พบผลลัพธ์ทั้งหมด 7 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 454/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีขัดขืนหมายเรียกศาล: โจทก์ต้องเป็นผู้เสียหายโดยตรงจากการกระทำนั้น
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 170 มุ่งหมายเอาโทษแก่ผู้ที่ขัดขืนหมายหรือคำสั่งศาลที่ให้มาให้ถ้อยคำ ให้มาเบิกความ หรือให้ส่งทรัพย์หรือเอกสารในการพิจารณาคดี เป็นบทบัญญัติถึงการกระทำความผิดต่อศาลซึ่งเป็นเจ้าพนักงานในการยุติธรรม
เหตุที่ศาลมีคำสั่งตัดพยานโจทก์เพราะไม่มาเบิกความตามหมายเรียกของศาลนั้น โจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรงจากการกระทำของพยานนั้น โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้องผู้ที่ขัดขืนหมายเรียกตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 170
เหตุที่ศาลมีคำสั่งตัดพยานโจทก์เพราะไม่มาเบิกความตามหมายเรียกของศาลนั้น โจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรงจากการกระทำของพยานนั้น โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้องผู้ที่ขัดขืนหมายเรียกตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 170
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 454/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องขัดขืนหมายเรียกพยาน: โจทก์ต้องเป็นผู้เสียหายโดยตรงจากการกระทำนั้น
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 170 มุ่งหมายเอาโทษแก่ผู้ที่ขัดขืนหมายหรือคำสั่งศาลที่ให้มาให้ถ้อยคำ ให้มาเบิกความ หรือให้ส่งทรัพย์หรือเอกสารในการพิจารณาคดีเป็นบทบัญญัติถึงการกระทำความผิดต่อศาลซึ่งเป็นเจ้าพนักงานในการยุติธรรม
เหตุที่ศาลมีคำสั่งตัดพยานโจทก์เพราะไม่มาเบิกความตามหมายเรียกของศาลนั้น โจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรงจากการกระทำของพยานนั้นโจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้องผู้ที่ขัดขืนหมายเรียกตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 170
เหตุที่ศาลมีคำสั่งตัดพยานโจทก์เพราะไม่มาเบิกความตามหมายเรียกของศาลนั้น โจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรงจากการกระทำของพยานนั้นโจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้องผู้ที่ขัดขืนหมายเรียกตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 170
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 454/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีขัดขืนหมายเรียกศาล: ผู้เสียหายโดยตรงเท่านั้นที่ฟ้องได้
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 170 มุ่งหมายเอาโทษแก่ผู้ที่ขัดขืนหมายหรือคำสั่งศาลที่ให้มาให้ถ้อยคำ ให้มาเบิกความ หรือให้ส่งทรัพย์หรือเอกสารในการพิจารณาคดี. เป็นบทบัญญัติถึงการกระทำความผิดต่อศาลซึ่งเป็นเจ้าพนักงานในการยุติธรรม.
เหตุที่ศาลมีคำสั่งตัดพยานโจทก์เพราะไม่มาเบิกความตามหมายเรียกของศาลนั้น. โจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรงจากการกระทำของพยานนั้น. โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้องผู้ที่ขัดขืนหมายเรียกตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 170.
เหตุที่ศาลมีคำสั่งตัดพยานโจทก์เพราะไม่มาเบิกความตามหมายเรียกของศาลนั้น. โจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรงจากการกระทำของพยานนั้น. โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้องผู้ที่ขัดขืนหมายเรียกตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 170.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1341/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขัดขืนหมายเรียกของพนักงานสอบสวน ไม่เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 168
เมื่อมีผู้ไปแจ้งความต่อพนักงานสอบสวนกล่าวหาว่าจำเลยบุกรุกที่ดิน จำเลยย่อมตกอยู่ในฐานะเป็นผู้ต้องหาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 2 (2)แล้ว ซึ่งในชั้นสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 134 พนักงานสอบสวนจะบังคับให้ผู้ต้องหาให้ถ้อยคำใด ๆ ไม่ได้ และมาตรา 135 ก็บัญญัติห้ามมิให้พนักงานสอบสวนล่อลวงหรือขู่เข็ญผู้ต้องหาให้ให้การอีกด้วย จึงเห็นได้ว่า หมายเรียกของพนักงานสอบสวนที่ให้ผู้ต้องหามาเพื่อให้การ ไม่เข้าลักษณะเป็นคำบังคับตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 168
กรณีผู้ต้องหาขัดขืนไม่มาให้การตามหมายเรียกโดยไม่มีข้อแก้ตัวอันควรนั้น ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 66(3) บัญญัติทางแก้ไว้ ให้พนักงานสอบสวนมีอำนาจออกหมายจับตัวมาได้ เป็นการลงโทษอยู่แล้ว จึงเห็นได้ว่า เจตนารมย์ของประมวลกฎหมายอาญามาตรา 168 หาได้มุ่งหมายจะใช้บังคับกับผู้ต้องหาที่ขัดขืนไม่มาให้การต่อพนักงานสอบสวนตามหมายเรียกด้วยไม่
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 17/2509)
กรณีผู้ต้องหาขัดขืนไม่มาให้การตามหมายเรียกโดยไม่มีข้อแก้ตัวอันควรนั้น ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 66(3) บัญญัติทางแก้ไว้ ให้พนักงานสอบสวนมีอำนาจออกหมายจับตัวมาได้ เป็นการลงโทษอยู่แล้ว จึงเห็นได้ว่า เจตนารมย์ของประมวลกฎหมายอาญามาตรา 168 หาได้มุ่งหมายจะใช้บังคับกับผู้ต้องหาที่ขัดขืนไม่มาให้การต่อพนักงานสอบสวนตามหมายเรียกด้วยไม่
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 17/2509)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1341/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขัดขืนหมายเรียกไม่เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 168 หากมีเหตุผลอันควรหรือมีการใช้สิทธิไม่ให้การ
เมื่อมีผู้ไปแจ้งความต่อพนักงานสอบสวนกล่าวหาว่าจำเลยบุกรุกที่ดิน จำเลยย่อมตกอยู่ในฐานะเป็นผู้ต้องหาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 2(2) แล้ว ซึ่งในชั้นสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 134 พนักงานสอบสวนจะบังคับให้ผู้ต้องหาให้ถ้อยคำใดๆไม่ได้และมาตรา 135 ก็บัญญัติห้ามมิให้พนักงานสอบสวนล่อลวงหรือขู่เข็ญผู้ต้องหาให้ให้การอีกด้วย จึงเห็นได้ว่าหมายเรียกของพนักงานสอบสวนที่ให้ผู้ต้องหามาเพื่อให้การ ไม่เข้าลักษณะเป็นคำบังคับตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 168
กรณีผู้ต้องหาขัดขืนไม่มาให้การตามหมายเรียกโดยไม่มีข้อแก้ตัวอันควรนั้น ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 66(3) บัญญัติทางแก้ไว้ ให้พนักงานสอบสวนมีอำนาจออกหมายจับตัวมาได้ เป็นการลงโทษอยู่แล้ว จึงเห็นได้ว่าเจตนารมย์ของประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 168 หาได้มุ่งหมายจะใช้บังคับกับผู้ต้องหาที่ขัดขืนไม่มาให้การต่อพนักงานสอบสวนตามหมายเรียกด้วยไม่(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 17/2509)
กรณีผู้ต้องหาขัดขืนไม่มาให้การตามหมายเรียกโดยไม่มีข้อแก้ตัวอันควรนั้น ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 66(3) บัญญัติทางแก้ไว้ ให้พนักงานสอบสวนมีอำนาจออกหมายจับตัวมาได้ เป็นการลงโทษอยู่แล้ว จึงเห็นได้ว่าเจตนารมย์ของประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 168 หาได้มุ่งหมายจะใช้บังคับกับผู้ต้องหาที่ขัดขืนไม่มาให้การต่อพนักงานสอบสวนตามหมายเรียกด้วยไม่(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 17/2509)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1783/2493 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยกเลิกกฎหมายเก่าเกี่ยวกับการขัดขืนหมายเรียกพยาน และความผิดตามกฎหมายอาญา
พ.ร.บ.ลักษณะพยาน ร.ศ. 113 มาตรา 48(5) เรื่องพยานขัดหมายเรียกของพนักงานสอบสวนนั้น +ได้ว่าให้ถูกยกเลิกโดย พ.ร.บ.ให้ใช้ประมวล ก.ม.พิจารณาความอาญา พ.ศ. 2477 มาตรา 4 และมาตรา 3 +เพราะได้มีบัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 133 ประกอบด้วยมาตรา 304(2) กฎหมายอาญา
พยานที่ขัดขืนไม่ปฏิบัติตามหมายเรียกของพนักงานสอบสวนคือไม่ยอมเป็นพยานต่อพนักงานสอบสวนนั้น ย่อมมีผิดฐานขัดคำสั่งเจ้าพนักงานตาม ก.ม.ลักษณะอาญามาตรา 334(2)
(รูปคดีไม่ตรงกับฎีกาที่ 1140/2481)
พยานที่ขัดขืนไม่ปฏิบัติตามหมายเรียกของพนักงานสอบสวนคือไม่ยอมเป็นพยานต่อพนักงานสอบสวนนั้น ย่อมมีผิดฐานขัดคำสั่งเจ้าพนักงานตาม ก.ม.ลักษณะอาญามาตรา 334(2)
(รูปคดีไม่ตรงกับฎีกาที่ 1140/2481)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1783/2493
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขัดขืนหมายเรียกพนักงานสอบสวน: กฎหมายลักษณะพยานถูกยกเลิกโดยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
พ.ร.บ.ลักษณะพยาน ร.ศ.113 มาตรา 48(5) เรื่องพยานขัดหมายเรียกของพนักงานสอบสวนนั้น ถือได้ว่าได้ถูกยกเลิกโดยพ.ร.บ.ให้ใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ.2477 มาตรา4 และมาตรา 3 กฎหมายอาญาแล้ว เพราะได้มีบัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 133 ประกอบด้วยมาตรา334(2) กฎหมายอาญา
พยานที่ขัดขืนไม่ปฏิบัติตามหมายเรียกของพนักงานสอบสวนคือไม่ยอมไปเป็นพยานต่อพนักงานสอบสวนนั้น ย่อมมีผิดฐานขัดคำสั่งเจ้าพนักงานตาม กฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 334(2) (รูปคดีไม่ตรงกับฎีกาที่ 1140/2481)
พยานที่ขัดขืนไม่ปฏิบัติตามหมายเรียกของพนักงานสอบสวนคือไม่ยอมไปเป็นพยานต่อพนักงานสอบสวนนั้น ย่อมมีผิดฐานขัดคำสั่งเจ้าพนักงานตาม กฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 334(2) (รูปคดีไม่ตรงกับฎีกาที่ 1140/2481)