พบผลลัพธ์ทั้งหมด 3 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3015/2524 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องแย้งของจำเลยในคดีที่โจทก์เป็นชาวต่างชาติและฟ้องต่อศาลไทย ศาลอนุญาตฟ้องแย้งได้ตามมาตรา 7
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 4 (3) เป็นบทบัญญัติซึ่งใช้บังคับแก่การฟ้องเริ่มคดีต่อศาลไทยด้วยการฟ้องบุคคลผู้เป็นลูกหนี้ซึ่งมิได้มีภูมิลำเนาอยู่ในประเทศไทย
โจทก์ไม่มีภูมิลำเนาอยู่ในประเทศไทย ตั้งตัวแทนให้ฟ้องจำเลยต่อศาลไทยและตัวแทนโจทก์ได้ฟ้องจำเลยต่อศาลไทยแล้วจึงเป็นกรณีที่มีคดีค้างพิจารณาอยู่ในศาลไทยจำเลยให้การและฟ้องแย้งโจทก์ในขณะเดียวกันได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 7(1) ซึ่งเป็นบทบัญญัติยกเว้นมาตรา 4(3)
โจทก์ไม่มีภูมิลำเนาอยู่ในประเทศไทย ตั้งตัวแทนให้ฟ้องจำเลยต่อศาลไทยและตัวแทนโจทก์ได้ฟ้องจำเลยต่อศาลไทยแล้วจึงเป็นกรณีที่มีคดีค้างพิจารณาอยู่ในศาลไทยจำเลยให้การและฟ้องแย้งโจทก์ในขณะเดียวกันได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 7(1) ซึ่งเป็นบทบัญญัติยกเว้นมาตรา 4(3)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3015/2524
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องแย้งของจำเลยในคดีที่โจทก์เป็นชาวต่างชาติและฟ้องคดีในไทย: มาตรา 4(3) และ 7 วางหลักเกณฑ์
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 4(3) เป็นบทบัญญัติซึ่งใช้บังคับแก่การฟ้องเริ่มคดีต่อศาลไทยด้วยการฟ้องบุคคลผู้เป็นลูกหนี้ซึ่งมิได้มีภูมิลำเนาอยู่ในประเทศไทย
โจทก์ไม่มีภูมิลำเนาอยู่ในประเทศไทย ตั้งตัวแทนให้ฟ้องจำเลยต่อศาลไทยและตัวแทนโจทก์ได้ฟ้องจำเลยต่อศาลไทยแล้วจึงเป็นกรณีที่มีคดีค้างพิจารณาอยู่ในศาลไทยจำเลยให้การและฟ้องแย้งโจทก์ในขณะเดียวกันได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 7(1) ซึ่งเป็นบทบัญญัติยกเว้นมาตรา 4(3)
โจทก์ไม่มีภูมิลำเนาอยู่ในประเทศไทย ตั้งตัวแทนให้ฟ้องจำเลยต่อศาลไทยและตัวแทนโจทก์ได้ฟ้องจำเลยต่อศาลไทยแล้วจึงเป็นกรณีที่มีคดีค้างพิจารณาอยู่ในศาลไทยจำเลยให้การและฟ้องแย้งโจทก์ในขณะเดียวกันได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 7(1) ซึ่งเป็นบทบัญญัติยกเว้นมาตรา 4(3)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 29/2491 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การมีอาวุธปืน 9 มม. ไม่ผิดตามมาตรา 7 พ.ร.บ.อาวุธปืนฯ หากไม่ได้ห้ามไว้โดยชัดแจ้ง
มีอาวุธปืนพกธรรมดาขนาด 9 มม. โดยไม่ได้รับอนุญาต ซึ่งตามกฎกระทรวงมหาดไทยออกตามความในมาตรา 7 แห่ง พ.ร.บ. อาวุธปืนฯลฯ 2477 (ฉบับที่ 4) ข้อ 1(5) ห้ามมิให้ออกใบอนุญาตให้ทำ นำเข้ามา หรือสั่งอาวุธปืนชนิดนี้ มิได้กล่าวถึงการมีไว้และมิได้กล่าวระบุไว้ว่าเป็นอาวุธปืนชนิดอันต้องห้าม นั้นถือไม่ได้ว่าเป็นการกระทำฝ่าฝืนต่อมาตรา 7 ในส่วนที่ 2 หมวด 1 แห่ง พ.ร.บ.อาวุธปืนฯลฯ จะลงโทษตามมาตรา 54 ไม่ได้ คงผิดแต่เพียงมาตรา 52 เท่านั้น.
มีอาวุธปืนก่อนปี 2490 คดีอยู่ระหว่างพิจารณา และศาลฎีกาตัดสินเมื่อพ้นกำหนดผ่อนผันการจดทะเบียนตามมาตรา 86 แล้ว ย่อมลงโทษได้.
มีอาวุธปืนก่อนปี 2490 คดีอยู่ระหว่างพิจารณา และศาลฎีกาตัดสินเมื่อพ้นกำหนดผ่อนผันการจดทะเบียนตามมาตรา 86 แล้ว ย่อมลงโทษได้.