พบผลลัพธ์ทั้งหมด 7 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2594/2542 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณาคดีของผู้ป่วยจิตเภท: ขั้นตอนตาม ป.วิ.อ. มาตรา 14 และการตรวจสภาพจิต
ข้อเท็จจริงหรือเหตุที่ทำให้ศาลเชื่อหรือสงสัยว่าจำเลยเป็นผู้วิกลจริตและไม่สามารถต่อสู้คดีได้ อาจเป็นเพราะศาลสังเกตเห็นจากอากัปกิริยาของจำเลยเอง หรือมีผู้เสนอข้อเท็จจริงให้ศาลทราบก็ได้
ในวันที่พนักงานอัยการโจทก์ยื่นฟ้องจำเลยต่อศาลชั้นต้น ธ.น้องจำเลยยื่นคำร้องต่อศาลชั้นต้นพร้อมใบตรวจโรคของแพทย์โรงพยาบาลว่าจำเลยเป็นโรคจิตเภท มีอาการระแวง พูดจาวกวน จำเลยเป็นผู้ป่วยรักษาตัวที่โรงพยาบาลมาตั้งแต่ พ.ศ. 2530 โรงพยาบาลรับตัวจำเลยไว้รักษารวม 4 ครั้ง ครั้งสุดท้ายเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2540 ถึงวันที่ 16 ธันวาคม 2540 และหลังเกิดเหตุคดีนี้เพียง3 วัน โรงพยาบาลก็ได้รับตัวจำเลยไว้รักษาอีกครั้งหนึ่ง ครั้งนี้จำเลยมีอาการหงุดหงิดง่าย พูดและยิ้มคนเดียว โรงพยาบาลจำต้องดูแลรักษาต่อไปอย่างต่อเนื่องเพื่อไม่ให้อาการกำเริบยิ่งขึ้น ตามใบตรวจโรคของแพทย์เอกสารท้ายฎีกา ดังนี้เมื่อกรณีมีเหตุควรเชื่อในเบื้องต้นว่าจำเลยเป็นผู้วิกลจริตและไม่สามารถต่อสู้คดีได้ ศาลจึงชอบที่จะสั่งให้แพทย์ตรวจจำเลยโดยละเอียด แล้วเรียกแพทย์ผู้ตรวจมาให้ถ้อยคำต่อศาลหรือมาให้การว่าตรวจได้ผลประการใดคือวิกลจริตถึงขนาดไม่สามารถต่อสู้คดีได้หรือไม่เสียก่อน แล้วจึงพิจารณาพิพากษาคดีต่อไป การที่ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์มิได้พิจารณาคำร้องของ ธ.น้องจำเลยจึงเป็นการที่ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์พิจารณาและพิพากษาลงโทษจำเลยโดยไม่ปฏิบัติตามขั้นตอนของ ป.วิ.อ.มาตรา 14 ก่อน จึงไม่ชอบด้วยกระบวนพิจารณา ปัญหานี้เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้ไม่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ จำเลยก็ยกขึ้นฎีกาได้และศาลฎีกามีอำนาจตาม ป.วิ.อ.มาตรา 208 (2) ประกอบด้วยมาตรา 225สั่งให้ศาลชั้นต้นดำเนินกระบวนพิจารณาใหม่ให้ถูกต้องต่อไปได้และให้ศาลชั้นต้นส่งตัวจำเลยไปให้แพทย์โรงพยาบาลสมเด็จเจ้าพระยาหรือโรงพยาบาลอื่นที่ศาลชั้นต้นเห็นสมควร ตรวจสภาพจิตและเรียกแพทย์ผู้ตรวจจำเลยมาให้ถ้อยคำหรือให้การต่อศาลว่าตรวจได้ผลประการใด แล้วดำเนินการพิจารณาพิพากษาไปตาม ป.วิ.อ.มาตรา 14
ในวันที่พนักงานอัยการโจทก์ยื่นฟ้องจำเลยต่อศาลชั้นต้น ธ.น้องจำเลยยื่นคำร้องต่อศาลชั้นต้นพร้อมใบตรวจโรคของแพทย์โรงพยาบาลว่าจำเลยเป็นโรคจิตเภท มีอาการระแวง พูดจาวกวน จำเลยเป็นผู้ป่วยรักษาตัวที่โรงพยาบาลมาตั้งแต่ พ.ศ. 2530 โรงพยาบาลรับตัวจำเลยไว้รักษารวม 4 ครั้ง ครั้งสุดท้ายเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2540 ถึงวันที่ 16 ธันวาคม 2540 และหลังเกิดเหตุคดีนี้เพียง3 วัน โรงพยาบาลก็ได้รับตัวจำเลยไว้รักษาอีกครั้งหนึ่ง ครั้งนี้จำเลยมีอาการหงุดหงิดง่าย พูดและยิ้มคนเดียว โรงพยาบาลจำต้องดูแลรักษาต่อไปอย่างต่อเนื่องเพื่อไม่ให้อาการกำเริบยิ่งขึ้น ตามใบตรวจโรคของแพทย์เอกสารท้ายฎีกา ดังนี้เมื่อกรณีมีเหตุควรเชื่อในเบื้องต้นว่าจำเลยเป็นผู้วิกลจริตและไม่สามารถต่อสู้คดีได้ ศาลจึงชอบที่จะสั่งให้แพทย์ตรวจจำเลยโดยละเอียด แล้วเรียกแพทย์ผู้ตรวจมาให้ถ้อยคำต่อศาลหรือมาให้การว่าตรวจได้ผลประการใดคือวิกลจริตถึงขนาดไม่สามารถต่อสู้คดีได้หรือไม่เสียก่อน แล้วจึงพิจารณาพิพากษาคดีต่อไป การที่ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์มิได้พิจารณาคำร้องของ ธ.น้องจำเลยจึงเป็นการที่ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์พิจารณาและพิพากษาลงโทษจำเลยโดยไม่ปฏิบัติตามขั้นตอนของ ป.วิ.อ.มาตรา 14 ก่อน จึงไม่ชอบด้วยกระบวนพิจารณา ปัญหานี้เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้ไม่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ จำเลยก็ยกขึ้นฎีกาได้และศาลฎีกามีอำนาจตาม ป.วิ.อ.มาตรา 208 (2) ประกอบด้วยมาตรา 225สั่งให้ศาลชั้นต้นดำเนินกระบวนพิจารณาใหม่ให้ถูกต้องต่อไปได้และให้ศาลชั้นต้นส่งตัวจำเลยไปให้แพทย์โรงพยาบาลสมเด็จเจ้าพระยาหรือโรงพยาบาลอื่นที่ศาลชั้นต้นเห็นสมควร ตรวจสภาพจิตและเรียกแพทย์ผู้ตรวจจำเลยมาให้ถ้อยคำหรือให้การต่อศาลว่าตรวจได้ผลประการใด แล้วดำเนินการพิจารณาพิพากษาไปตาม ป.วิ.อ.มาตรา 14
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2594/2542 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณาคดีอาญาของผู้มีจิตบำบัด: ศาลต้องตรวจสอบสภาพจิตจำเลยก่อนพิพากษา
ข้อเท็จจริงหรือเหตุที่ทำให้ศาลเชื่อหรือสงสัยว่าจำเลยเป็นผู้วิกลจริตและไม่สามารถต่อสู้คดีได้ ศาลอาจสังเกตเห็นจากอากัปกิริยาของจำเลยเองหรือมีผู้เสนอข้อเท็จจริงให้ศาลทราบก็ได้ ในวันที่พนักงานอัยการโจทก์ยื่นฟ้องจำเลยต่อศาลชั้นต้นธ. น้องจำเลยยื่นคำร้องต่อศาลชั้นต้นพร้อมใบตรวจโรคของแพทย์โรงพยาบาลว่าจำเลยเป็นโรคจิตเภท มีอาการระแวงพูดจาวกวน จำเลยเป็นผู้ป่วยรักษาตัวที่โรงพยาบาลมาตั้งแต่พ.ศ. 2530 โรงพยาบาลรับตัวจำเลยไว้รักษารวม 4 ครั้งครั้งสุดท้ายเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2540 ถึงวันที่ 16 ธันวาคม 2540 และหลังเกิดเหตุคดีนี้เพียง 3 วัน โรงพยาบาล ก็ได้รับตัวจำเลยไว้รักษาอีกครั้งหนึ่งครั้งนี้จำเลยมีอาการ หงุดหงิด ง่าย พูดและยิ้มคนเดียว โรงพยาบาลจำต้องดูแลรักษา ต่อไปอย่างต่อเนื่องเพื่อไม่ให้อาการกำเริบยิ่งขึ้น ตามใบตรวจโรคของแพทย์เอกสารท้ายฎีกา ดังนี้เมื่อกรณี มีเหตุควรเชื่อในเบื้องต้นว่าจำเลยเป็นผู้วิกลจริตและ ไม่สามารถต่อสู้คดีได้ ศาลจึงชอบที่จะสั่งให้แพทย์ตรวจจำเลย โดยละเอียด แล้วเรียกแพทย์ผู้ตรวจมาให้ถ้อยคำต่อศาลหรือ มาให้การว่าตรวจได้ผลประการใดคือวิกลจริตถึงขนาดไม่สามารถต่อสู้คดีได้หรือไม่เสียก่อน แล้วจึงพิจารณาพิพากษาคดีต่อไปการที่ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์มิได้พิจารณาคำร้อง ของ ธ.น้องจำเลยจึงเป็นการที่ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์พิจารณาและ พิพากษาลงโทษจำเลยโดยไม่ปฏิบัติตามขั้นตอนของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 14 ก่อน จึงไม่ชอบด้วยกระบวนพิจารณา ปัญหานี้เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้ไม่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้นและ ศาลอุทธรณ์ จำเลยก็ยกขึ้นฎีกาได้และศาลฎีกามีอำนาจตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 208(2)ประกอบด้วยมาตรา 225 สั่งให้ศาลชั้นต้นดำเนินกระบวนพิจารณาใหม่ ให้ถูกต้องต่อไปได้และให้ศาลชั้นต้นส่งตัวจำเลยไปให้แพทย์ โรงพยาบาลตามที่ระบุในคำร้อง ของ ธ. หรือโรงพยาบาลอื่นที่ศาลชั้นต้นเห็นสมควรตรวจสภาพจิต และเรียกแพทย์ผู้ตรวจ จำเลยมาให้ถ้อยคำหรือให้การต่อศาลว่าตรวจได้ผลประการใด แล้วดำเนินการพิจารณาพิพากษาไปตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 14 ต่อไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2594/2542
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณาคดีอาญาของผู้มีจิตบำบัด: จำเป็นต้องตรวจสอบสภาพจิตก่อนพิพากษา
ข้อเท็จจริงหรือเหตุที่ทำให้ศาลเชื่อหรือสงสัยว่าจำเลย เป็นผู้วิกลจริตและไม่สามารถต่อสู้คดีได้ อาจเป็นเพราะศาลสังเกต เห็นจากอากัปกิริยาของจำเลยเอง หรือมีผู้เสนอข้อเท็จจริง ให้ศาลทราบก็ได้ ในวันที่พนักงานอัยการโจทก์ยื่นฟ้องจำเลยต่อศาลชั้นต้น ธ. น้องจำเลยยื่นคำร้องต่อศาลชั้นต้นพร้อมใบตรวจโรคของแพทย์โรงพยาบาลว่า จำเลยเป็นโรคจิตเภท มีอาการระแวง พูดจาวกวน โรงพยาบาลรับตัวจำเลยไว้รักษารวม 4 ครั้งและหลังเกิดเหตุคดีนี้เพียง 3 วัน โรงพยาบาลก็ได้รับตัว จำเลยไว้รักษาอีกครั้งหนึ่งครั้งนี้จำเลยมีอาการหงุดหงิด ง่าย พูดและยิ้มคนเดียว โรงพยาบาลจำต้องดูแลรักษาต่อไป อย่างต่อเนื่องเพื่อไม่ให้อาการกำเริบยิ่งขึ้น ดังนี้เมื่อ กรณีมีเหตุควรเชื่อในเบื้องต้นว่าจำเลยเป็นผู้วิกลจริตและไม่สามารถต่อสู้คดีได้ ศาลจึงชอบที่จะสั่งให้แพทย์ตรวจ จำเลยโดยละเอียด แล้วเรียกแพทย์ผู้ตรวจมาให้ถ้อยคำต่อศาล หรือมาให้การว่าจำเลยวิกลจริตถึงขนาดไม่สามารถต่อสู้ ได้หรือไม่เสียก่อน แล้วจึงพิจารณาพิพากษาคดีต่อไปการที่ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์มิได้พิจารณาคำร้องของธ. น้องจำเลยเป็นการที่ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์พิจารณาและพิพากษาลงโทษ จำเลยโดยไม่ปฏิบัติตามขั้นตอนของ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 14 ก่อน จึงไม่ชอบด้วยกระบวนพิจารณา ปัญหานี้เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย ของประชาชน จำเลยย่อมยกขึ้นฎีกาได้ และศาลฎีกา ย่อมมีอำนาจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 208(2)ประกอบด้วยมาตรา 225 สั่งให้ศาลชั้นต้นดำเนินกระบวนพิจารณาใหม่ให้ถูกต้อง โดยให้ศาลชั้นต้นส่งตัวจำเลยไป ให้แพทย์โรงพยาบาลสมเด็จเจ้าพระยาหรือโรงพยาบาลอื่นที่ศาลชั้นต้นเห็นสมควร ตรวจสภาพจิตและเรียกแพทย์ผู้ตรวจจำเลย มาให้ถ้อยคำหรือให้การต่อศาลว่าตรวจได้ผลประการใดแล้ว ดำเนินการพิจารณาพิพากษาไปตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 14
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1043/2536 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมปลอม: การพิสูจน์เจตนาทำพินัยกรรมและสภาพจิตของผู้ทำพินัยกรรม
คดีก่อน ก. เป็นผู้ร้องขอจัดการมรดก จำเลยในคดีนี้เป็นผู้คัดค้าน แม้คดีทั้งสองจะมีประเด็นวินิจฉัยเดียวกันว่าพินัยกรรมฉบับพิพาทเป็นพินัยกรรมปลอมหรือไม่ แต่โจทก์ในคดีนี้เป็นคนละคนกับผู้ร้องในคดีก่อน ฉะนั้นโจทก์คดีนี้จึงไม่ใช่คู่ความในคดีก่อน ฟ้องโจทก์คดีนี้จึงไม่เป็นฟ้องซ้ำ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2001/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การป้องกันตัวเกินสมควรแก่เหตุจากการลวนลามทางเพศ ศาลฎีกาพิจารณาจากพฤติการณ์และสภาพจิตของผู้กระทำ
จำเลยกับผู้ตายไม่มีสาเหตุโกรธเคืองกัน ผู้ตายเคยสู่ขอจำเลยเป็นภริยาแต่จำเลยไม่ตกลงด้วย ในวันเกิดเหตุผู้ตายเมาสุรามากได้หลอกลวงจำเลยว่าบุตรของจำเลยป่วยหนัก สามีจำเลยให้ผู้ตายมารับจำเลยจำเลยจึงยอมนั่งรถจักรยานยนต์ไปกับผู้ตาย เมื่อไปถึงที่เปลี่ยวผู้ตายลวนลามจำเลยด้วยการกอดปล้ำจำเลย จำเลยใช้มีดแทงผู้ตาย 1 ทีถูกที่อวัยวะสำคัญ ซึ่งขณะนั้นจำเลยอยู่ในสภาพแต่ง กายเรียบร้อยผู้ตายก็ยังนุ่งกางเกงอยู่ กรณียังไม่พอถือว่า เป็นภยันตรายที่ใกล้จะถึงสำหรับการจะถูกข่มขืนกระทำชำเรา เป็นภยันตรายที่ใกล้จะถึงเฉพาะ ที่ผู้ตายกระทำอนาจารเท่านั้นและจำเลยอาจกระทำการใด เพื่อป้องกันโดยไม่จำต้องให้ผู้ตายถึงตาย ก็ได้ การที่จำเลยใช้มีดแทงผู้ตายดังกล่าวจึงเป็นการป้องกันเกินสมควรกว่าเหตุ.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3472/2524 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจการถอนฟ้องของโจทก์ที่อ้างว่าเป็นบุคคลวิกลจริต: การคุ้มครองสิทธิและการไต่สวนเพื่อพิสูจน์สภาพจิต
โจทก์ฟ้องคดีโดยผู้ร้องซึ่งร้องขอเป็นผู้แทนเฉพาะคดีของโจทก์โดยอ้างว่าโจทก์เป็นคนวิกลจริต ก่อนวันนัดไต่สวนคำร้องขอเป็นผู้แทนเฉพาะคดี โจทก์แต่งทนายความมายื่นคำร้องขอถอนฟ้อง ดังนี้โจทก์ซึ่งถูกอ้างว่าเป็นบุคคลวิกลจริตและกฎหมายจะต้องให้ความคุ้มครอง ไม่มีอำนาจยื่นคำร้องขอถอนฟ้องที่ผู้ร้องกำลังขอเป็นผู้แทนเฉพาะคดีดำเนินการอยู่ ชอบที่ศาลจะต้องทำการไต่สวนว่าโจทก์เป็นบุคคลวิกลจริตหรือไม่แล้วมีคำสั่งต่อไป และเมื่อศาลชั้นต้นยังไม่ได้รับคำฟ้องของโจทก์ไว้พิจารณา จึงยังไม่มีคำฟ้องที่จะอนุญาตให้โจทก์ถอนได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 692/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
โมฆะภาพหนังสือมอบอำนาจและสัญญาให้ที่ดิน: สภาพจิตของผู้มอบอำนาจสำคัญกว่าการอ้างว่าเป็นมรดกของบิดา
โจทก์บรรยายฟ้องว่า ที่พิพาทเป็นมรดกของมารดา ขอให้ศาลสั่งทำลายหนังสือมอบอำนาจและเพิกถอนนิติกรรมสัญญาให้ที่พิพาทซึ่งทำตามหนังสือมอบอำนาจ เพราะหนังสือมอบอำนาจเป็นโมฆะ เนื่องจากมารดาพิมพ์ลายนิ้วมือขณะที่มีสติฟั่นเฟือนไม่รู้สึกผิดชอบ ดังนี้ โจทก์จะฎีกาว่าที่พิพาทเป็นมรดกของบิดา มารดาไม่มีสิทธิ์ยกที่พิพาทส่วนที่เป็นมรดกของบิดานั้นหาได้ไม่ เพราะเป็นฎีกานอกประเด็นจากที่กล่าวในฟ้อง ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้