พบผลลัพธ์ทั้งหมด 2 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 688/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องซ้ำ-อายุความ: สิทธิเรียกคืนเงินจากการชำระหนี้ซ้ำจากการฟ้องเรียกหนี้ซ้อน
คดีก่อน จำเลยฟ้อง ม. ให้ชำระหนี้เงินกู้ ซึ่ง ม. ได้กู้จากจำเลยไปแทนโจทก์ซึ่งศาลได้พิพากษาถึงที่สุดให้ ม. แพ้คดีโดยเหตุที่ไม่สามารถพิสูจน์หลักฐานการชำระเงินได้แต่คดีนี้โจทก์ฟ้องจำเลยเรียกเงินที่จำเลยได้หักเงินรายได้โรงเรียนของโจทก์ตามหนี้เงินกู้รายเดียวกันนี้ไว้คืนฐานลาภมิควรได้โดยเหตุที่จำเลยกลับนำสัญญากู้รายเดียวกันนี้ไปฟ้อง ม. จนศาลพิพากษาถึงที่สุดให้ชำระหนี้เงินกู้รายเดียวกันนี้แก่จำเลย ดังนี้ประเด็นในคดีนี้จึงเป็นคนละประเด็นกับคดีก่อน ไม่เป็นฟ้องซ้ำ
โจทก์จำเลยตกลงกู้ยืมเงินกันโดยโจทก์ให้ ม. ทำสัญญากู้ไว้แทนโจทก์ โดยมีข้อตกลงให้จำเลยหักเงินรายได้โรงเรียนของโจทก์ชำระหนี้เงินกู้นี้แต่จำเลยได้นำสัญญากู้รายเดียวกันนี้ไปฟ้อง ม. จนศาลพิพากษาถึงที่สุดให้ม. ชำระหนี้เงินกู้แก่จำเลยโจทก์จึงฟ้องเรียกเงินของโจทก์ที่จำเลยได้หักชำระหนี้รายเดียวกันนี้คืนฐานลาภมิควรได้ดังนี้ ต้องถือว่าสิทธิของโจทก์ที่ฟ้องเรียกลาภมิควรได้นี้เกิดขึ้นต่อเมื่อคดีที่จำเลยฟ้อง ม. ถึงที่สุดเสียก่อนและก่อนคดีดังกล่าวถึงที่สุดจะถือว่าโจทก์ได้รู้ถึงสิทธิที่จะเรียกเงินคืนตามมูลฐานดังกล่าวมิได้ เมื่อนับจากวันที่โจทก์ได้ทราบเรื่องซึ่งเป็นเวลาภายหลังได้อ่านคำพิพากษาศาลฎีกาคดีดังกล่าวมาจนถึงวันที่โจทก์ฟ้องยังอยู่ภายในระยะเวลา 1 ปี คดีโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ
โจทก์จำเลยตกลงกู้ยืมเงินกันโดยโจทก์ให้ ม. ทำสัญญากู้ไว้แทนโจทก์ โดยมีข้อตกลงให้จำเลยหักเงินรายได้โรงเรียนของโจทก์ชำระหนี้เงินกู้นี้แต่จำเลยได้นำสัญญากู้รายเดียวกันนี้ไปฟ้อง ม. จนศาลพิพากษาถึงที่สุดให้ม. ชำระหนี้เงินกู้แก่จำเลยโจทก์จึงฟ้องเรียกเงินของโจทก์ที่จำเลยได้หักชำระหนี้รายเดียวกันนี้คืนฐานลาภมิควรได้ดังนี้ ต้องถือว่าสิทธิของโจทก์ที่ฟ้องเรียกลาภมิควรได้นี้เกิดขึ้นต่อเมื่อคดีที่จำเลยฟ้อง ม. ถึงที่สุดเสียก่อนและก่อนคดีดังกล่าวถึงที่สุดจะถือว่าโจทก์ได้รู้ถึงสิทธิที่จะเรียกเงินคืนตามมูลฐานดังกล่าวมิได้ เมื่อนับจากวันที่โจทก์ได้ทราบเรื่องซึ่งเป็นเวลาภายหลังได้อ่านคำพิพากษาศาลฎีกาคดีดังกล่าวมาจนถึงวันที่โจทก์ฟ้องยังอยู่ภายในระยะเวลา 1 ปี คดีโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 688/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องซ้ำและอายุความ: สิทธิเรียกคืนเงินที่ชำระหนี้ซ้ำจากการฟ้องเรียกหนี้ก่อนหน้า
คดีก่อน จำเลยฟ้อง ม.ให้ชำระหนี้เงินกู้ ซึ่ง ม.ได้กู้จากจำเลยไปแทนโจทก์. ซึ่งศาลได้พิพากษาถึงที่สุดให้ ม. แพ้คดี. โดยเหตุที่ไม่สามารถพิสูจน์หลักฐานการชำระเงินได้. แต่คดีนี้โจทก์ฟ้องจำเลยเรียกเงินที่จำเลยได้หักเงินรายได้โรงเรียนของโจทก์ตามหนี้เงินกู้รายเดียวกันนี้ไว้คืนฐานลาภมิควรได้. โดยเหตุที่จำเลยกลับนำสัญญากู้รายเดียวกันนี้ไปฟ้อง ม. จนศาลพิพากษาถึงที่สุดให้ชำระหนี้เงินกู้รายเดียวกันนี้แก่จำเลย. ดังนี้ประเด็นในคดีนี้จึงเป็นคนละประเด็นกับคดีก่อน. ไม่เป็นฟ้องซ้ำ.
โจทก์จำเลยตกลงกู้ยืมเงินกัน. โดยโจทก์ให้ ม.ทำสัญญากู้ไว้แทนโจทก์. โดยมีข้อตกลงให้จำเลยหักเงินรายได้โรงเรียนของโจทก์ชำระหนี้เงินกู้นี้. แต่จำเลยได้นำสัญญากู้รายเดียวกันนี้ไปฟ้อง ม.จนศาลพิพากษาถึงที่สุดให้ ม.ชำระหนี้เงินกู้แก่จำเลย. โจทก์จึงฟ้องเรียกเงินของโจทก์ที่จำเลยได้หักชำระหนี้รายเดียวกันนี้คืนฐานลาภมิควรได้. ดังนี้ ต้องถือว่าสิทธิของโจทก์ที่ฟ้องเรียกลาภมิควรได้นี้เกิดขึ้นต่อเมื่อคดีที่จำเลยฟ้อง ม.ถึงที่สุดเสียก่อน. และก่อนคดีดังกล่าวถึงที่สุด. จะถือว่าโจทก์ได้รู้ถึงสิทธิที่จะเรียกเงินคืนตามมูลฐานดังกล่าวมิได้. เมื่อนับจากวันที่โจทก์ได้ทราบเรื่องซึ่งเป็นเวลาภายหลังได้อ่านคำพิพากษาศาลฎีกาคดีดังกล่าวมาจนถึงวันที่โจทก์ฟ้อง. ยังอยู่ภายในระยะเวลา 1 ปี. คดีโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ.
โจทก์จำเลยตกลงกู้ยืมเงินกัน. โดยโจทก์ให้ ม.ทำสัญญากู้ไว้แทนโจทก์. โดยมีข้อตกลงให้จำเลยหักเงินรายได้โรงเรียนของโจทก์ชำระหนี้เงินกู้นี้. แต่จำเลยได้นำสัญญากู้รายเดียวกันนี้ไปฟ้อง ม.จนศาลพิพากษาถึงที่สุดให้ ม.ชำระหนี้เงินกู้แก่จำเลย. โจทก์จึงฟ้องเรียกเงินของโจทก์ที่จำเลยได้หักชำระหนี้รายเดียวกันนี้คืนฐานลาภมิควรได้. ดังนี้ ต้องถือว่าสิทธิของโจทก์ที่ฟ้องเรียกลาภมิควรได้นี้เกิดขึ้นต่อเมื่อคดีที่จำเลยฟ้อง ม.ถึงที่สุดเสียก่อน. และก่อนคดีดังกล่าวถึงที่สุด. จะถือว่าโจทก์ได้รู้ถึงสิทธิที่จะเรียกเงินคืนตามมูลฐานดังกล่าวมิได้. เมื่อนับจากวันที่โจทก์ได้ทราบเรื่องซึ่งเป็นเวลาภายหลังได้อ่านคำพิพากษาศาลฎีกาคดีดังกล่าวมาจนถึงวันที่โจทก์ฟ้อง. ยังอยู่ภายในระยะเวลา 1 ปี. คดีโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ.