คำพิพากษาที่อยู่ใน Tags
เงินทุนสะสม

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 7 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1558/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การจ่ายเงินทุนสะสมเมื่อเลิกจ้าง: ความเสียหายโดยตรงต่อธนาคารเป็นเหตุไม่ต้องจ่าย
ระเบียบของจำเลยว่าด้วยเงินทุนสะสม พ.ศ. 2520 ระบุว่าเมื่อพนักงานบุคคลใดออกจากธนาคาร ให้ธนาคารจ่ายเงินสะสมแก่พนักงานบุคคลนั้น เว้นแต่ในกรณีต้องออกจากงานตามคำสั่งของธนาคาร เพราะกระทำการทุจริตในหน้าที่หรือกระทำการประมาทเลินเล่อ หรือกระทำการอื่นใดเป็นเหตุให้ธนาคารต้องเสียหาย... หมายความว่าจำเลยจะไม่ต้องจ่ายเงินทุนสะสมให้แก่พนักงานถ้าพนักงานกระทำให้จำเลยได้รับความเสียหายโดยตรงต่อทรัพย์สินหรือชื่อเสียงของจำเลย การที่โจทก์ปลุกปล้ำทำอนาจาร อ. พนักงานในสำนักงานเดียวกัน แต่กระทำนอกสถานที่ทำงานเป็นการกระทำในเรื่องส่วนตัว และมิได้ทำให้จำเลยได้รับความเสียหาย ทั้งจะถือว่าการกระทำละเมิดต่อ อ. ดังกล่าวเป็นการทำละเมิดต่อจำเลยด้วยหาได้ไม่ โจทก์ไม่ได้ทำให้จำเลยได้รับความเสียหายตามความหมายของระเบียบดังกล่าวอันจะทำให้จำเลยไม่ต้องจ่ายเงินสะสมให้แก่โจทก์

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1558/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การจ่ายเงินทุนสะสมเมื่อออกจากงาน ต้องพิจารณาความเสียหายโดยตรงต่อธนาคารจากพฤติกรรมของลูกจ้าง
ระเบียบของจำเลยว่าด้วยเงินทุนสะสม พ.ศ. 2520 ระบุว่าเมื่อพนักงานบุคคลใดออกจากธนาคาร ให้ธนาคารจ่ายเงินทุนสะสมแก่พนักงานบุคคลนั้น เว้นแต่ในกรณีต้องออกจากงานตามคำสั่งของธนาคารเพราะกระทำการทุจริตในหน้าที่หรือกระทำการประมาทเลินเล่อหรือกระทำการอื่นใดเป็นเหตุให้ธนาคารต้องเสียหาย หมายความว่าจำเลยจะไม่ต้องจ่ายเงินทุนสะสมให้แก่พนักงานถ้าพนักงานกระทำให้จำเลยได้รับความเสียหายโดยตรงต่อทรัพย์สินหรือชื่อเสียงของจำเลยการที่โจทก์ปลุกปล้ำทำอนาจาร อ. พนักงานในสำนักงานเดียวกันแต่กระทำนอกสถานที่ทำงาน เป็นการกระทำในเรื่องส่วนตัวและมิได้ทำให้จำเลยได้รับความเสียหาย ทั้งจะถือว่าการกระทำละเมิดต่อ อ. ดังกล่าวเป็นการทำละเมิดต่อจำเลยด้วยหาได้ไม่ โจทก์ไม่ได้ทำให้จำเลยได้รับความเสียหายตามความหมายของระเบียบดังกล่าวอันจะทำให้จำเลยไม่ต้องจ่ายเงินทุนสะสมให้แก่โจทก์

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1558/2532

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การจ่ายเงินทุนสะสมของธนาคาร: เหตุไม่ต้องจ่ายเมื่อพนักงานกระทำละเมิดทำให้ธนาคารเสียหาย
ระเบียบของจำเลยว่าด้วยเงินทุนสะสม พ.ศ. 2520 ระบุว่าเมื่อพนักงานบุคคลใด ออกจากธนาคาร ให้ธนาคารจ่ายเงินสะสมแก่พนักงานบุคคลนั้น เว้นแต่ในกรณีต้อง ออกจากงานตาม คำสั่งของธนาคาร เพราะกระทำการทุจริตในหน้าที่หรือกระทำการประมาทเลินเล่อ หรือกระทำการอื่นใด เป็นเหตุให้ธนาคารต้อง เสียหาย... หมายความว่าจำเลยจะไม่ต้องจ่ายเงินทุนสะสมให้แก่พนักงานถ้า พนักงานกระทำให้จำเลยได้ รับความเสียหายโดยตรงต่อ ทรัพย์สินหรือชื่อเสียงของจำเลยการที่โจทก์ปลุกปล้ำทำอนาจาร อ. พนักงานในสำนักงานเดียวกันแต่ กระทำนอกสถานที่ทำงานเป็นการกระทำในเรื่องส่วนตัว และมิได้ทำให้จำเลยได้รับความเสียหาย ทั้งจะถือว่าการกระทำละเมิดต่อ อ.ดังกล่าวเป็นการทำละเมิดต่อ จำเลยด้วย หาได้ไม่ โจทก์ไม่ได้ทำให้จำเลยได้รับความเสียหายตาม ความหมายของระเบียบดังกล่าวอันจะทำให้จำเลยไม่ต้องจ่ายเงินสะสมให้แก่โจทก์.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5889/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ข้อตกลงการซื้อหุ้นโดยใช้เงินทุนสะสมของพนักงาน และเงื่อนไขการคืนหุ้นกรณีออกจากงานเนื่องจากทุจริต
เงินทุนสะสมไม่ใช่เงินที่หักจากเงินเดือนของโจทก์แต่เป็นเงินที่ธนาคาร ฯ จำเลยจ่ายเข้าบัญชีเงินทุนสะสมของโจทก์ตามระเบียบของธนาคาร ฯ ธนาคาร ฯ จำเลยให้โจทก์ซื้อหุ้นของธนาคาร ฯ จำเลยโดยนำเงินทุนสะสมของโจทก์ดังกล่าวชำระเป็นค่าหุ้นโดยมีข้อตกลงในหนังสือส่งมอบใบหุ้นว่าให้ธนาคาร ฯ จำเลยยึดใบหุ้นไว้จนกว่าโจทก์จะพ้นสภาพการเป็นพนักงาน และหากโจทก์ถูกออกจากงานเพราะทุจริตต่อหน้าที่แล้วโจทก์ไม่มีสิทธิได้รับใบหุ้น ยินยอมให้นำหุ้นทั้งหมดออกจำหน่ายเพื่อนำเงินคืนเงินทุนสะสม ดังนี้ ข้อตกลงดังกล่าวเป็นเงื่อนไขของการได้สิทธิในหุ้นประการหนึ่งที่มีผลใช้บังคับได้ หาเป็นการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนไม่

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5889/2530

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ข้อตกลงการซื้อหุ้นโดยใช้เงินทุนสะสมของพนักงาน และผลกระทบต่อสิทธิในหุ้นกรณีทุจริต
เงินทุนสะสมไม่ใช่เงินที่หักจากเงินเดือนของโจทก์แต่เป็นเงินที่ธนาคาร ฯ จำเลยจ่ายเข้าบัญชีเงินทุนสะสมของโจทก์ตามระเบียบของธนาคาร ฯ ธนาคาร ฯ จำเลยให้โจทก์ซื้อหุ้นของธนาคาร ฯ จำเลยโดยนำเงินทุนสะสมของโจทก์ดังกล่าวชำระเป็นค่าหุ้นโดยมีข้อตกลงในหนังสือส่งมอบใบหุ้นว่าให้ธนาคาร ฯ จำเลยยึดใบหุ้นไว้จนกว่าโจทก์จะพ้นสภาพการเป็นพนักงาน และหากโจทก์ถูกออกจากงานเพราะทุจริตต่อหน้าที่แล้วโจทก์ไม่มีสิทธิได้รับใบหุ้น ยินยอมให้นำหุ้นทั้งหมดออกจำหน่ายเพื่อนำเงินคืนเงินทุนสะสม ดังนี้ ข้อตกลงดังกล่าวเป็นเงื่อนไขของการได้สิทธิในหุ้นประการหนึ่งที่มีผลใช้บังคับได้ หาเป็นการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนไม่

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1920/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การหักเงินทุนสะสมเป็นค่าชดเชย: สิทธิของนายจ้างตามข้อบังคับ และการให้การไม่ชัดเจนของผู้ถูกฟ้อง
จำเลยให้การเพียงว่า ฟ้องโจทก์เคลือบคลุมเพราะไม่บรรยายฟ้องให้แจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหา ยากที่จำเลยจะให้การต่อสู้คดี เท่านั้น เป็นการให้การไม่แจ้งชัดว่าฟ้องโจทก์เคลือบคลุมไม่แจ้งชัดอย่างไร ถือได้ว่าไม่มีประเด็นแห่งคดีในข้อนี้
การที่จำเลยออกข้อบังคับว่าด้วยเงินทุนสะสม เป็นการให้ประโยชน์อื่นนอกเหนือไปจากค่าชดเชยซึ่งกฎหมายกำหนดให้นายจ้างต้องจ่ายแก่ลูกจ้าง จำเลยจึงย่อมจะกำหนดวิธีจ่ายเงินทุนสะสมได้ตามที่เห็นสมควร ดังนั้น เมื่อจำเลยออกข้อบังคับกำหนดสิทธิของจำเลยที่จะหักค่าชดเชยออกจากเงินทุนสะสมได้จึงไม่เป็นการขัดต่อกฎหมาย (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 2409/2525)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1920/2526

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ข้อบังคับเงินทุนสะสมและการหักค่าชดเชย นายจ้างมีสิทธิกำหนดวิธีการจ่ายเงินทุนสะสมได้
จำเลยให้การเพียงว่า ฟ้องโจทก์เคลือบคลุมเพราะไม่บรรยายฟ้องให้แจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหา ยากที่จำเลยจะให้การต่อสู้คดีเท่านั้น เป็นการให้การไม่แจ้งชัดว่าฟ้องโจทก์เคลือบคลุมไม่แจ้งชัดอย่างไร ถือได้ว่าไม่มีประเด็นแห่งคดีในข้อนี้ การที่จำเลยออกข้อบังคับว่าด้วยเงินทุนสะสม เป็นการให้ประโยชน์อื่นนอกเหนือไปจากค่าชดเชยซึ่งกฎหมายกำหนดให้นายจ้างต้องจ่ายแก่ลูกจ้าง จำเลยจึงย่อมจะกำหนดวิธีจ่ายเงินทุนสะสมได้ตามที่เห็นสมควร ดังนั้น เมื่อจำเลยออกข้อบังคับกำหนดสิทธิของจำเลยที่จะหักค่าชดเชยออกจากเงินทุนสะสมได้จึงไม่เป็นการขัดต่อกฎหมาย (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 2409/2525)