พบผลลัพธ์ทั้งหมด 4 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 657/2548
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประกันตัว จำเลยไม่มาศาล ศาลปรับนายประกัน และการผ่อนชำระค่าปรับ
ศาลชั้นต้นอนุญาตให้จำเลยที่ 1 ประกันตัวโดยตีราคาประกัน 100,000 บาท เมื่อถึงวันนัดสืบพยานโจทก์นัดแรกจำเลยที่ 1 ไม่มาศาล โดยผู้ประกันอ้างว่า จำเลยที่ 1 ถูกกลุ่มบุคคลจับตัวไปจากบ้านพัก ศาลชั้นต้นไม่เชื่อข้ออ้างของผู้ประกัน ได้ออกหมายจับและปรับนายประกัน ผู้ประกันยื่นคำร้องขอลดค่าปรับ ศาลชั้นต้นมีคำสั่งยกคำร้อง ผู้ประกันยื่นอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์ภาค 2 พิพากษาแก้เป็นว่า อนุญาตให้ผู้ประกันผ่อนชำระค่าปรับเดือนละไม่น้อยกว่า 2,500 บาท นอกจากที่แก้ให้เป็นไปตามคำสั่งของศาลชั้นต้น ดังนี้ คำวินิจฉัยของศาลอุทธรณ์ภาค 2 ย่อมถึงที่สุดตาม ป.วิ.อ. มาตรา 119
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1550/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลทหาร: คำสั่งประกันและปรับนายประกันเป็นคำสั่งของศาลทหาร ศาลพลเรือนไม่มีอำนาจพิจารณา
คดีอยู่ในอำนาจศาลทหาร และเมื่อได้มีคำสั่งเกี่ยวกับคำร้องขอประกัน และสั่งปรับตามสัญญาประกันไปแล้ว จะอุทธรณ์คำสั่งไปยังศาลอุทธรณ์อันเป็นศาลพลเรือนไม่ได้ (เทียบคำพิพากษาฎีกาที่ 732/2504)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1550/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลทหาร: คำสั่งประกันตัวและปรับนายประกันเป็นคำสั่งของศาลทหาร ศาลพลเรือนไม่มีอำนาจพิจารณา
คดีอยู่ในอำนาจศาลทหาร และเมื่อได้มีคำสั่งเกี่ยวกับคำร้องขอประกัน และสั่งปรับตามสัญญาประกันไปแล้ว จะอุทธรณ์คำสั่งไปยังศาลอุทธรณ์อันเป็นศาลพลเรือนไม่ได้ (เทียบคำพิพากษาฎีกาที่ 732/2504)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1550/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลทหาร: คำสั่งประกันและปรับนายประกันเป็นอำนาจศาลทหาร ศาลพลเรือนไม่มีอำนาจพิจารณา
คดีอยู่ในอำนาจศาลทหาร. และเมื่อได้มีคำสั่งเกี่ยวกับคำร้องขอประกัน และสั่งปรับตามสัญญาประกันไปแล้ว. จะอุทธรณ์คำสั่งไปยังศาลอุทธรณ์อันเป็นศาลพลเรือนไม่ได้. (เทียบคำพิพากษาฎีกาที่ 732/2504).