พบผลลัพธ์ทั้งหมด 8 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2046/2515 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การตีความคำว่า 'ปศุสัตว์' ในความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ สุกรเข้าข่ายหรือไม่
คำว่า "ปศุสัตว์"' ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 359 (2)ย่อมหมายถึงสัตว์สี่เท้าที่เลี้ยงเพื่อใช้เป็นอาหาร จำเลยใช้มีดฟันขาสุกรผู้เสียหายเป็นแผลเกือบขาด ย่อมมีความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ที่เป็นปศุสัตว์ ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 359 (2)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2046/2515
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
นิยาม 'ปศุสัตว์' ในความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์: สุกรเข้าข่ายหรือไม่
คำว่า "ปศุสัตว์"' ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 359(2)ย่อมหมายถึงสัตว์สี่เท้าที่เลี้ยงเพื่อใช้เป็นอาหาร จำเลยใช้มีดฟันขาสุกรผู้เสียหายเป็นแผลเกือบขาด ย่อมมีความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ที่เป็นปศุสัตว์ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 359(2)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 535/2500 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลักปศุสัตว์: การดูโคให้แทนการมอบหมาย ไม่เป็นความยักยอก ใช้บทลงโทษตามมาตรา 293
โคของผู้เสียหายติดเข้าไปอยู่ในฝูงโคของจำเลย แยกไม่ออก ผู้เสียหายจึงสั่งจำเลยขอให้ดูไว้ด้วย
การพูดเช่นนี้จะถือว่าเป็นการรับมอบหมาย อันจะกลายเป็นผิดฐานยักยอกยังไม่ได้
ที่สุดเมื่อจำเลยกับพวกพาเอาโคของผู้เสียหายไป จึงมีความผิดฐานลักปศุสัตว์ตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 294
แต่เนื่องจากประมวลกฎหมายที่ใช้อยู่บัดนี้ ไม่มีบัญญัติถึงการลักปศุสัตว์และสัตว์พาหนะโดยเฉพาะเช่นในมาตรา 294 (ก.ม.อาญา) จึงต้องใช้มาตรา 293 (ก.ม.อาญา) ซึ่งมีอัตราโทษเบากว่าเป็นบทลงโทษจำเลย.
การพูดเช่นนี้จะถือว่าเป็นการรับมอบหมาย อันจะกลายเป็นผิดฐานยักยอกยังไม่ได้
ที่สุดเมื่อจำเลยกับพวกพาเอาโคของผู้เสียหายไป จึงมีความผิดฐานลักปศุสัตว์ตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 294
แต่เนื่องจากประมวลกฎหมายที่ใช้อยู่บัดนี้ ไม่มีบัญญัติถึงการลักปศุสัตว์และสัตว์พาหนะโดยเฉพาะเช่นในมาตรา 294 (ก.ม.อาญา) จึงต้องใช้มาตรา 293 (ก.ม.อาญา) ซึ่งมีอัตราโทษเบากว่าเป็นบทลงโทษจำเลย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 535/2500
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองปศุสัตว์หลงหายและการแจ้งความเท็จ กรณีลักทรัพย์ปศุสัตว์
โคของผู้เสียหายติดเข้าไปอยู่ในฝูงโคของจำเลย แยกไม่ออก ผู้เสียหายจึงสั่งจำเลยขอให้ดูไว้ด้วย
การพูดเช่นนี้จะถือว่าเป็นการรับมอบหมาย อันจะกลายเป็นผิดฐานยักยอกยังไม่ได้
ที่สุดเมื่อจำเลยกับพวกพาเอาโคของผู้เสียหายไป จึงมีความผิดฐานลักปศุสัตว์ตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 294
แต่เนื่องจากประมวลกฎหมายที่ใช้อยู่บัดนี้ ไม่มีบัญญัติถึงการลักปศุสัตว์และสัตว์พาหนะโดยเฉพาะเช่นในมาตรา 294(กฎหมายอาญา)จึงต้องใช้มาตรา 293(กฎหมายอาญา) ซึ่งมีอัตราโทษเบากว่าเป็นบทลงโทษจำเลย
การพูดเช่นนี้จะถือว่าเป็นการรับมอบหมาย อันจะกลายเป็นผิดฐานยักยอกยังไม่ได้
ที่สุดเมื่อจำเลยกับพวกพาเอาโคของผู้เสียหายไป จึงมีความผิดฐานลักปศุสัตว์ตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 294
แต่เนื่องจากประมวลกฎหมายที่ใช้อยู่บัดนี้ ไม่มีบัญญัติถึงการลักปศุสัตว์และสัตว์พาหนะโดยเฉพาะเช่นในมาตรา 294(กฎหมายอาญา)จึงต้องใช้มาตรา 293(กฎหมายอาญา) ซึ่งมีอัตราโทษเบากว่าเป็นบทลงโทษจำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 723/2484
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดจากการปล่อยปศุสัตว์เข้าทำลายทรัพย์สินผู้อื่น
เลี้ยงโคแล้วปล่อยให้โคเข้าไปในไร่นาผู้อื่นก็เป็นผิดตามมาตรา 340(1)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 451/2484
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตความหมาย “ไล่ต้อนปศุสัตว์” ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 340(3) ครอบคลุมถึงการจูงหรือพาเข้าไปได้
คำว่า "ไล่ต้อน" ตามมาตรา 340 (3) กฎหมายลักษณอาญาย่อมเกินความถึงจงเข้าไปหรือพาเข้าไปด้วย
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยไล่ต้อนกระบือเข้ากับต้นข้างได้ความว่าจูงเข้าไปไม่เป็นการผิดกับฟ้อง
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยไล่ต้อนกระบือเข้ากับต้นข้างได้ความว่าจูงเข้าไปไม่เป็นการผิดกับฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 342/2479
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนทรัพย์สินทางปากและการครอบครองปรปักษ์ กรณีที่ดินมือเปล่าและปศุสัตว์
กรณีคาบเกี่ยวกฎหมายเก่ากับกฎหมายใหม่
การยกที่นามือเปล่าให้แก่กัน แม้จำทำไม่ถูกตามแบบถ้าผู้รับให้ได้ปกครองมาเป็นเวลาเกินกว่า 1 ปี ผู้ให้ไม่มีอำนาจฟ้องเรียกคืน
อ้างฎีกาที่ 1009/2462 การยกกระบือให้แก่กัน ถ้าผู้รับให้ปกครองมาเป็นเวลาเกินกว่า 5 ปี แม้จะไม่ได้ไปโอนทะเบียนต่อเจ้าพนักงาน ผู้รับให้ก็ได้กรรมสิทธิ
การยกที่นามือเปล่าให้แก่กัน แม้จำทำไม่ถูกตามแบบถ้าผู้รับให้ได้ปกครองมาเป็นเวลาเกินกว่า 1 ปี ผู้ให้ไม่มีอำนาจฟ้องเรียกคืน
อ้างฎีกาที่ 1009/2462 การยกกระบือให้แก่กัน ถ้าผู้รับให้ปกครองมาเป็นเวลาเกินกว่า 5 ปี แม้จะไม่ได้ไปโอนทะเบียนต่อเจ้าพนักงาน ผู้รับให้ก็ได้กรรมสิทธิ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 490/2472
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การตีความ 'ปล่อย' ปศุสัตว์ตาม ม.๓๔๐ ความเสียหายในนา
ล่ามโคไว้แล้วขาดไปกินเข้าในนาเขาไม่เรียกว่า " ปล่อย" จึงไม่มีผิดตาม ม.นี้ ปัญหากฎหมาย