัดการและเก็บค่าเช่านั้น คำว่า จัดการ ในที่นี้ย่อมหมายถึงการดำเนินการต่างๆ ตลอดจนการฟ้องร้องคดีด้วย
พินัยกรรมตั้งผู้จัดการมรดกรวมสี่คน เมื่อเหลือโจทก์คนเดียวเพราะผู้จัดการมรดกสองคนถึงแก่กรรมและผู้จัดการมรดกอีกคนหนึ่งลาออก เมื่อพินัยกรรมมิได้กำหนดให้จัดการมรดกพร้อมกันแล้ว โจทก์ย่อมมีอำนาจฟ้องคดีได้
การจัดการมรดกไม่ใช่สิทธิเรียกร้อง ไม่มีอายุความ เมื่อจัดการมรดกยังไม่เสร็จสิ้น ผู้จัดการมรดกย่อมมีอำนาจจัดการตลอดไปจนกว่าจะเสร็จสิ้น
โจทก์เคยฟ้องขับไล่จำเลย ศาลพิพากษายกฟ้อง เพราะโจทก์แสดงอำนาจฟ้องไม่ถูกต้องนั้น ศาลยังมิได้วินิจฉัยประเด็นต่อสู้เรื่องขับไล่ ฉะนั้น โจทก์จึงมาฟ้องขับไล่จำเลยได้ใหม่ โดยไม่ถือว่าเป็นฟ้องซ้ำ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1404-1405/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องผู้จัดการมรดก, การจัดการทรัพย์มรดก, ฟ้องซ้ำ, และการนำสืบพยานในคดีแพ่ง
มาตรา 183 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ให้อำนาจศาลจะสั่งให้คู่ความฝ่ายใดนำสืบในประเด็นข้อใดก่อนหรือหลังก็ได้ ฉะนั้น เมื่อประเด็นที่จำเลยต่อสู้เป็นประเด็นสำคัญ ซึ่งถ้าได้ความแล้วคดีอาจพิจารณาพิพากษาไปได้โดยไม่ต้องพิจารณาประเด็นข้ออื่นๆ แล้ว ศาลอาจสั่งให้จำเลยนำสืบก่อนทุกประเด็นก็ได้
พินัยกรรมก่อตั้งทรัสต์ก่อนประกาศใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ 6 นั้น ไม่ขัดต่อกฎหมายที่ใช้อยู่ในเวลานั้น และพินัยกรรมที่กำหนดให้โจทก์มีอำนาจจัดการและเก็บค่าเช่านั้น คำว่า จัดการ ในที่นี้ย่อมหมายถึงการดำเนินการต่างๆ ตลอดจนการฟ้องร้องคดีด้วย
พินัยกรรมตั้งผู้จัดการมรดกรวมสี่คน เมื่อเหลือโจทก์คนเดียวเพราะผู้จัดการมรดกสองคนถึงแก่กรรม และผู้จัดการมรดกอีกคนหนึ่งลาออก เมื่อพินัยกรรมมิได้กำหนดให้จัดการมรดกพร้อมกันแล้ว โจทก์ย่อมมีอำนาจฟ้องคดีได้
การจัดการมรดกไม่ใช่สิทธิเรียกร้อง ไม่มีอายุความเมื่อจัดการมรดกยังไม่เสร็จสิ้น ผู้จัดการมรดกย่อมมีอำนาจจัดการตลอดไปจนกว่าจะเสร็จสิ้น
โจทก์เคยฟ้องขับไล่จำเลย ศาลพิพากษายกฟ้อง เพราะโจทก์แสดงอำนาจฟ้องไม่ถูกต้องนั้น ศาลยังมิได้วินิจฉัยประเด็นข้อต่อสู้เรื่องขับไล่ ฉะนั้น โจทก์จึงมาฟ้องขับไล่จำเลยได้ใหม่ โดยไม่ถือว่าเป็นฟ้องซ้ำ
พินัยกรรมก่อตั้งทรัสต์ก่อนประกาศใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ 6 นั้น ไม่ขัดต่อกฎหมายที่ใช้อยู่ในเวลานั้น และพินัยกรรมที่กำหนดให้โจทก์มีอำนาจจัดการและเก็บค่าเช่านั้น คำว่า จัดการ ในที่นี้ย่อมหมายถึงการดำเนินการต่างๆ ตลอดจนการฟ้องร้องคดีด้วย
พินัยกรรมตั้งผู้จัดการมรดกรวมสี่คน เมื่อเหลือโจทก์คนเดียวเพราะผู้จัดการมรดกสองคนถึงแก่กรรม และผู้จัดการมรดกอีกคนหนึ่งลาออก เมื่อพินัยกรรมมิได้กำหนดให้จัดการมรดกพร้อมกันแล้ว โจทก์ย่อมมีอำนาจฟ้องคดีได้
การจัดการมรดกไม่ใช่สิทธิเรียกร้อง ไม่มีอายุความเมื่อจัดการมรดกยังไม่เสร็จสิ้น ผู้จัดการมรดกย่อมมีอำนาจจัดการตลอดไปจนกว่าจะเสร็จสิ้น
โจทก์เคยฟ้องขับไล่จำเลย ศาลพิพากษายกฟ้อง เพราะโจทก์แสดงอำนาจฟ้องไม่ถูกต้องนั้น ศาลยังมิได้วินิจฉัยประเด็นข้อต่อสู้เรื่องขับไล่ ฉะนั้น โจทก์จึงมาฟ้องขับไล่จำเลยได้ใหม่ โดยไม่ถือว่าเป็นฟ้องซ้ำ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1364/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สินสมรสและมรดก: ผู้จัดการมรดกมีสิทธิเรียกร้องทรัพย์สินจากผู้ดูแลรักษา
แม้ภริยาจะมีชื่อในโฉนดถือกรรมสิทธิ์แต่ผู้เดียว ที่ดินก็อาจเป็นสินสมรสระหว่างสามีภริยานั้นได้
ผู้จัดการมารดาย่อมมีสิทธิเรียกร้องให้ผู้ดูแลรักษาทรัพย์มรดกส่งมอบโฉนดที่ดินเพื่อจัดการต่อไปตามหน้าที่
จำเลยทราบดีว่าทรัพย์ที่จำเลยรับมอบให้ดูแลรักษาเป็นทรัพย์มรดก จำเลยกลับไม่ยอมส่งแก่โจทก์ซึ่งเป็นผู้จัดการมรดก จึงควรต้องรับผิดชดใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนโจทก์
ผู้จัดการมารดาย่อมมีสิทธิเรียกร้องให้ผู้ดูแลรักษาทรัพย์มรดกส่งมอบโฉนดที่ดินเพื่อจัดการต่อไปตามหน้าที่
จำเลยทราบดีว่าทรัพย์ที่จำเลยรับมอบให้ดูแลรักษาเป็นทรัพย์มรดก จำเลยกลับไม่ยอมส่งแก่โจทก์ซึ่งเป็นผู้จัดการมรดก จึงควรต้องรับผิดชดใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1364/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สินสมรสและทรัพย์มรดก: สิทธิของผู้จัดการมรดกในการส่งมอบทรัพย์สิน
แม้ภริยาจะมีชื่อในโฉนดถือกรรมสิทธิ์แต่ผู้เดียว ที่ดินก็อาจเป็นสินสมรสระหว่างสามีภริยานั้นได้
ผู้จัดการมรดกย่อมมีสิทธิเรียกร้องให้ผู้ดูแลรักษาทรัพย์มรดกส่งมอบโฉนดที่ดินเพื่อจัดการต่อไปตามหน้าที่
จำเลยทราบดีว่าทรัพย์ที่จำเลยรับมอบให้ดูแลรักษาเป็นทรัพย์มรดก จำเลยกลับไม่ยอมส่งแก่โจทก์ซึ่งเป็นผู้จัดการมรดก จึงควรต้องรับผิดชดใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนโจทก์
ผู้จัดการมรดกย่อมมีสิทธิเรียกร้องให้ผู้ดูแลรักษาทรัพย์มรดกส่งมอบโฉนดที่ดินเพื่อจัดการต่อไปตามหน้าที่
จำเลยทราบดีว่าทรัพย์ที่จำเลยรับมอบให้ดูแลรักษาเป็นทรัพย์มรดก จำเลยกลับไม่ยอมส่งแก่โจทก์ซึ่งเป็นผู้จัดการมรดก จึงควรต้องรับผิดชดใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 948/2507 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผลผูกพันสัญญาประนีประนอมยอมความต่อผู้จัดการมรดกคนใหม่ แม้จะไม่รู้เห็นสัญญาเดิม
ผู้จัดการมรดกทำสัญญาประนีประนอมยอมความในศาล และศาลได้พิพากษาตามยอม ผลของคำพิพากษายอ่มผูกพันผู้จัดการมรดกในฐานะคู่ความตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 145 นับแต่วันพิพากษา จนกว่าคำพิพากษานั้นถูกเปลี่ยนแปลงแก้ไข
ผู้จัดการมรดกคนใหม่ย่อมถูกผูกพันตามสัญญาประนีประนอมยอมความ และคำพิพากษาตามยอมซึ่งผูกพัน ผู้จัดการมรดกคนก่อนในฐานะเป็นคู่ความต่อไป จะอ้างความไม่รู้เห็นในการทำสัญญาประนีประนอมยอมความขึ้นเป็นเหตุให้พ้นความผูกพันไม่ได้
ผู้จัดการมรดกคนใหม่ย่อมถูกผูกพันตามสัญญาประนีประนอมยอมความ และคำพิพากษาตามยอมซึ่งผูกพัน ผู้จัดการมรดกคนก่อนในฐานะเป็นคู่ความต่อไป จะอ้างความไม่รู้เห็นในการทำสัญญาประนีประนอมยอมความขึ้นเป็นเหตุให้พ้นความผูกพันไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 948/2507
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผลผูกพันสัญญาประนีประนอมยอมความต่อผู้จัดการมรดกคนใหม่ ผู้จัดการมรดกต้องรับผิดตามสัญญาเดิม แม้จะไม่รู้เห็น
ผู้จัดการมรดกทำสัญญาประนีประนอมยอมความในศาล และศาลได้พิพากษาตามยอม ผลของคำพิพากษาย่อมผูกพันผู้จัดการมรดกในฐานะคู่ความ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 145นับแต่วันพิพากษา จนกว่าคำพิพากษานั้นถูกเปลี่ยนแปลงแก้ไข
ผู้จัดการมรดกคนใหม่ย่อมถูกผูกพันตามสัญญาประนีประนอมยอมความ และคำพิพากษาตามยอมซึ่งผูกพันผู้จัดการมรดกคนก่อนในฐานะเป็นคู่ความต่อไป จะอ้างความไม่รู้เห็นในการทำสัญญาประนีประนอมยอมความ ขึ้นเป็นเหตุให้พ้นความผูกพันไม่ได้
ผู้จัดการมรดกคนใหม่ย่อมถูกผูกพันตามสัญญาประนีประนอมยอมความ และคำพิพากษาตามยอมซึ่งผูกพันผู้จัดการมรดกคนก่อนในฐานะเป็นคู่ความต่อไป จะอ้างความไม่รู้เห็นในการทำสัญญาประนีประนอมยอมความ ขึ้นเป็นเหตุให้พ้นความผูกพันไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 316-320/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผู้จัดการมรดกต้องจัดการร่วมกัน การดำเนินคดีเป็นส่วนหนึ่งของการจัดการมรดก การฎีกาโดยผู้จัดการคนเดียวเป็นฎีกาที่ไม่มีอำนาจ
ผู้จัดการทรัพยืมรดกต้องจัดการ่วมกัน ผู้จัดการแต่ละคนจะจัดการโดยลำพังไม่ได้ ฉะนั้น เมื่อศาลตั้งให้โจทก์ทั้งสองเป็นผู้จัดการมรดก โจทก์ที่ 2 จะลงชื่อฎีกาแต่ผู้เดียวย่อมไม่ได้ เพราะการดำเนินคดีเป็นส่วนหนึ่งของการจัดการมรดก
หนังสือมอบอำนาจยึดทรัพย์นั้น รูปลักษณะและความประสงค์มุ่งไปในทางมอบอำนาจจัดการทางธุระการ จึงไม่มีผลเป็นการมอบอำนาจให้ดำเนินที่เกิดข้อพิพาทขึ้นในศาลแต่อย่างใด
หนังสือมอบอำนาจยึดทรัพย์นั้น รูปลักษณะและความประสงค์มุ่งไปในทางมอบอำนาจจัดการทางธุระการ จึงไม่มีผลเป็นการมอบอำนาจให้ดำเนินที่เกิดข้อพิพาทขึ้นในศาลแต่อย่างใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 316-320/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจัดการมรดกต้องทำร่วมกัน ผู้จัดการมรดกคนเดียวไม่มีอำนาจดำเนินคดีแทนกองมรดก
ผู้จัดการทรัพย์มรดกต้องจัดการร่วมกัน ผู้จัดการแต่ละคนจะจัดการโดยลำพังไม่ได้ ฉะนั้น เมื่อศาลตั้งให้โจทก์ทั้งสองเป็นผู้จัดการมรดก โจทก์ที่ 2 จะลงชื่อฎีกาแต่ผู้เดียวย่อมไม่ได้ เพราะการดำเนินคดีเป็นส่วนหนึ่งของการจัดการมรดก
หนังสือมอบอำนาจยึดทรัพย์นั้น รูปลักษณะและความประสงค์มุ่งไปในทางมอบอำนาจจัดการทางธุระการจึงไม่มีผลเป็นการมอบอำนาจให้ดำเนินคดีที่เกิดข้อพิพาทขึ้นในศาลแต่อย่างใด
หนังสือมอบอำนาจยึดทรัพย์นั้น รูปลักษณะและความประสงค์มุ่งไปในทางมอบอำนาจจัดการทางธุระการจึงไม่มีผลเป็นการมอบอำนาจให้ดำเนินคดีที่เกิดข้อพิพาทขึ้นในศาลแต่อย่างใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1570/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาในพินัยกรรม: การยกทรัพย์สินให้แก่ผู้รับผลประโยชน์และแต่งตั้งผู้จัดการมรดก
เจ้ามรดกทำพินัยกรรมไว้ว่า
ข้อ 1. ถ้าข้าพเจ้าถึงแก่ความตายไปแล้ว บรรดาทรัพย์สิ่งของที่ข้าพเจ้ามีอยู่และจะเกิดขึ้นในภายหน้า ข้าพเจ้ายอมยกให้เป็นกรรมสิทธิ์แก่ผู้ที่ระบุชื่อไว้ในพินัยกรรมให้เป็นผู้รับทรัพย์ซึ่งกำหนดไว้ ดังนี้
เนื้อที่นา....................ฯลฯ.............
ข้อ 2. ข้าพเจ้าขอมอบพินัยกรรมนี้ให้แก่นายพา ขนาดถัง(โจทก์) และขอตั้งให้นายสวน เข็มมุข เป็นผู้จัดการมรดกของข้าพเจ้าตามพินัยกรรมนี้
ถ้อยคำในพินัยกรรมแสดงว่าเจ้ามรดกเจตนาให้ยกนาตามพินัยกรรมให้นายพา ขนาดถัง โจทก์ และตั้งนายสวน เข็มมุขเป็นผู้จัดการมรดก หาใช่มีเจตนาเพียงแต่มอบเอกสารพินัยกรรมให้โจทก์รักษาไว้เฉยๆ เท่านั้นไม่ ข้อกำหนดดังกล่าวไม่เป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1706(2)
ข้อ 1. ถ้าข้าพเจ้าถึงแก่ความตายไปแล้ว บรรดาทรัพย์สิ่งของที่ข้าพเจ้ามีอยู่และจะเกิดขึ้นในภายหน้า ข้าพเจ้ายอมยกให้เป็นกรรมสิทธิ์แก่ผู้ที่ระบุชื่อไว้ในพินัยกรรมให้เป็นผู้รับทรัพย์ซึ่งกำหนดไว้ ดังนี้
เนื้อที่นา....................ฯลฯ.............
ข้อ 2. ข้าพเจ้าขอมอบพินัยกรรมนี้ให้แก่นายพา ขนาดถัง(โจทก์) และขอตั้งให้นายสวน เข็มมุข เป็นผู้จัดการมรดกของข้าพเจ้าตามพินัยกรรมนี้
ถ้อยคำในพินัยกรรมแสดงว่าเจ้ามรดกเจตนาให้ยกนาตามพินัยกรรมให้นายพา ขนาดถัง โจทก์ และตั้งนายสวน เข็มมุขเป็นผู้จัดการมรดก หาใช่มีเจตนาเพียงแต่มอบเอกสารพินัยกรรมให้โจทก์รักษาไว้เฉยๆ เท่านั้นไม่ ข้อกำหนดดังกล่าวไม่เป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1706(2)