พบผลลัพธ์ทั้งหมด 23 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1254/2504
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฎีกาข้อเท็จจริง – เขตที่ดินพิพาท: การเปลี่ยนแปลงแนวเขตวัดที่ดินในชั้นฎีกา ถือเป็นการโต้แย้งข้อเท็จจริงที่รับกันไว้
การที่จำเลยเขียนฎีกาด้วยเจตนาเพื่อให้เห็นว่าเป็นข้อกฎหมาย แต่โดยเนื้อแท้ก็คือ กล่าวว่าศาลอุทธรณ์ไม่ถือเอาเขตตามที่จำเลยนำชี้ และเป็นการเถียงกับความจริงที่จำเลยได้แถลงรับไว้ คือ ในชั้นฎีกาจำเลยจะให้เริ่มวัดอีกทางหนึ่งเพื่อทิ้งด้านทิศเหนือไว้และหนังสือยกที่ดินให้จะได้กินถึงที่พิพาทนั้น ย่อมเป็นฎีกาในข้อเท็จจริง หาใช่ข้อกฎหมายไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 186/2499 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การคุ้มครองสัญญาเช่าเคหะ แม้มีการประกอบกิจการค้าเล็กน้อย พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าฯ ยังใช้บังคับ
ในคดีฎีกาได้เฉพาะแต่ปัญหาข้อ ก.ม.ศาลฎีกาจำต้องถือข้อเท็จจริงตามที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยมาจากพยานหลักฐานในห้องสำนวน
เมื่อปรากฏว่าจำเลยเช่าห้องโดยเจตนาเป็นที่อยู่อาศัยตั้งแต่แรก ซึ่งต่อมาได้ประกอบกิจการค้าบ้างเล็ก ๆ น้อย ๆ เป็นการชั่วคราวและต่อมาก็ได้เลิกกิจการค้าไปแล้ว ดังนี้ห้องเช่ารายพิพาทก็ยังคงถือว่าเป็น "เคหะ" อันพึงได้รับความคุ้มครองตาม พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า ฯ เจ้าของห้องหามีสิทธิฟ้องขับไล่ได้ไม่.
เมื่อปรากฏว่าจำเลยเช่าห้องโดยเจตนาเป็นที่อยู่อาศัยตั้งแต่แรก ซึ่งต่อมาได้ประกอบกิจการค้าบ้างเล็ก ๆ น้อย ๆ เป็นการชั่วคราวและต่อมาก็ได้เลิกกิจการค้าไปแล้ว ดังนี้ห้องเช่ารายพิพาทก็ยังคงถือว่าเป็น "เคหะ" อันพึงได้รับความคุ้มครองตาม พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า ฯ เจ้าของห้องหามีสิทธิฟ้องขับไล่ได้ไม่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 186/2499
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเช่าเพื่ออยู่อาศัยย่อมได้รับความคุ้มครองตาม พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า แม้มีการประกอบกิจการค้าเล็กน้อยเป็นครั้งคราว
ในคดีที่ฎีกาได้เฉพาะแต่ปัญหาข้อกฎหมายศาลฎีกาจำต้องถือข้อเท็จจริงตามที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยมาจากพยานหลักฐานในท้องสำนวน
เมื่อปรากฏว่าจำเลยเช่าห้องโดยเจตนาเป็นที่อยู่อาศัยตั้งแต่แรกซึ่งต่อมาได้ประกอบกิจการค้าบ้างเล็กๆ น้อยๆ เป็นการชั่วคราวและต่อมาก็ได้เลิกกิจการค้าไปแล้ว ดังนี้ห้องเช่ารายพิพาทก็ยังคงถือว่าเป็น 'เคหะ' อันพึงได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯเจ้าของห้องหามีสิทธิฟ้องขับไล่ได้ไม่
เมื่อปรากฏว่าจำเลยเช่าห้องโดยเจตนาเป็นที่อยู่อาศัยตั้งแต่แรกซึ่งต่อมาได้ประกอบกิจการค้าบ้างเล็กๆ น้อยๆ เป็นการชั่วคราวและต่อมาก็ได้เลิกกิจการค้าไปแล้ว ดังนี้ห้องเช่ารายพิพาทก็ยังคงถือว่าเป็น 'เคหะ' อันพึงได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯเจ้าของห้องหามีสิทธิฟ้องขับไล่ได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1752/2498
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเช่าเพื่อทำการค้า: เรือนพิพาทไม่ใช่เคหะตาม พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าฯ แม้มีอยู่อาศัยด้วย
คดีที่ฎีกาได้เฉพาะปัญหาข้อกฎหมายศาลฎีกาจะต้องฟังข้อเท็จจริงซึ่งยุติแล้วตามที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยมา
เมื่อเรือนพิพาทอยู่ในทำเลที่มีการค้าและเป็นสถานที่ซึ่งทำการติดต่อกับการค้าทั้งได้เคยทำการค้ามาก่อนกับจำเลยก็ได้เช่าไว้เพื่อทำการค้า ถึงแม้ว่าจำเลยและครอบครัวจะอยู่ด้วยก็อยู่เพื่อประกอบการค้านั่นเองดังนั้นเรือนพิพาทจึงมิใช่เคหะอันจะได้รับความคุ้มครองตาม พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯ
เมื่อฟังว่าจำเลยเช่าเรือนพิพาทเพื่อทำการค้าจริงๆ ดังสัญญาเช่าที่โจทก์อ้างประกอบฟ้องแล้ว ประเด็นเรื่องนิติกรรมอำพรางตามข้อต่อสู้ของจำเลยก็ย่อมตกไป
เมื่อเรือนพิพาทอยู่ในทำเลที่มีการค้าและเป็นสถานที่ซึ่งทำการติดต่อกับการค้าทั้งได้เคยทำการค้ามาก่อนกับจำเลยก็ได้เช่าไว้เพื่อทำการค้า ถึงแม้ว่าจำเลยและครอบครัวจะอยู่ด้วยก็อยู่เพื่อประกอบการค้านั่นเองดังนั้นเรือนพิพาทจึงมิใช่เคหะอันจะได้รับความคุ้มครองตาม พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯ
เมื่อฟังว่าจำเลยเช่าเรือนพิพาทเพื่อทำการค้าจริงๆ ดังสัญญาเช่าที่โจทก์อ้างประกอบฟ้องแล้ว ประเด็นเรื่องนิติกรรมอำพรางตามข้อต่อสู้ของจำเลยก็ย่อมตกไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1752/2498 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเช่าเพื่อทำการค้า มิใช่เคหะ: ศาลยืนตามข้อเท็จจริงที่ยุติว่าเรือนพิพาทเป็นที่ทำการค้า ไม่ได้รับความคุ้มครองตาม พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า
คดีที่ฎีกาได้เฉพาะปัญหาข้อกฎหมายศาลฎีกาจะต้องฟังข้อเท็จจริงซึ่งยุติแล้วตามที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยมา
เมื่อเรือนพิพาทอยู่ในทำเลที่มีการค้าและเป็นสถานที่ซึ่งทำการติดต่อกับการค้าทั้งได้เคยทำการค้ามาก่อนกับจำเลยก็ได้เช่าไว้เพื่อทำการค้า ถึงแม้ว่าจำเลยและครอบครัวจะอยู่ด้วยก็อยู่เพื่อประกอบการค้านั่นเองดังนั้นเรือนพิพาทจึงมิใช่เคหะอันจะได้รับความคุ้มครองตาม พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯ
เมื่อฟังว่าจำเลยเช่าเรือนพิพาทเพื่อทำการค้าจริงๆ ดังสัญญาเช่าที่โจทก์อ้างประกอบฟ้องแล้ว ประเด็นเรื่องนิติกรรมอำพรางตามข้อต่อสู้ของจำเลยก็ย่อมตกไป
เมื่อเรือนพิพาทอยู่ในทำเลที่มีการค้าและเป็นสถานที่ซึ่งทำการติดต่อกับการค้าทั้งได้เคยทำการค้ามาก่อนกับจำเลยก็ได้เช่าไว้เพื่อทำการค้า ถึงแม้ว่าจำเลยและครอบครัวจะอยู่ด้วยก็อยู่เพื่อประกอบการค้านั่นเองดังนั้นเรือนพิพาทจึงมิใช่เคหะอันจะได้รับความคุ้มครองตาม พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯ
เมื่อฟังว่าจำเลยเช่าเรือนพิพาทเพื่อทำการค้าจริงๆ ดังสัญญาเช่าที่โจทก์อ้างประกอบฟ้องแล้ว ประเด็นเรื่องนิติกรรมอำพรางตามข้อต่อสู้ของจำเลยก็ย่อมตกไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1752/2498 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเช่าเรือนพิพาทเพื่อค้า ยุติว่าไม่ใช่เคหะ พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าฯ ไม่คุ้มครอง และนิติกรรมอำพรางไม่มีผล
คดีที่ฎีกาได้เฉพาะปัญหาข้อ ก.ม.ศาลฎีกาจะต้องฟังข้อเท็จจริงซึ่งยุติแล้วตามที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยมา
เมื่อเริอนพิพาทอยู่ในทำเลที่มีการค้าและเป็นสถานที่ซึ่งทำการติดต่อกับกาค้าทั้งได้เคยทำการค้ามาก่อนกับจำเลยก็ได้เช่าไว้เพื่อทำการค้า ถึงแม้ว่าจำเลยและครอบครัวจะอยู่ด้วยก็อยู่เพื่อประกอบการค้านั่นเอง ดังนั้นเรือนพิพาทจึงมิใ่ช่เคหะอันจะได้รับความคุ้มครอง พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า ฯ
เมื่อฟังว่าจำเลยเช่าเรือนพิพาทเพื่อทำการค้าจริง ๆ ดังสัญญาเช่าที่โจทก์อ้างประกอบฟ้องแล้ว ประเด็นเรื่องนิติกรรมอำพรางตามข้อต่อสู้จำเลยก็ย่อมตกไป
เมื่อเริอนพิพาทอยู่ในทำเลที่มีการค้าและเป็นสถานที่ซึ่งทำการติดต่อกับกาค้าทั้งได้เคยทำการค้ามาก่อนกับจำเลยก็ได้เช่าไว้เพื่อทำการค้า ถึงแม้ว่าจำเลยและครอบครัวจะอยู่ด้วยก็อยู่เพื่อประกอบการค้านั่นเอง ดังนั้นเรือนพิพาทจึงมิใ่ช่เคหะอันจะได้รับความคุ้มครอง พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า ฯ
เมื่อฟังว่าจำเลยเช่าเรือนพิพาทเพื่อทำการค้าจริง ๆ ดังสัญญาเช่าที่โจทก์อ้างประกอบฟ้องแล้ว ประเด็นเรื่องนิติกรรมอำพรางตามข้อต่อสู้จำเลยก็ย่อมตกไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1500/2498
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเช่าเคหะเพื่ออยู่อาศัย vs. การค้า: เจตนาคู่สัญญาเป็นสำคัญ
คำว่า "เคหะ" อันจะได้รับความคุ้มครองตาม มาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2490 นั้น กฎหมาย ประสงค์จะคุ้มครองการเช่าอันใช้เป็นที่อยู่อาศัยเป็นหลัก กล่าวคือเมื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัยแล้ว ก็ไม่ต้องไปคำนึงถึงว่าจะใช้เป็นที่ประกอบธุรกิจการค้าหรืออุตสาหกรรมด้วยเป็นส่วนประธานหรืออุปกรณ์และในทางกลับกันจะเห็นได้ว่ากฎหมายมิได้มุ่งคุ้มครองการเช่าเพื่อประกอบกิจธุระการค้าหรืออุตสาหกรรมโดยคู่สัญญามิได้มีเจตนาใช้เป็นที่อยู่อาศัย
ในการที่จะพิจารณาว่าการเช่าที่ปลูกสร้างใดจะเข้าอยู่ในบังคับแห่ง พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯ ดังกล่าวแล้วหรือไม่จะถือเอาการปฏิบัติของผู้เช่าฝ่ายเดียวเป็นข้อวินิจฉัยหาพอไม่ ฉะนั้นการที่จะดูว่าผู้เช่าอาศัยอยู่ในเคหะนั้นหรือไม่แต่อย่างเดียว จึงยังไม่พอเพียงกับความประสงค์ของกฎหมายในการวินิจฉัยปัญหาเช่นว่านี้ จะต้องพิจารณาถึงเจตนาของคู่กรณีในเวลาที่ทำสัญญากันประกอบกับเหตุผลแวดล้อมอื่นๆ เช่นสภาพของสิ่งปลูกสร้าง อัตราค่าเช่าทำเลที่ตั้งของสิ่งปลูกสร้าง และการปฏิบัติของคู่สัญญาแต่ละฝ่ายเหล่านี้รวมกันว่า การเช่าสิ่งปลูกสร้างนั้นเพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัยหรือมิใช่
เรื่องเจตนาของฝ่ายจำเลยซึ่งเป็นผู้เช่าห้องพิพาทศาลอุทธรณ์ได้วินิจฉัยฟังข้อเท็จจริงมาแล้วว่าจำเลยมีเจตนาเช่าเพื่อการค้ามาแต่เดิมและได้ประกอบธุระกิจการค้าตั้งแต่เริ่มเช่าตลอดมาจนบัดนี้ซึ่งศาลฎีกาจะต้องฟังความโดย มาตรา 250ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
จำเลยมิได้ยกข้อต่อสู้เรื่องโจทก์ไม่ได้บอกเลิกสัญญาเช่ากับจำเลยไว้ในคำให้การ และเมื่อศาลชั้นต้นมีคำสั่งแสดงว่าประเด็นในคดีนี้มีเฉพาะเรื่องจำเลยเช่าเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยหรือประกอบการค้าจำเลยก็ได้หาโต้แย้งคัดค้านประการใดไม่ ต้องถือว่าคดีนี้ไม่มีประเด็นโต้เถียงอันจะต้องวินิจฉัยในเรื่องการบอกกล่าวแม้ศาลชั้นต้นจะได้วินิจฉัยความข้อนี้มาซึ่งเป็นเหตุให้จำเลยหยิบยกขึ้นอุทธรณ์ก็ตาม ศาลอุทธรณ์ย่อมทรงไว้ซึ่งอำนาจจะไม่วินิจฉัยให้โดยถือว่าคดีไม่มีประเด็นโต้เถียงกัน
ในการที่จะพิจารณาว่าการเช่าที่ปลูกสร้างใดจะเข้าอยู่ในบังคับแห่ง พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯ ดังกล่าวแล้วหรือไม่จะถือเอาการปฏิบัติของผู้เช่าฝ่ายเดียวเป็นข้อวินิจฉัยหาพอไม่ ฉะนั้นการที่จะดูว่าผู้เช่าอาศัยอยู่ในเคหะนั้นหรือไม่แต่อย่างเดียว จึงยังไม่พอเพียงกับความประสงค์ของกฎหมายในการวินิจฉัยปัญหาเช่นว่านี้ จะต้องพิจารณาถึงเจตนาของคู่กรณีในเวลาที่ทำสัญญากันประกอบกับเหตุผลแวดล้อมอื่นๆ เช่นสภาพของสิ่งปลูกสร้าง อัตราค่าเช่าทำเลที่ตั้งของสิ่งปลูกสร้าง และการปฏิบัติของคู่สัญญาแต่ละฝ่ายเหล่านี้รวมกันว่า การเช่าสิ่งปลูกสร้างนั้นเพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัยหรือมิใช่
เรื่องเจตนาของฝ่ายจำเลยซึ่งเป็นผู้เช่าห้องพิพาทศาลอุทธรณ์ได้วินิจฉัยฟังข้อเท็จจริงมาแล้วว่าจำเลยมีเจตนาเช่าเพื่อการค้ามาแต่เดิมและได้ประกอบธุระกิจการค้าตั้งแต่เริ่มเช่าตลอดมาจนบัดนี้ซึ่งศาลฎีกาจะต้องฟังความโดย มาตรา 250ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
จำเลยมิได้ยกข้อต่อสู้เรื่องโจทก์ไม่ได้บอกเลิกสัญญาเช่ากับจำเลยไว้ในคำให้การ และเมื่อศาลชั้นต้นมีคำสั่งแสดงว่าประเด็นในคดีนี้มีเฉพาะเรื่องจำเลยเช่าเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยหรือประกอบการค้าจำเลยก็ได้หาโต้แย้งคัดค้านประการใดไม่ ต้องถือว่าคดีนี้ไม่มีประเด็นโต้เถียงอันจะต้องวินิจฉัยในเรื่องการบอกกล่าวแม้ศาลชั้นต้นจะได้วินิจฉัยความข้อนี้มาซึ่งเป็นเหตุให้จำเลยหยิบยกขึ้นอุทธรณ์ก็ตาม ศาลอุทธรณ์ย่อมทรงไว้ซึ่งอำนาจจะไม่วินิจฉัยให้โดยถือว่าคดีไม่มีประเด็นโต้เถียงกัน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1500/2498 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเช่าเคหะเพื่ออยู่อาศัย vs. การค้า: เจตนาคู่สัญญาสำคัญกว่าการใช้ประโยชน์จริง
คำว่า "เคหะ" อันจะได้รับความคุ้มครองตาม ม.3 แห่ง พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า ฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2490 นั้น ก.ม.ประสงค์จะคุ้มครองการเช่าอันใช่เป็นที่อยู่อาศัยเป็นหลัก กล่าวคือเมื่อใช่เป็นที่อยู่อาศัยแล้วก็ไม่ต้องไปคำนึงถึงว่าจะใช้เป็นที่ประกอบธุระกิจการค้าหรืออุตสาหกรรมด้วยเป็นส่วนประธานหรืออุปกรณ์และในทางกลับกันจะเห็นได้ว่า ก.ม.มิได้มุ่งคุ้มครอบการเช่าเพื่อประกอบกิจธุระการค้าหรืออุตสาหกรรมโดยคู่สัญญามิได้มีเจตนาใช้เป็นที่อยู่อาศัย
ในการที่จะพิจารณาว่าการเช่าที่ปลูกสร้างใดจะเข้าอยู่ในบังคับแห่ง พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า ฯ ดังกล่าวแล้วหรือไม่จะถือเอาการปฏิบัติของผู้เช่าฝ่ายเดียวเป็นข้อวินิจฉัยหาพอไม่ ฉนั้นการที่จะดูว่าผู้เช่าอาศัยอยู่ในเคหะนั้นหรือไม่แต่อย่างเดียวจึงยังไม่พอเพียงกับความประสงค์ของ ก.ม.ในการวินิจฉัยปัญหาเช่นว่านี้ จะต้องพิจารณาถึงเจตนาของคู่กรณีในเวลาที่ทำสัญญากันประกอบกับเหตุผลแวดล้อมอื่น ๆ เช่นสภาพของสิ่งปลูกสร้าง อัตราค่าเช่าทำเลที่ตั้งของสิ่งปลูกสร้าง และการปฏิบัติของคู่สัญญาแต่ละฝ่ายเหล่านี้รวมกันว่า การเช่าสิ่งปลูกสร้างนั้นเพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัยหรือมิใช่
เรื่องเจตนาของฝ่ายจำเลยซึ่งเป็นผู้เช่าห้องพิพาทนี้ ศาลอุทธรณ์ได้วินิจฉัยฟังข้อเท็จจริงมาแล้วว่าจำเลยมีเจตนาเช่าเพื่อการค้ามาแต่เดิม และได้ประกอบธุริกิจการค้าตั้งแต่เริ่มเช่าตลอดมาจนบัดนี้ซึ่งศาลฎีกาจะต้องฟังความโดย ม. 250 ป. วิ.แพ่ง
จำเลยมิได้ยกข้อต่อสู้เรื่องโจทก์ไม่ได้บอกเลิกสัญญาเช่ากับจำเลยไว้ในค่าให้การและเมื่อศาลชั้นต้นมีคำสั่งแสดงว่าประเด็นในคดีนี้มีเฉพาะเรื่องจำเลยเช่าเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยหรือประกอบการค้าจำเลยก็ได้หาโต้แย้งคัดค้านประการใด ไม่ต้องถือว่าคดีนี้ไม่มีประเด็นโต้เถียงอันจะต้องวินิจฉัยในเรื่องการบอกกล่าวแม้ศาลชั้นต้นจะได้วินิจฉัยความข้อนี้มาซึ่งเป็นเหตุให้จำเลยหยิบยกขึ้นอุทธรณ์ก็ตาม ศาลอุทธรณ์ย่อมทรงไว้ซึ่งอำนาจจะไม่วินิจฉัยให้โดยถือว่าคดีไม่มีประเด็นโต้เถียงกัน
ในการที่จะพิจารณาว่าการเช่าที่ปลูกสร้างใดจะเข้าอยู่ในบังคับแห่ง พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า ฯ ดังกล่าวแล้วหรือไม่จะถือเอาการปฏิบัติของผู้เช่าฝ่ายเดียวเป็นข้อวินิจฉัยหาพอไม่ ฉนั้นการที่จะดูว่าผู้เช่าอาศัยอยู่ในเคหะนั้นหรือไม่แต่อย่างเดียวจึงยังไม่พอเพียงกับความประสงค์ของ ก.ม.ในการวินิจฉัยปัญหาเช่นว่านี้ จะต้องพิจารณาถึงเจตนาของคู่กรณีในเวลาที่ทำสัญญากันประกอบกับเหตุผลแวดล้อมอื่น ๆ เช่นสภาพของสิ่งปลูกสร้าง อัตราค่าเช่าทำเลที่ตั้งของสิ่งปลูกสร้าง และการปฏิบัติของคู่สัญญาแต่ละฝ่ายเหล่านี้รวมกันว่า การเช่าสิ่งปลูกสร้างนั้นเพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัยหรือมิใช่
เรื่องเจตนาของฝ่ายจำเลยซึ่งเป็นผู้เช่าห้องพิพาทนี้ ศาลอุทธรณ์ได้วินิจฉัยฟังข้อเท็จจริงมาแล้วว่าจำเลยมีเจตนาเช่าเพื่อการค้ามาแต่เดิม และได้ประกอบธุริกิจการค้าตั้งแต่เริ่มเช่าตลอดมาจนบัดนี้ซึ่งศาลฎีกาจะต้องฟังความโดย ม. 250 ป. วิ.แพ่ง
จำเลยมิได้ยกข้อต่อสู้เรื่องโจทก์ไม่ได้บอกเลิกสัญญาเช่ากับจำเลยไว้ในค่าให้การและเมื่อศาลชั้นต้นมีคำสั่งแสดงว่าประเด็นในคดีนี้มีเฉพาะเรื่องจำเลยเช่าเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยหรือประกอบการค้าจำเลยก็ได้หาโต้แย้งคัดค้านประการใด ไม่ต้องถือว่าคดีนี้ไม่มีประเด็นโต้เถียงอันจะต้องวินิจฉัยในเรื่องการบอกกล่าวแม้ศาลชั้นต้นจะได้วินิจฉัยความข้อนี้มาซึ่งเป็นเหตุให้จำเลยหยิบยกขึ้นอุทธรณ์ก็ตาม ศาลอุทธรณ์ย่อมทรงไว้ซึ่งอำนาจจะไม่วินิจฉัยให้โดยถือว่าคดีไม่มีประเด็นโต้เถียงกัน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1500/2498 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเช่าเคหะเพื่ออยู่อาศัย vs. การค้า เจตนาคู่สัญญาสำคัญกว่าการใช้งานจริง
คำว่า "เคหะ" อันจะได้รับความคุ้มครองตาม มาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2490 นั้น กฎหมาย ประสงค์จะคุ้มครองการเช่าอันใช้เป็นที่อยู่อาศัยเป็นหลัก กล่าวคือเมื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัยแล้ว ก็ไม่ต้องไปคำนึงถึงว่าจะใช้เป็นที่ประกอบธุรกิจการค้าหรืออุตสาหกรรมด้วยเป็นส่วนประธานหรืออุปกรณ์และในทางกลับกันจะเห็นได้ว่ากฎหมายมิได้มุ่งคุ้มครองการเช่าเพื่อประกอบกิจธุระการค้าหรืออุตสาหกรรมโดยคู่สัญญามิได้มีเจตนาใช้เป็นที่อยู่อาศัย
ในการที่จะพิจารณาว่าการเช่าที่ปลูกสร้างใดจะเข้าอยู่ในบังคับแห่ง พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯ ดังกล่าวแล้วหรือไม่จะถือเอาการปฏิบัติของผู้เช่าฝ่ายเดียวเป็นข้อวินิจฉัยหาพอไม่ ฉะนั้นการที่จะดูว่าผู้เช่าอาศัยอยู่ในเคหะนั้นหรือไม่แต่อย่างเดียว จึงยังไม่พอเพียงกับความประสงค์ของกฎหมายในการวินิจฉัยปัญหาเช่นว่านี้ จะต้องพิจารณาถึงเจตนาของคู่กรณีในเวลาที่ทำสัญญากันประกอบกับเหตุผลแวดล้อมอื่นๆ เช่นสภาพของสิ่งปลูกสร้าง อัตราค่าเช่าทำเลที่ตั้งของสิ่งปลูกสร้าง และการปฏิบัติของคู่สัญญาแต่ละฝ่ายเหล่านี้รวมกันว่า การเช่าสิ่งปลูกสร้างนั้นเพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัยหรือมิใช่
เรื่องเจตนาของฝ่ายจำเลยซึ่งเป็นผู้เช่าห้องพิพาทศาลอุทธรณ์ได้วินิจฉัยฟังข้อเท็จจริงมาแล้วว่าจำเลยมีเจตนาเช่าเพื่อการค้ามาแต่เดิมและได้ประกอบธุระกิจการค้าตั้งแต่เริ่มเช่าตลอดมาจนบัดนี้ซึ่งศาลฎีกาจะต้องฟังความโดย มาตรา 250ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
จำเลยมิได้ยกข้อต่อสู้เรื่องโจทก์ไม่ได้บอกเลิกสัญญาเช่ากับจำเลยไว้ในคำให้การ และเมื่อศาลชั้นต้นมีคำสั่งแสดงว่าประเด็นในคดีนี้มีเฉพาะเรื่องจำเลยเช่าเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยหรือประกอบการค้าจำเลยก็ได้หาโต้แย้งคัดค้านประการใดไม่ ต้องถือว่าคดีนี้ไม่มีประเด็นโต้เถียงอันจะต้องวินิจฉัยในเรื่องการบอกกล่าวแม้ศาลชั้นต้นจะได้วินิจฉัยความข้อนี้มาซึ่งเป็นเหตุให้จำเลยหยิบยกขึ้นอุทธรณ์ก็ตาม ศาลอุทธรณ์ย่อมทรงไว้ซึ่งอำนาจจะไม่วินิจฉัยให้โดยถือว่าคดีไม่มีประเด็นโต้เถียงกัน
ในการที่จะพิจารณาว่าการเช่าที่ปลูกสร้างใดจะเข้าอยู่ในบังคับแห่ง พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯ ดังกล่าวแล้วหรือไม่จะถือเอาการปฏิบัติของผู้เช่าฝ่ายเดียวเป็นข้อวินิจฉัยหาพอไม่ ฉะนั้นการที่จะดูว่าผู้เช่าอาศัยอยู่ในเคหะนั้นหรือไม่แต่อย่างเดียว จึงยังไม่พอเพียงกับความประสงค์ของกฎหมายในการวินิจฉัยปัญหาเช่นว่านี้ จะต้องพิจารณาถึงเจตนาของคู่กรณีในเวลาที่ทำสัญญากันประกอบกับเหตุผลแวดล้อมอื่นๆ เช่นสภาพของสิ่งปลูกสร้าง อัตราค่าเช่าทำเลที่ตั้งของสิ่งปลูกสร้าง และการปฏิบัติของคู่สัญญาแต่ละฝ่ายเหล่านี้รวมกันว่า การเช่าสิ่งปลูกสร้างนั้นเพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัยหรือมิใช่
เรื่องเจตนาของฝ่ายจำเลยซึ่งเป็นผู้เช่าห้องพิพาทศาลอุทธรณ์ได้วินิจฉัยฟังข้อเท็จจริงมาแล้วว่าจำเลยมีเจตนาเช่าเพื่อการค้ามาแต่เดิมและได้ประกอบธุระกิจการค้าตั้งแต่เริ่มเช่าตลอดมาจนบัดนี้ซึ่งศาลฎีกาจะต้องฟังความโดย มาตรา 250ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
จำเลยมิได้ยกข้อต่อสู้เรื่องโจทก์ไม่ได้บอกเลิกสัญญาเช่ากับจำเลยไว้ในคำให้การ และเมื่อศาลชั้นต้นมีคำสั่งแสดงว่าประเด็นในคดีนี้มีเฉพาะเรื่องจำเลยเช่าเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยหรือประกอบการค้าจำเลยก็ได้หาโต้แย้งคัดค้านประการใดไม่ ต้องถือว่าคดีนี้ไม่มีประเด็นโต้เถียงอันจะต้องวินิจฉัยในเรื่องการบอกกล่าวแม้ศาลชั้นต้นจะได้วินิจฉัยความข้อนี้มาซึ่งเป็นเหตุให้จำเลยหยิบยกขึ้นอุทธรณ์ก็ตาม ศาลอุทธรณ์ย่อมทรงไว้ซึ่งอำนาจจะไม่วินิจฉัยให้โดยถือว่าคดีไม่มีประเด็นโต้เถียงกัน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1056/2498 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คดีมโนสาเร่ ศาลอุทธรณ์ต้องยึดข้อเท็จจริงเดิมของศาลชั้นต้น หากไม่ยกเหตุว่าข้อเท็จจริงเดิมผิดกฎหมาย
คดีมโนสาเร่ซึ่งคู่ความอุทธรณ์ได้แต่เฉพาะปัญหาข้อกฎหมายนั้นศาลอุทธรณ์ต้องถือตามข้อเท็จจริงที่ศาลชั้นต้นได้วินิจฉัยจากพยานหลักฐานในสำนวน ฉะนั้นถ้าศาลอุทธรณ์กลับไปถือเอาข้อเท็จจริงอื่นที่ศาลชั้นต้นมิได้วินิจฉัยไว้โดยศาลอุทธรณ์มิได้ยกเหตุว่าการวินิจฉัยข้อเท็จจริงของศาลชั้นต้นผิดต่อ กฎหมายอย่างใดแล้ว และเมื่อปรากฏว่าศาลชั้นต้นได้วินิจฉัยข้อเท็จจริงจากพยานหลักฐานในสำนวนไม่เป็นการผิดต่อ กฎหมาย ศาลฎีกาก็จำต้องถือตามข้อเท็จจริงที่ศาลชั้นต้นได้วินิจฉัยมาในการวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมายมาสู่ศาลฎีกา