พบผลลัพธ์ทั้งหมด 6 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2554/2539 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจจำหน่ายสินสมรส: สามีมีอำนาจจำหน่ายที่ดินซึ่งเป็นสินบริคณห์ได้โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากภริยา
โจทก์เป็นภริยาผ. จดทะเบียนสมรสกันเมื่อปี2510ผ.จดทะเบียนรับโอนมรดกที่ดินพิพาทเมื่อปี2513ที่ดินพิพาทจึงเป็นสินสมรสระหว่างโจทก์กับผ. และเป็นส่วนหนึ่งของสินบริคณห์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1466,1462วรรคสองเดิมที่ใช้บังคับอยู่ในขณะนั้นเมื่อไม่ปรากฏว่ามีสัญญาก่อนสมรสระหว่างโจทก์กับผ. ตกลงกันเป็นอย่างอื่นผ.จึงเป็นผู้มีอำนาจจัดการที่ดินพิพาทซึ่งรวมถึงการจำหน่ายที่ดินพิพาทด้วยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1468,1473วรรคหนึ่งเดิมแม้ภายหลังจะได้มีการประกาศใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์แล้วบรรพ5ที่แก้ไขใหม่ในปี2519พระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติบรรพ5แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ได้ตรวจชำระใหม่พ.ศ.2519มาตรา7ก็บัญญัติรับรองอำนาจจัดการสินสมรสของผ. ดังนั้นผ. เพียงผู้เดียวย่อมมีอำนาจจำหน่ายที่ดินพิพาทได้โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากโจทก์ผู้เป็นภริยา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2554/2539
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจจัดการสินสมรส: สามีมีอำนาจจำหน่ายที่ดินที่เป็นสินสมรสได้โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากภริยา
โจทก์เป็นภริยาผ. จดทะเบียนสมรสกันเมื่อปี2510ผ.จดทะเบียนรับโอนมรดกที่ดินพิพาทเมื่อปี2513ที่ดินพิพาทจึงเป็นสินสมรสระหว่างโจทก์กับผ. และเป็นส่วนหนึ่งของสินบริคณห์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1466,1462วรรคสองเดิมที่ใช้บังคับอยู่ในขณะนั้นเมื่อไม่ปรากฎว่ามีสัญญาก่อนสมรสระหว่างโจทก์กับผ. ตกลงกันเป็นอย่างอื่นผ. จึงเป็นผู้มีอำนาจจัดการที่ดินพิพาทซึ่งรวมถึงการจำหน่ายที่ดินพิพาทด้วยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1468,1473วรรคหนึ่งเดิมแม้ภายหลังจะได้มีการประกาศใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ5ที่แก้ไขใหม่ในปี2519พระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติบรรพ5แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ได้ตรวจชำระใหม่พ.ศ.2519มาตรา7ก็บัญญัติรับรองอำนาจจัดการสินสมรสของผ. ดังนั้นผ. เพียงผู้เดียวย่อมมีอำนาจจำหน่ายที่ดินพิพาทได้โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากโจทก์ผู้เป็นภริยา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 962/2520
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจจำหน่ายที่ดิน น.ส.3: สามีมีอำนาจจำหน่ายได้โดยลำพัง แม้ที่ดินมีชื่อทั้งสองสามีภรรยา
หนังสือรับรองการทำประโยชน์ (น.ส.3) ไม่เป็นเอกสารสำคัญที่จะแสดงว่าผู้มีชื่อในหนังสือนั้นมีกรรมสิทธิ์ตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1467 และ 1474 ฉะนั้นแม้จำเลยที่ 1 ที่ 2 เป็นสามีภรรยากันมีชื่อร่วมกันในหนังสือรับรองการทำประโยชน์ จำเลยที่ 1 สามีก็มีอำนาจจำหน่ายได้โดยลำพัง ไม่จำต้องให้จำเลยที่ 2 ภริยาเข้าชื่อเป็นผู้ขายด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1690/2505 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจจำหน่ายสินบริคณห์: ใบไต่สวนไม่ใช่เอกสารสำคัญแสดงกรรมสิทธิ์
ใบไต่สวน ตามประมวลกฎหมายที่ดินนั้น หาใช่เอกสารสำคัญที่จะแสดงว่าผู้มีชื่อในใบไต่สวนเป็นผู้มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินตามความหมายของคำว่าเอกสารสำคัญในประมวลกฎหมายแพ่งแลพาณิชยืไม่
ที่ดินไม่มีหนังสือสำคัญอันเป็นสินบริคณห์ระหว่างสามีภริยานั้น สามีในฐานะเป็นผู้จัดการสินบริคณห์ย่อมมีอำนาจที่จะจำหน่ายทรัย์สินนั้นได้โดยลำพังตนเอง
ที่ดินไม่มีหนังสือสำคัญอันเป็นสินบริคณห์ระหว่างสามีภริยานั้น สามีในฐานะเป็นผู้จัดการสินบริคณห์ย่อมมีอำนาจที่จะจำหน่ายทรัย์สินนั้นได้โดยลำพังตนเอง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1690/2505
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจจำหน่ายสินบริคณห์: ใบไต่สวนไม่ใช่เอกสารสำคัญแสดงกรรมสิทธิ์
ใบไต่สวนตามประมวลกฎหมายที่ดินนั้น หาใช่เอกสารสำคัญที่จะแสดงว่าผู้มีชื่อในใบไต่สวนเป็นผู้มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินตามความหมายของคำว่าเอกสารสำคัญในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ไม่
ที่ดินไม่มีหนังสือสำคัญอันเป็นสินบริคณห์ระหว่างสามีภริยานั้น สามีในฐานะเป็นผู้จัดการสินบริคณห์ย่อมมีอำนาจที่จะจำหน่ายทรัพย์สินนั้นได้โดยลำพังตนเอง
ที่ดินไม่มีหนังสือสำคัญอันเป็นสินบริคณห์ระหว่างสามีภริยานั้น สามีในฐานะเป็นผู้จัดการสินบริคณห์ย่อมมีอำนาจที่จะจำหน่ายทรัพย์สินนั้นได้โดยลำพังตนเอง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 11103/2558
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจจำหน่ายทรัพย์สินด้อยคุณภาพของบรรษัทบริหารสินทรัพย์ตาม พ.ร.ก. 2544 ชอบด้วยกฎหมาย แม้เป็นการดำเนินการเอง
ศาลชั้นต้นชี้สองสถานกำหนดประเด็นข้อพิพาทเพียงประเด็นเดียวว่า การที่จำเลยนำทรัพย์จำนองตามฟ้องออกขายทอดตลาดชอบด้วย พ.ร.ก. บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย พ.ศ.2544 หรือไม่ และจำเลยไม่ได้โต้แย้งว่า ศาลชั้นต้นกำหนดประเด็นข้อพิพาทไม่ถูกต้องหรือไม่ชอบอย่างไร คดีจึงไม่มีประเด็นเรื่องอำนาจฟ้อง ที่ศาลอุทธรณ์รับวินิจฉัยให้เป็นการไม่ชอบ ถือว่าเป็นข้อที่ไม่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วโดยชอบในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ ต้องห้ามฎีกาตาม ป.วิ.พ. มาตรา 249 วรรคหนึ่ง (เดิม) ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
จำเลยมีฐานะเป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่เป็นส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจตาม พ.ร.ก. บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย พ.ศ.2544 มาตรา 5 มีวัตถุประสงค์ในการบริหารสินทรัพย์ด้อยคุณภาพของสถาบันการเงินและบริษัทบริหารสินทรัพย์ พระราชกำหนดบรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย พ.ศ.2544 เป็นกฎหมายเกี่ยวกับการเงินที่ให้อำนาจแก่จำเลยเป็นพิเศษที่จะดำเนินการบริหารสินทรัพย์ด้อยคุณภาพที่รับโอนมาตามวิธีการที่กำหนดไว้ เพื่อประโยชน์แก่การฟื้นฟูเศรษฐกิจหรือความมั่นคงของประเทศ อันเป็นวัตถุประสงค์ที่ให้มีการจัดตั้งจำเลยขึ้น และจำเลยต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จในเวลาอันรวดเร็ว ดังนั้น หากจำเลยดำเนินการบังคับคดีตาม ป.วิ.พ. อาจไม่เสร็จทันเวลาตามที่กฎหมายกำหนด การที่จำเลยดำเนินการขายทอดตลาดทรัพย์จำนองที่ดินพิพาทที่เป็นหลักประกัน แล้วขอให้จดทะเบียนระงับจำนอง กับจดทะเบียนรับโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินพิพาทมาเป็นของจำเลยแทนการจำหน่าย จึงชอบด้วย พ.ร.ก. บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย พ.ศ.2544 แล้ว
จำเลยมีฐานะเป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่เป็นส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจตาม พ.ร.ก. บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย พ.ศ.2544 มาตรา 5 มีวัตถุประสงค์ในการบริหารสินทรัพย์ด้อยคุณภาพของสถาบันการเงินและบริษัทบริหารสินทรัพย์ พระราชกำหนดบรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย พ.ศ.2544 เป็นกฎหมายเกี่ยวกับการเงินที่ให้อำนาจแก่จำเลยเป็นพิเศษที่จะดำเนินการบริหารสินทรัพย์ด้อยคุณภาพที่รับโอนมาตามวิธีการที่กำหนดไว้ เพื่อประโยชน์แก่การฟื้นฟูเศรษฐกิจหรือความมั่นคงของประเทศ อันเป็นวัตถุประสงค์ที่ให้มีการจัดตั้งจำเลยขึ้น และจำเลยต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จในเวลาอันรวดเร็ว ดังนั้น หากจำเลยดำเนินการบังคับคดีตาม ป.วิ.พ. อาจไม่เสร็จทันเวลาตามที่กฎหมายกำหนด การที่จำเลยดำเนินการขายทอดตลาดทรัพย์จำนองที่ดินพิพาทที่เป็นหลักประกัน แล้วขอให้จดทะเบียนระงับจำนอง กับจดทะเบียนรับโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินพิพาทมาเป็นของจำเลยแทนการจำหน่าย จึงชอบด้วย พ.ร.ก. บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย พ.ศ.2544 แล้ว