คำพิพากษาที่อยู่ใน Tags
มาตรา 338

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 6 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 697/2489 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ วิวาททำร้ายร่างกาย: การไม่เข้าบทมาตรา 338(3) เมื่อฝ่ายหนึ่งไม่ได้รับบาดเจ็บ
ในกรณีสมัคร์ใจวิวาททำร้ายกัน ถ้าฝ่ายใดทำร้ายอีกฝ่าย 1 ไม่ถึงบาดเจ็บ ย่อมไม่มีผิดตาม ม.338 (3)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 697/2489

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ วิวาททำร้ายร่างกายไม่ถึงบาดเจ็บ ไม่ผิดตามมาตรา 338(3) หากเป็นการต่อสู้กันโดยสมัครใจ
ในกรณีสมัครใจวิวาททำร้ายกัน ถ้าฝ่ายใดทำร้ายอีกฝ่ายหนึ่งไม่ถึงบาดเจ็บ ย่อมไม่มีผิดตาม มาตรา 338(3)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 634/2486 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การถ่ายปัสสาวะรดผู้อื่นถือเป็นการใช้กำลังทำร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 338(3)
ถ่ายปัสสาวะรดเข่านั้น ย่อมถือได้ว่าเปนการไช้กำลังกะทำร้ายอันเปนผิดตามมาตรา 338(3)
อ้างดีกาที่ 1416,1417/2479

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 604/2480

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ความยินยอมในการวิวาท: ไม่เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 338(3)
สมัคร์ใจวิวาทต่อสู้กันไม่เป็นผิดตาม ม. 338(3)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 972/2478

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การวิวาทชกต่อยโดยไม่ถึงบาดเจ็บ ไม่เป็นความผิดตามมาตรา 338 ข้อ 3
ต่างสมัครใจเข้าวิวาทชกต่อยกันไม่ถึงบาดเจ็บ ไม่มีผิดตามมาตรา 338 ข้อ 3
มาตรา 338 ข้อ 3 เป็นบทลงโทษการทำร้ายโดยไม่มีการวิวาทต่อสู้กัน

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 306/2477

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ความหมายของคำว่า 'บังอาจ' ในความผิดอาญา มาตรา 338(3) และการทำร้ายร่างกายโดยสมัครใจ
คำว่า บังอาจ มีความหมายเพียงไร "บังอาจ" เป็นคำใช้เพื่อแสดงว่าไม่มีอำนาจทำได้ตามกฎหมายแม้ตามมาตรา 338 ข้อ 3 จะขาดคำว่าบังอาจก็หาทำให้ความประสงค์ผิดไปจากหลักกฎหมายทั่วไปไม่ แลเมื่อปรากฎว่าต่างสมัครใจทำร้ายกันก็อาจมีโทษตามมาตรานี้ได้
ฎีกาอุทธรณ์ ฟ้องมีมูลเป็นคดีอาชญาหรือไม่เป็นปัญหาข้อกฎหมาย วิธีพิจารณาอาชญา คำสั่งระวางพิจารณา การที่ศาลสูงพิจารณาคดีเสร็จสำนวนแล้วสั่งให้ศาลล่างทำอย่างไรต่อไปนั้นไม่ใช่คำสั่งระวางพิจารณาคู่ความย่อมอุทธรณ์ฎีกาได้