พบผลลัพธ์ทั้งหมด 5 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 773/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิรับมรดกของบุตรบุญธรรม: ไม่ใช่ผู้สืบสันดานโดยตรง จึงไม่มีสิทธิรับมรดกแทนที่
ผู้สืบสันดานโดยตรงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1643หมายถึงผู้สืบสันดานในทางสืบสายโลหิตโดยแท้จริง บุตรบุญธรรมนั้นกฎหมายถือว่าเป็นผู้สืบสันดานเหมือนกับบุตร ที่ชอบด้วยกฎหมาย มีสิทธิได้รับมรดกของผู้รับบุตรบุญธรรมแต่บุตรบุญธรรมหาใช่ผู้สืบสันดานโดยตรงของผู้รับบุตรบุญธรรมไม่ จึงไม่มีสิทธิรับมรดกแทนที่ผู้รับบุตรบุญธรรม (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 2/2528)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 135/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับมรดกแทนที่และการหมดสิทธิรับมรดกจากไม่เรียกร้องสิทธิภายในกำหนด
ค. ซึ่งเป็นบุตรเจ้ามรดกคนหนึ่งถึงแก่ความตายก่อนเจ้ามรดก ค. มีบุตรคือ จำเลยเป็นผู้สืบสันดาน จำเลยย่อมเป็นผู้รับมรดกแทนที่ ค.
จำเลยมิได้ครอบครองมรดกและมิได้เรียกร้องเอาภายใน 1 ปี ย่อมหมดสิทธิรับมรดก การที่บุตรของ ค. คนอื่นปลูกเรือนอยู่ในที่ดินมรดก หากเป็นความจริงก็เป็นสิทธิของผู้นั้น ส่วนจำเลยหมดสิทธิไปแล้ว จะคัดค้านขอรับมรดกด้วยหาได้ไม่
คดีพิพาทกันในระหว่างทายาทว่า จำเลยมีสิทธิขอแบ่งมรดกหรือไม่ โจทก์ก็ฟ้องเอาทรัพย์มรดกส่วนของ ค.1 ใน 3 ตามที่ถือกรรมสิทธิ์ร่วมกันในโฉนด ประเด็นในคดีจึงมีเฉพาะเรื่องทรัพย์มรดกของนางคลี่ มิได้พิพาทกับเจ้าของร่วมว่านางคลี่เจ้ามรดกหรือโจทก์มีกรรมสิทธิ์เกินหนึ่งในสามหรือตามอาณาเขตที่ครอบครอง ศาลจะพิพากษานอกฟ้องไม่ได้
จำเลยมิได้ครอบครองมรดกและมิได้เรียกร้องเอาภายใน 1 ปี ย่อมหมดสิทธิรับมรดก การที่บุตรของ ค. คนอื่นปลูกเรือนอยู่ในที่ดินมรดก หากเป็นความจริงก็เป็นสิทธิของผู้นั้น ส่วนจำเลยหมดสิทธิไปแล้ว จะคัดค้านขอรับมรดกด้วยหาได้ไม่
คดีพิพาทกันในระหว่างทายาทว่า จำเลยมีสิทธิขอแบ่งมรดกหรือไม่ โจทก์ก็ฟ้องเอาทรัพย์มรดกส่วนของ ค.1 ใน 3 ตามที่ถือกรรมสิทธิ์ร่วมกันในโฉนด ประเด็นในคดีจึงมีเฉพาะเรื่องทรัพย์มรดกของนางคลี่ มิได้พิพาทกับเจ้าของร่วมว่านางคลี่เจ้ามรดกหรือโจทก์มีกรรมสิทธิ์เกินหนึ่งในสามหรือตามอาณาเขตที่ครอบครอง ศาลจะพิพากษานอกฟ้องไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 135/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับมรดกแทนที่และการหมดสิทธิรับมรดกเนื่องจากไม่เรียกร้องภายใน 1 ปี
ค. ซึ่งเป็นบุตรเจ้ามรดกคนหนึ่งถึงแก่ความตายก่อนเจ้ามรดกค. มีบุตรคือจำเลยเป็นผู้สืบสันดาน จำเลยย่อมเป็นผู้รับมรดกแทนที่ ค.
จำเลยมิได้ครอบครองมรดกและมิได้เรียกร้องเอาภายใน 1 ปี ย่อมหมดสิทธิรับมรดก การที่บุตรของ ค. คนอื่นปลูกเรือนอยู่ในที่ดินมรดกหากเป็นความจริงก็เป็นสิทธิของผู้นั้นส่วนจำเลยหมดสิทธิไปแล้วจะคัดค้านขอรับมรดกด้วยหาได้ไม่
คดีพิพาทกันในระหว่างทายาทว่า จำเลยมีสิทธิขอแบ่งมรดกหรือไม่ โจทก์ก็ฟ้องเอาทรัพย์มรดกส่วนของ ค. 1 ใน 3 ตามที่ถือกรรมสิทธิ์ร่วมกันในโฉนด ประเด็นในคดีจึงมีเฉพาะเรื่องทรัพย์มรดกของนางคลี่ มิได้พิพาทกับเจ้าของร่วมว่านางคลี่เจ้ามรดกหรือโจทก์ มีกรรมสิทธิ์เกินหนึ่งในสามหรือตามอาณาเขตที่ครอบครอง ศาลจะพิพากษานอกฟ้องไม่ได้
จำเลยมิได้ครอบครองมรดกและมิได้เรียกร้องเอาภายใน 1 ปี ย่อมหมดสิทธิรับมรดก การที่บุตรของ ค. คนอื่นปลูกเรือนอยู่ในที่ดินมรดกหากเป็นความจริงก็เป็นสิทธิของผู้นั้นส่วนจำเลยหมดสิทธิไปแล้วจะคัดค้านขอรับมรดกด้วยหาได้ไม่
คดีพิพาทกันในระหว่างทายาทว่า จำเลยมีสิทธิขอแบ่งมรดกหรือไม่ โจทก์ก็ฟ้องเอาทรัพย์มรดกส่วนของ ค. 1 ใน 3 ตามที่ถือกรรมสิทธิ์ร่วมกันในโฉนด ประเด็นในคดีจึงมีเฉพาะเรื่องทรัพย์มรดกของนางคลี่ มิได้พิพาทกับเจ้าของร่วมว่านางคลี่เจ้ามรดกหรือโจทก์ มีกรรมสิทธิ์เกินหนึ่งในสามหรือตามอาณาเขตที่ครอบครอง ศาลจะพิพากษานอกฟ้องไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 619/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับมรดกแทนที่ของทายาทโดยธรรม และการสละมรดกแทนผู้เยาว์ต้องมีอนุมัติจากศาล
เมื่อเจ้ามรดกตาย ทรัพย์มรดกย่อมตกได้แก่ทายาทโดยธรรมของเจ้ามรดก เมื่อทายาทโดยธรรมคนใดคนหนึ่งตายก่อนเจ้ามรดก ส่วนมรดกที่ทายาทโดยธรรมจะได้รับย่อมตกทอดแก่ผู้สืบสันดานทุกคนของทายาทโดยธรรมนั้นในฐานะเป็นผู้รับมรดกแทนที่ ดังนั้น เมื่อทายาทโดยธรรมตาย มีผู้เอาชื่อผู้สืบสันดานคนหนึ่งใส่ลงในหน้าโฉนดเป็นผู้รับมรดกจึงหาทำให้ผู้สืบสันดานคนอื่น ๆ เสียสิทธิในการรับมรดกแทนที่ในที่ดินนั้นไปไม่
คำสั่งของผู้ตายให้ยกที่ดินให้แก่ใครคนหนึ่งนั้นมิใช่พินัยกรรม จึงหาลบล้างสิทธิของทายาทโดยธรรมหรือผู้รับมรดกแทนที่ของทายาทโดยธรรมนั้นไม่
การสละมรดกจะต้องแสดงเจตนาชัดแจ้งเป็นหนังสือมอบไว้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ หรือทำเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความ
การที่มารดาจะสละมรดกแทนผู้เยาว์ได้ จะต้องได้รับอนุมัติจากศาลก่อน
คำสั่งของผู้ตายให้ยกที่ดินให้แก่ใครคนหนึ่งนั้นมิใช่พินัยกรรม จึงหาลบล้างสิทธิของทายาทโดยธรรมหรือผู้รับมรดกแทนที่ของทายาทโดยธรรมนั้นไม่
การสละมรดกจะต้องแสดงเจตนาชัดแจ้งเป็นหนังสือมอบไว้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ หรือทำเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความ
การที่มารดาจะสละมรดกแทนผู้เยาว์ได้ จะต้องได้รับอนุมัติจากศาลก่อน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 944/2491 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิรับมรดกแทนที่ของญาติลำดับ 6 แม้ญาติลำดับเดียวกันจะได้รับมรดกไปแล้ว
ข.เป็นพี่น้องร่วมบิดามารดากับ ล. ซึ่งเป็นมารดาของเจ้ามฤดก ป.เป็นพี่น้องร่วมบิดาแต่ต่างมารดากับ ล. ดังนี้ ช. และ ป. ย่อมเป็นน้าและอาของเจ้ามฤดก ทั้ง ช. และ ป. ย่อมเป็นญาติลำกัด 6 ในมาตรา 1629 เช่นเดียวกัน
ญาติลำดับ 6 ในมาตรา 1629 นี้ กฎหมายไม่ได้แยกญาติชิดและห่าง ดังในลำดับ 3 และ 4.
ญาติลำดับ 6 ในมาตรา 1629 ย่อมรับมฤดกแทนที่กันได้ตามมาตรา 1639.
ญาติลำดับ 6 ในมาตรา 1629 นี้ กฎหมายไม่ได้แยกญาติชิดและห่าง ดังในลำดับ 3 และ 4.
ญาติลำดับ 6 ในมาตรา 1629 ย่อมรับมฤดกแทนที่กันได้ตามมาตรา 1639.