พบผลลัพธ์ทั้งหมด 8 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2432/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ลูกจ้างขับรถโดยสารประจำทาง ไม่ถือเป็นผู้ประกอบการขนส่งตาม พ.ร.บ.ขนส่งทางบก
รถยนต์ที่จำเลยขับในขณะเกิดเหตุเป็นของบริษัท ย. นำมาเดินร่วมกับบริษัทขนส่งจำกัด ซึ่งเป็นผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบการขนส่งประจำทางสายที่ 34 จำเลยเป็นเพียงลูกจ้างขับรถยนต์คันดังกล่าวจึงอยู่ในฐานะเป็นผู้ประจำรถเท่านั้น ไม่อยู่ในฐานะเป็นผู้ประกอบการขนส่งแม้รถที่จำเลยขับจะไม่ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบการขนส่งจากนายทะเบียน จำเลยก็ไม่มีความผิดตาม พ.ร.บ.การขนส่งทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 23.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3389/2527
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลงโทษปรับในความผิด พ.ร.บ.ขนส่งทางบก ต้องปรับตามตัวบุคคลตามประมวลกฎหมายอาญา
พระราชบัญญัติการขนส่งทางบก มาตรา 40 และมาตรา 138ที่โจทก์ฟ้องไม่ได้บัญญัติเกี่ยวกับการลงโทษปรับไว้เป็น อย่างอื่น จึงต้องนำประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 31 มา ใช้บังคับ โดยต้องปรับจำเลยทั้งสามเรียงตามรายตัวบุคคล ไป จะปรับจำเลยทั้งสามรวมกันไม่ได้ (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 1339/2506)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 674/2520 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิด พ.ร.บ.ขนส่ง: ผู้ประกอบการฯ และบทบาทของกรรมการ/ผู้จัดการฝ่ายเดินรถ
ผู้ที่จะมีความผิดตามพระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ. 2497 มาตรา 14 ซึ่งห้ามมิให้ผู้ได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะเข้าทำการขนส่งในเส้นทางใดในลักษณะที่เป็นการแข่งขันกับผู้ได้รับใบอนุญาตการขนส่งประจำทางในเส้นทางนั้น คือผู้ที่ได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะ เมื่อปรากฏว่าผู้ได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธาณะคือบริษัท พ. จำเลยที่ 1 เป็นเพียงคนขับรถ จำเลยที่ 2 เป็นผู้จัดการฝ่ายเดินรถของบริษัท พ. มิใช่เป็นผู้ได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธาณะ จำเลยทั้งสองจึงไม่มีความผิดความมาตรา 14
ผู้ที่จะมีความผิดตามพระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ. 2497 มาตรา 51 คือ ผู้ที่ประกอบการรับจัดการขนส่งโดยไม่ได้รับอนุญาตจากนายทะเบียน เมื่อปรากฏว่าการขนส่งคนโดยสารเป็นการประกอบการรับจัดการขนส่งของบริษัท พ. จำเลยที่ 1 เป็นเพียงบุคคลที่ทำหน้าที่ประจำเครื่องอุปกรณ์การขนส่งโดยเป็นคนขับหรือควบคุมเครื่องอุปกรณ์การขนส่ง ส่วนจำเลยที่ 2 ดำเนินการรับจัดการขนส่งแทนบริษัท พ. ในฐานะที่เป็นผู้จัดการฝ่ายเดินรถของบริษัท พ. ดังนี้ จำเลยทั้งสองไม่มีความผิดตามมาตรา 51
ผู้ที่จะมีความผิดตามพระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ. 2497 มาตรา 51 คือ ผู้ที่ประกอบการรับจัดการขนส่งโดยไม่ได้รับอนุญาตจากนายทะเบียน เมื่อปรากฏว่าการขนส่งคนโดยสารเป็นการประกอบการรับจัดการขนส่งของบริษัท พ. จำเลยที่ 1 เป็นเพียงบุคคลที่ทำหน้าที่ประจำเครื่องอุปกรณ์การขนส่งโดยเป็นคนขับหรือควบคุมเครื่องอุปกรณ์การขนส่ง ส่วนจำเลยที่ 2 ดำเนินการรับจัดการขนส่งแทนบริษัท พ. ในฐานะที่เป็นผู้จัดการฝ่ายเดินรถของบริษัท พ. ดังนี้ จำเลยทั้งสองไม่มีความผิดตามมาตรา 51
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 674/2520
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิด พ.ร.บ.ขนส่ง: ผู้ประกอบการขนส่ง vs. พนักงานขับรถและผู้จัดการเดินรถ
ผู้ที่จะมีความผิดตามพระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ.2497มาตรา 14 ซึ่งห้ามมิให้ผู้ได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะเข้าทำการขนส่งในเส้นทางใดในลักษณะที่เป็นการแข่งขันกับผู้ได้รับใบอนุญาตการขนส่งประจำทางในเส้นทางนั้น คือผู้ที่ได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะ เมื่อปรากฏว่าผู้ได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะคือบริษัท พ. จำเลยที่ 1 เป็นเพียงคนขับรถ จำเลยที่ 2 เป็นผู้จัดการฝ่ายเดินรถของบริษัท พ. มิใช่เป็นผู้ได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะจำเลยทั้งสองจึงไม่มีความผิดตามมาตรา 14
ผู้ที่จะมีความผิดตามพระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ.2497 มาตรา 51 คือผู้ที่ประกอบการรับจัดการขนส่งโดยไม่ได้รับอนุญาตจากนายทะเบียนเมื่อปรากฏว่าการขนส่งคนโดยสารเป็นการประกอบการรับจัดการขนส่งของบริษัทพ.จำเลยที่ 1 เป็นเพียงบุคคลที่ทำหน้าที่ประจำเครื่องอุปกรณ์การขนส่งโดยเป็นคนขับหรือควบคุมเครื่องอุปกรณ์การขนส่ง ส่วนจำเลยที่ 2 ดำเนินการรับจัดการขนส่งแทนบริษัท พ. ในฐานะที่เป็นผู้จัดการฝ่ายเดินรถของบริษัท พ. ดังนี้ จำเลยทั้งสองไม่มีความผิดตามมาตรา 51
ผู้ที่จะมีความผิดตามพระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ.2497 มาตรา 51 คือผู้ที่ประกอบการรับจัดการขนส่งโดยไม่ได้รับอนุญาตจากนายทะเบียนเมื่อปรากฏว่าการขนส่งคนโดยสารเป็นการประกอบการรับจัดการขนส่งของบริษัทพ.จำเลยที่ 1 เป็นเพียงบุคคลที่ทำหน้าที่ประจำเครื่องอุปกรณ์การขนส่งโดยเป็นคนขับหรือควบคุมเครื่องอุปกรณ์การขนส่ง ส่วนจำเลยที่ 2 ดำเนินการรับจัดการขนส่งแทนบริษัท พ. ในฐานะที่เป็นผู้จัดการฝ่ายเดินรถของบริษัท พ. ดังนี้ จำเลยทั้งสองไม่มีความผิดตามมาตรา 51
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1665-1670/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิด พ.ร.บ.ขนส่งฯ มาตรา 14: ผู้ขับรถที่มิได้รับอนุญาตไม่มีความผิดตามมาตรานี้
โจทก์บรรยายฟ้องจำเลยเป็นผู้ได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะแต่ทางพิจารณาไม่ได้ความว่าจำเลยได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะ จำเลยเป็นแต่ลูกจ้างคนขับรถยนต์โดยสารสาธารณะของนายจ้างเท่านั้น แม้จำเลยจะขับรับผู้โดยสารล่วงล้ำเข้าไปในเส้นทางที่รถบริษัทอื่นได้รับใบอนุญาตการขนส่งประจำทางก็ตาม คนขับหรือจำเลยซึ่งมิใช่ผู้ได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะ ย่อมไม่มีความผิดตามมาตรา 14
พระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ. 2497 มาตรา 14 บัญญัติห้ามเฉพาะผู้ได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะเท่านั้น จะขยายความไปถึงคนอื่นด้วยไม่ได้ เพราะเป็นความผิดอาญา
แม้การเก็บค่าโดยสารมีลักษณะเป็นการแข่งขันก็จริง แต่เมื่อจำเลยมิใช่ผู้ได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะ ก็ขาดองค์ความผิดตามพระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ. 2497 มาตรา 14
กรณีบุคคลสองคนขึ้นไปร่วมกันทำความผิดนั้น โจทก์จะไม่ระบุประมวลกฎหมายอาญามาตรา 83 มาด้วยก็ได้ แต่โจทก์ต้องบรรยายฟ้อง มิฉะนั้นก็ไม่มีข้อหาหรือประเด็นว่าจำเลยกระทำผิดร่วมกับพวกหรือไม่
ความผิดตามพระราชบัญญัติการขนส่งมาตรา 14 เป็นความผิดเฉพาะตัวบุคคลผู้ได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะเท่านั้น ไม่อาจมีการร่วมกันกระทำผิดกับผู้ที่มิได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะด้วยได้
พระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ. 2497 มาตรา 14 บัญญัติห้ามเฉพาะผู้ได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะเท่านั้น จะขยายความไปถึงคนอื่นด้วยไม่ได้ เพราะเป็นความผิดอาญา
แม้การเก็บค่าโดยสารมีลักษณะเป็นการแข่งขันก็จริง แต่เมื่อจำเลยมิใช่ผู้ได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะ ก็ขาดองค์ความผิดตามพระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ. 2497 มาตรา 14
กรณีบุคคลสองคนขึ้นไปร่วมกันทำความผิดนั้น โจทก์จะไม่ระบุประมวลกฎหมายอาญามาตรา 83 มาด้วยก็ได้ แต่โจทก์ต้องบรรยายฟ้อง มิฉะนั้นก็ไม่มีข้อหาหรือประเด็นว่าจำเลยกระทำผิดร่วมกับพวกหรือไม่
ความผิดตามพระราชบัญญัติการขนส่งมาตรา 14 เป็นความผิดเฉพาะตัวบุคคลผู้ได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะเท่านั้น ไม่อาจมีการร่วมกันกระทำผิดกับผู้ที่มิได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะด้วยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1665-1670/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิด พ.ร.บ.ขนส่งฯ มาตรา 14: ผู้ขับรถที่ไม่ได้รับใบอนุญาตไม่มีความผิดตามมาตรานี้
โจทก์บรรยายฟ้องว่าจำเลยเป็นผู้ได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะแต่ทางพิจารณาไม่ได้ความว่าจำเลยได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะ จำเลยเป็นแต่ลูกจ้างคนขับรถยนต์โดยสารสาธารณะของนายจ้างเท่านั้น แม้จำเลยจะขับรับผู้โดยสารล่วงล้ำเข้าไปในเส้นทางที่รถบริษัทอื่นได้รับใบอนุญาตการขนส่งประจำทางก็ตาม คนขับหรือจำเลยซึ่งมิใช่ผู้ได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะ ย่อมไม่มีความผิดตามมาตรา 14
พระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ.2497 มาตรา 14 บัญญัติห้ามเฉพาะผู้ได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะเท่านั้น จะขยายความไปถึงคนอื่นด้วยไม่ได้ เพราะเป็นความผิดอาญา
แม้การเก็บค่าโดยสารมีลักษณะเป็นการแข่งขันก็จริง แต่เมื่อจำเลยมิใช่ผู้ได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะ ก็ขาดองค์ความผิดตามพระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ.2497 มาตรา 14
กรณีบุคคลสองคนขึ้นไปร่วมกันทำความผิดนั้น โจทก์จะไม่ระบุประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 83 มาด้วยก็ได้ แต่โจทก์ต้องบรรยายฟ้อง มิฉะนั้นก็ไม่มีข้อหาหรือประเด็นว่าจำเลยกระทำผิดร่วมกับพวกหรือไม่
ความผิดตามพระราชบัญญัติการขนส่ง มาตรา 14 เป็นความผิดเฉพาะตัวบุคคลผู้ได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะเท่านั้น ไม่อาจมีการร่วมกันกระทำผิดกับผู้ที่มิได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะด้วยได้
พระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ.2497 มาตรา 14 บัญญัติห้ามเฉพาะผู้ได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะเท่านั้น จะขยายความไปถึงคนอื่นด้วยไม่ได้ เพราะเป็นความผิดอาญา
แม้การเก็บค่าโดยสารมีลักษณะเป็นการแข่งขันก็จริง แต่เมื่อจำเลยมิใช่ผู้ได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะ ก็ขาดองค์ความผิดตามพระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ.2497 มาตรา 14
กรณีบุคคลสองคนขึ้นไปร่วมกันทำความผิดนั้น โจทก์จะไม่ระบุประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 83 มาด้วยก็ได้ แต่โจทก์ต้องบรรยายฟ้อง มิฉะนั้นก็ไม่มีข้อหาหรือประเด็นว่าจำเลยกระทำผิดร่วมกับพวกหรือไม่
ความผิดตามพระราชบัญญัติการขนส่ง มาตรา 14 เป็นความผิดเฉพาะตัวบุคคลผู้ได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะเท่านั้น ไม่อาจมีการร่วมกันกระทำผิดกับผู้ที่มิได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะด้วยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1665-1670/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิด พ.ร.บ.ขนส่ง: การกระทำความผิดต้องเป็นผู้ได้รับใบอนุญาตฯ การร่วมกระทำผิดกับผู้ไม่มีใบอนุญาตฯ ไม่สามารถทำได้
โจทก์บรรยายฟ้องว่าจำเลยเป็นผู้ได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะ. แต่ทางพิจารณาไม่ได้ความว่าจำเลยได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณ. จำเลยเป็นแต่ลูกจ้างคนขับรถยนต์โดยสารสาธารณะของนายจ้างเท่านั้น. แม้จำเลยจะขับรับผู้โดยสารล่วงล้ำเข้าไปในเส้นทางที่รถบริษัทอื่นได้รับใบอนุญาตการขนส่งประจำทางก็ตาม. คนขับหรือจำเลยซึ่งมิใช่ผู้ได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะ ย่อมไม่มีความผิดตามมาตรา 14.
พระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ.2497 มาตรา 14 บัญญัติห้ามเฉพาะผู้ได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะเท่านั้น จะขยายความไปถึงคนอื่นด้วยไม่ได้ เพราะเป็นความผิดอาญา.
แม้การเก็บค่าโดยสารมีลักษณะเป็นการแข่งขันก็จริง. แต่เมื่อจำเลยมิใช่ผู้ได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะ. ก็ขาดองค์ความผิดตามพระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ.2497 มาตรา 14.
กรณีบุคคลสองคนขึ้นไปร่วมกันทำความผิดนั้น. โจทก์จะไม่ระบุประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 83 มาด้วยก็ได้. แต่โจทก์ต้องบรรยายฟ้อง มิฉะนั้นก็ไม่มีข้อหาหรือประเด็นว่าจำเลยกระทำผิดร่วมกับพวกหรือไม่.
ความผิดตามพระราชบัญญัติการขนส่ง มาตรา 14 เป็นความผิดเฉพาะตัวบุคคลผู้ได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะเท่านั้น ไม่อาจมีการร่วมกันกระทำผิดกับผู้ที่มิได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะด้วยได้.
พระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ.2497 มาตรา 14 บัญญัติห้ามเฉพาะผู้ได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะเท่านั้น จะขยายความไปถึงคนอื่นด้วยไม่ได้ เพราะเป็นความผิดอาญา.
แม้การเก็บค่าโดยสารมีลักษณะเป็นการแข่งขันก็จริง. แต่เมื่อจำเลยมิใช่ผู้ได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะ. ก็ขาดองค์ความผิดตามพระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ.2497 มาตรา 14.
กรณีบุคคลสองคนขึ้นไปร่วมกันทำความผิดนั้น. โจทก์จะไม่ระบุประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 83 มาด้วยก็ได้. แต่โจทก์ต้องบรรยายฟ้อง มิฉะนั้นก็ไม่มีข้อหาหรือประเด็นว่าจำเลยกระทำผิดร่วมกับพวกหรือไม่.
ความผิดตามพระราชบัญญัติการขนส่ง มาตรา 14 เป็นความผิดเฉพาะตัวบุคคลผู้ได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะเท่านั้น ไม่อาจมีการร่วมกันกระทำผิดกับผู้ที่มิได้รับใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะด้วยได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1322-1324/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจหน้าที่สถานีขนส่ง: ความขัดแย้งระหว่าง พ.ร.บ.จราจรทางบก กับ พ.ร.บ.การขนส่ง และการรับฟังพยานหลักฐาน
คดีอาญา จำเลยอ้างพยานเอกสารซึ่งอยู่ในความครอบครองของจำเลยและโจทก์ไม่รับรองความถูกต้อง เมื่อจำเลยไม่สืบพยานประกอบ พยานเอกสารนั้นก็รับฟังไม่ได้แต่ถ้าพยานเอกสารนั้นเป็นหนังสือราชการ ซึ่งต้นฉบับอยู่ในความครอบครองของทางราชการและที่จำเลยอ้างส่งต่อศาลเป็นสำเนาซึ่งเจ้าหน้าที่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 93 (3) รับรองถูกต้อง ก็รับฟังได้ ไม่ต้องสืบพยานประกอบ
ตามพระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ. 2497 เป็นอำนาจของรัฐมนตรีที่จะกำหนดสถานที่ที่จะใช้เป็นสถานีขนส่ง และต้องประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อประกาศกำหนดสถานที่ที่จะใช้เป็นสถานีขนส่งแล้ว ผู้ประกอบการขนส่งจะต้องใช้สถานที่นั้นเป็นที่หยุดหรือจอดยานพาหนะ ถ้าฝ่าฝืนมีความผิดตามมาตรา 69 และอธิบดีมีอำนาจกำหนดค่าบริการที่ผู้ประกอบการขนส่งจะต้องชำระให้แก่สถานีขนส่งตามมาตรา 50 (1) แต่ถ้ารัฐมนตรียังไม่ได้กำหนดสถานที่ให้เป็นสถานีขนส่ง ผู้ประกอบการขนส่งจัดหาสถานที่จอดพักรถโดยสารให้คนขึ้นลงได้เอง โดยไม่ให้ขัดขวางต่อการจราจร
เจ้าพนักงานจราจรมีอำนาจออกข้อบังคับหรือคำสั่งกำหนดสถานที่จอดพักรถได้ตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2477 แต่ถ้าสถานที่จอดพักรถนั้นอยู่ในความครอบครองของเอกชนและเอกชนเป็นผู้เรียกเก็บค่าบริการในการจอดรถ ก็ไม่เป็นสถานที่จอดพักรถตามความหมายของพระราชบัญญัติจราจรทางบก แต่เป็นสถานีขอส่งตามพระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ. 2497 ซึ่งบัญญัติให้เป็นอำนาจของรัฐมนตรีเป็นผู้กำหนดสถานทีที่ใช้เป็นสถานีขนส่ง เจ้าพนักงานจราจรไม่มีอำนาจกำหนด
ตามพระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ. 2497 เป็นอำนาจของรัฐมนตรีที่จะกำหนดสถานที่ที่จะใช้เป็นสถานีขนส่ง และต้องประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อประกาศกำหนดสถานที่ที่จะใช้เป็นสถานีขนส่งแล้ว ผู้ประกอบการขนส่งจะต้องใช้สถานที่นั้นเป็นที่หยุดหรือจอดยานพาหนะ ถ้าฝ่าฝืนมีความผิดตามมาตรา 69 และอธิบดีมีอำนาจกำหนดค่าบริการที่ผู้ประกอบการขนส่งจะต้องชำระให้แก่สถานีขนส่งตามมาตรา 50 (1) แต่ถ้ารัฐมนตรียังไม่ได้กำหนดสถานที่ให้เป็นสถานีขนส่ง ผู้ประกอบการขนส่งจัดหาสถานที่จอดพักรถโดยสารให้คนขึ้นลงได้เอง โดยไม่ให้ขัดขวางต่อการจราจร
เจ้าพนักงานจราจรมีอำนาจออกข้อบังคับหรือคำสั่งกำหนดสถานที่จอดพักรถได้ตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2477 แต่ถ้าสถานที่จอดพักรถนั้นอยู่ในความครอบครองของเอกชนและเอกชนเป็นผู้เรียกเก็บค่าบริการในการจอดรถ ก็ไม่เป็นสถานที่จอดพักรถตามความหมายของพระราชบัญญัติจราจรทางบก แต่เป็นสถานีขอส่งตามพระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ. 2497 ซึ่งบัญญัติให้เป็นอำนาจของรัฐมนตรีเป็นผู้กำหนดสถานทีที่ใช้เป็นสถานีขนส่ง เจ้าพนักงานจราจรไม่มีอำนาจกำหนด