พบผลลัพธ์ทั้งหมด 10 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3610/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแบ่งสินสมรส: ศาลฎีกาชี้ว่าหากจำเลยไม่โต้เถียงราคาที่ดินตามฟ้องโจทก์ ศาลต้องใช้ราคาตามที่โจทก์ฟ้อง
โจทก์ฟ้องขอให้ศาลพิพากษาให้โจทก์จำเลยหย่าขาดจากการเป็นสามีภริยากันและขอแบ่งสินสมรสหลายรายการระหว่างพิจารณาของศาลชั้นต้น คู่ความแถลงตกลงกันในการแบ่งทรัพย์สินบางรายการ ศาลชั้นต้นวินิจฉัยชี้ขาดให้แบ่งทรัพย์สินที่ตกลงกันได้นั้นไปตามที่คู่ความตกลงกันส่วนรายการที่ตกลงกันไม่ได้ ศาลวินิจฉัยชี้ขาดไปตามพยานหลักฐานของคู่ความ ดังนี้ ศาลไม่อาจคืนค่าธรรมเนียมศาลให้โจทก์ได้ เพราะกรณีเช่นนี้ถือไม่ได้ว่าคดีได้เสร็จเด็ดขาดลงโดยสัญญาหรือการประนีประนอมยอมความที่จะทำให้ศาลมีอำนาจคืนค่าธรรมเนียมศาลทั้งหมดหรือแต่บางส่วนแก่คู่ความที่เกี่ยวข้องได้
การที่จะพิจารณาให้คู่ความใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งนั้น เป็นเรื่องการใช้ดุลพินิจของศาล โดยคำนึงถึงเหตุสมควรและความสุจริตในการดำเนินคดีของคู่ความ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161
โจทก์บรรยายฟ้องว่าที่ดินแปลงพิพาทซึ่งเป็นสินสมรสมีราคา 9 ล้านบาทขอให้จำเลยแบ่งให้โจทก์กึ่งหนึ่งเป็นเงิน 4.5 ล้านบาท จำเลยเพียงแต่ให้การปฏิเสธว่าที่ดินแปลงพิพาทไม่ใช่สินสมรส แต่ไม่ได้โต้เถียงในเรื่องราคาที่ดินและจำนวนเงินที่โจทก์เรียกร้อง จึงต้องฟังตามคำฟ้องของโจทก์ว่าที่ดินแปลงพิพาทมีราคา 9 ล้านบาท
การที่จะพิจารณาให้คู่ความใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งนั้น เป็นเรื่องการใช้ดุลพินิจของศาล โดยคำนึงถึงเหตุสมควรและความสุจริตในการดำเนินคดีของคู่ความ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161
โจทก์บรรยายฟ้องว่าที่ดินแปลงพิพาทซึ่งเป็นสินสมรสมีราคา 9 ล้านบาทขอให้จำเลยแบ่งให้โจทก์กึ่งหนึ่งเป็นเงิน 4.5 ล้านบาท จำเลยเพียงแต่ให้การปฏิเสธว่าที่ดินแปลงพิพาทไม่ใช่สินสมรส แต่ไม่ได้โต้เถียงในเรื่องราคาที่ดินและจำนวนเงินที่โจทก์เรียกร้อง จึงต้องฟังตามคำฟ้องของโจทก์ว่าที่ดินแปลงพิพาทมีราคา 9 ล้านบาท
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3610/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแบ่งสินสมรสหลังหย่า การวินิจฉัยราคาที่ดินตามฟ้อง และการใช้ดุลพินิจของศาลในการคืนค่าธรรมเนียม
โจทก์ฟ้องขอให้ศาลพิพากษาให้โจทก์จำเลยหย่าขาดจากการเป็นสามีภริยากันและขอแบ่งสินสมรสหลายรายการ ระหว่างพิจารณาของศาลชั้นต้น คู่ความแถลงตกลงกันในการแบ่งทรัพย์สินบางรายการ ศาลชั้นต้นวินิจฉัยชี้ขาดให้แบ่งทรัพย์สินที่ตกลงกันได้นั้นไปตามที่คู่ความตกลงกัน ส่วนรายการที่ตกลงกันไม่ได้ ศาลวินิจฉัยชี้ขาดไปตามพยานหลักฐานของคู่ความ ดังนี้ ศาลไม่อาจคืนค่าธรรมเนียมศาลให้โจทก์ได้ เพราะกรณีเช่นนี้ถือไม่ได้ว่าคดีได้เสร็จเด็ดขาดลงโดยสัญญาหรือการประนีประนอมยอมความที่จะทำให้ศาลมีอำนาจคืนค่าธรรมเนียมศาลทั้งหมดหรือแต่บางส่วนแก่คู่ความที่เกี่ยวข้องได้
การที่จะพิจารณาให้คู่ความใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งนั้น เป็นเรื่องการใช้ดุลพินิจของศาล โดยคำนึงถึงเหตุสมควรและความสุจริตในการดำเนินคดีของคู่ความ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161
โจทก์บรรยายฟ้องว่าที่ดินแปลงพิพาทซึ่งเป็นสินสมรสมีราคา 9 ล้านบาทขอให้จำเลยแบ่งให้โจทก์กึ่งหนึ่งเป็นเงิน 4.5 ล้านบาท จำเลยเพียงแต่ให้การปฏิเสธว่าที่ดินแปลงพิพาทไม่ใช่สินสมรส แต่ไม่ได้โต้เถียงในเรื่องราคาที่ดินและจำนวนเงินที่โจทก์เรียกร้อง จึงต้องฟังตามคำฟ้องของโจทก์ว่าที่ดินแปลงพิพาทมีราคา 9 ล้านบาท
การที่จะพิจารณาให้คู่ความใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งนั้น เป็นเรื่องการใช้ดุลพินิจของศาล โดยคำนึงถึงเหตุสมควรและความสุจริตในการดำเนินคดีของคู่ความ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161
โจทก์บรรยายฟ้องว่าที่ดินแปลงพิพาทซึ่งเป็นสินสมรสมีราคา 9 ล้านบาทขอให้จำเลยแบ่งให้โจทก์กึ่งหนึ่งเป็นเงิน 4.5 ล้านบาท จำเลยเพียงแต่ให้การปฏิเสธว่าที่ดินแปลงพิพาทไม่ใช่สินสมรส แต่ไม่ได้โต้เถียงในเรื่องราคาที่ดินและจำนวนเงินที่โจทก์เรียกร้อง จึงต้องฟังตามคำฟ้องของโจทก์ว่าที่ดินแปลงพิพาทมีราคา 9 ล้านบาท
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1848/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประนีประนอมยอมความต่อหน้าศาลมีผลผูกพันจำเลย แม้เกินคำขอในฟ้อง ค่าทนายตกลงกันได้
สัญญาประนีประนอมยอมความต่อหน้าศาลและศาลพิพากษาตามยอมนั้นมิใช่เป็นการวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาทอย่างคดีธรรมดาที่ต้องสืบพยานกันจึงไม่ตกอยู่ในบังคับแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142ซึ่งห้ามมิให้พิพากษาเกินคำขอหรือนอกจากที่ปรากฏในคำฟ้อง การที่คู่ความตกลงทำสัญญาประนีประนอมยอมความต่อหน้าศาลตามมาตรา 138 คงบังคับไว้แต่เพียงต้องตกลงกันในประเด็นแห่งคดี ซึ่งรวมถึงที่เกี่ยวเนื่องกับประเด็นด้วย ถ้านอกประเด็น ศาลก็ไม่มีหน้าที่ทำยอมให้ และเมื่อปรากฏชัดว่า ข้อตกลงตามสัญญาประนีประนอมยอมความไม่เป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมายหรือเห็นว่าชอบด้วยกฎหมายแล้ว. ก็ต้องพิพากษาคดีให้เสร็จไปตามยอมนั้น ไม่มีหน้าที่ต้องย้อนไปดูว่าเกินคำขอในฟ้องหรือไม่
ส่วนที่ทนายจำเลยตกลงยอมให้ค่าทนายโจทก์ 3,000 บาทเมื่อทนายจำเลยมีอำนาจทำสัญญาประนีประนอมยอมความกับฝ่ายโจทก์ได้ตามใบแต่งทนายจำเลย. จำเลยจะมาปฏิเสธไม่ยอมรับผิดชอบไม่ได้และกรณีเช่นนี้คู่ความจะตกลงค่าทนายความมากน้อยเท่าใดก็ได้เพราะเป็นเรื่องตกลงกันให้จำเลยรับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมอันได้แก่ค่าทนายความด้วย ไม่จำต้องถือตามบัญชีอัตราค่าทนายความตามตาราง 6 ท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง เพราะมิใช่เรื่องที่ศาลกำหนดค่าทนายความให้ฝ่ายแพ้ใช้แทน ข้อตกลงเกี่ยวกับค่าทนายความนี้ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 163 แล้ว
ส่วนที่ทนายจำเลยตกลงยอมให้ค่าทนายโจทก์ 3,000 บาทเมื่อทนายจำเลยมีอำนาจทำสัญญาประนีประนอมยอมความกับฝ่ายโจทก์ได้ตามใบแต่งทนายจำเลย. จำเลยจะมาปฏิเสธไม่ยอมรับผิดชอบไม่ได้และกรณีเช่นนี้คู่ความจะตกลงค่าทนายความมากน้อยเท่าใดก็ได้เพราะเป็นเรื่องตกลงกันให้จำเลยรับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมอันได้แก่ค่าทนายความด้วย ไม่จำต้องถือตามบัญชีอัตราค่าทนายความตามตาราง 6 ท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง เพราะมิใช่เรื่องที่ศาลกำหนดค่าทนายความให้ฝ่ายแพ้ใช้แทน ข้อตกลงเกี่ยวกับค่าทนายความนี้ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 163 แล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1848/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประนีประนอมยอมความต่อหน้าศาลมีผลผูกพัน ไม่ต้องติดข้อจำกัดคำขอในฟ้อง ค่าทนายตกลงกันได้
สัญญาประนีประนอมยอมความต่อหน้าศาลและศาลพิพากษาตามยอมนั้นมิใช่เป็นการวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาทอย่างคดีธรรมดาที่ต้องสืบพยานกันจึงไม่ตกอยู่ในบังคับแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142ซึ่งห้ามมิให้พิพากษาเกินคำขอหรือนอกจากที่ปรากฏในคำฟ้อง การที่คู่ความตกลงทำสัญญาประนีประนอมยอมความต่อหน้าศาลตามมาตรา 138คงบังคับไว้แต่เพียงต้องตกลงกันในประเด็นแห่งคดี ซึ่งรวมถึงที่เกี่ยวเนื่องกับประเด็นด้วย ถ้านอกประเด็น ศาลก็ไม่มีหน้าที่ทำยอมให้ และเมื่อปรากฏชัดว่า ข้อตกลงตามสัญญาประนีประนอมยอมความไม่เป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมาย หรือเห็นว่าชอบด้วยกฎหมายแล้ว. ก็ต้องพิพากษาคดีให้เสร็จไปตามยอมนั้น ไม่มีหน้าที่ต้องย้อนไปดูว่าเกินคำขอในฟ้องหรือไม่
ส่วนที่ทนายจำเลยตกลงยอมให้ค่าทนายโจทก์ 3,000 บาทเมื่อทนายจำเลยมีอำนาจทำสัญญาประนีประนอมยอมความกับฝ่ายโจทก์ได้ตามใบแต่งทนายจำเลย. จำเลยจะมาปฏิเสธไม่ยอมรับผิดชอบไม่ได้และกรณีเช่นนี้คู่ความจะตกลงค่าทนายความมากน้อยเท่าใดก็ได้เพราะเป็นเรื่องตกลงกันให้จำเลยรับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมอันได้แก่ค่าทนายความด้วย ไม่จำต้องถือตามบัญชีอัตราค่าทนายความตามตาราง 6 ท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง เพราะมิใช่เรื่องที่ศาลกำหนดค่าทนายความให้ฝ่ายแพ้ใช้แทน ข้อตกลงเกี่ยวกับค่าทนายความนี้ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 163 แล้ว
ส่วนที่ทนายจำเลยตกลงยอมให้ค่าทนายโจทก์ 3,000 บาทเมื่อทนายจำเลยมีอำนาจทำสัญญาประนีประนอมยอมความกับฝ่ายโจทก์ได้ตามใบแต่งทนายจำเลย. จำเลยจะมาปฏิเสธไม่ยอมรับผิดชอบไม่ได้และกรณีเช่นนี้คู่ความจะตกลงค่าทนายความมากน้อยเท่าใดก็ได้เพราะเป็นเรื่องตกลงกันให้จำเลยรับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมอันได้แก่ค่าทนายความด้วย ไม่จำต้องถือตามบัญชีอัตราค่าทนายความตามตาราง 6 ท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง เพราะมิใช่เรื่องที่ศาลกำหนดค่าทนายความให้ฝ่ายแพ้ใช้แทน ข้อตกลงเกี่ยวกับค่าทนายความนี้ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 163 แล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1355/2514
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มเติมชื่อจำเลยในฟ้องคดีอาญา ศาลอนุญาตได้หากไม่ทำให้จำเลยเสียเปรียบ
ในระหว่างสืบพยานโจทก์ โจทก์ยื่นคำร้องว่าฟ้องโจทก์หน้าแรกตรงข้อความว่า "ข้าพเจ้าพนักงานอัยการจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โจทก์ขอยื่นฟ้อง (1)... จำเลย" นั้น ยังมิได้เติมชื่อจำเลยลงไป ด้วยความพลั้งเผลอ จึงขอเติมชื่อจำเลยในช่องว่างเป็นว่า "นายดวง จิตชุ่ม"จำเลยนั้น เห็นว่าฟ้องของโจทก์ในช่อง คดีระหว่างใครโจทก์ ใครจำเลยนั้น โจทก์ได้ระบุชื่อ นายดวง จิตชุ่ม เป็นจำเลยไว้แล้ว เพียงแต่โจทก์พิมพ์ตกชื่อจำเลยในฟ้องหน้าแรก บรรทัดที่ 10 เท่านั้น ส่วนที่อยู่ ชาติและบังคับของจำเลยในบรรทัดต่อไปโจทก์ก็พิมพ์ไว้ครบถ้วน ทั้งในฟ้องหน้า 2 ตอนท้าย โจทก์ก็ได้ระบุว่าจำเลยต้องขังตามหมายขังของศาล ฟ้องของโจทก์จึงไม่มีทางที่จะให้เข้าใจผิดไปว่า โจทก์มิได้ฟ้องจำเลย จำเลยเองก็ดำเนินการต่อสู้คดีตลอดมาโดยมิได้หลงข้อต่อสู้แต่ประการใด การที่โจทก์ขอเพิ่มเติมฟ้องเช่นนี้ จึงเป็นการเพิ่มเติมรายละเอียดซึ่งมิได้กล่าวในฟ้องด้วยความพลั้งเผลอ และไม่ได้ทำให้จำเลยเสียเปรียบในการต่อสู้คดี สมควรอนุญาตให้โจทก์เพิ่มเติมฟ้องได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 163, 164
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1355/2514 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มเติมชื่อจำเลยในฟ้อง: ศาลอนุญาตได้หากไม่ทำให้จำเลยเสียเปรียบ
ในระหว่างสืบพยานโจทก์ โจทก์ยื่นคำร้องว่าฟ้องโจทก์หน้าแรกตรงข้อความว่า "ข้าพเจ้าพนักงานอัยการจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โจทก์ขอยื่นฟ้อง (1)... จำเลย" นั้น ยังมิได้เติมชื่อจำเลยลงไป ด้วยความพลั้งเผลอ จึงขอเติมชื่อจำเลยในช่องว่างเป็นว่า "นายดวง จิตชุ่ม" จำเลยนั้นเห็นว่าฟ้องของโจทก์ในช่องคดีระหว่างใครโจทก์ ใครจำเลยนั้น โจทก์ได้ระบุชื่อนายดวง จิตชุ่ม เป็นจำเลยไว้แล้ว เพียงแต่โจทก์พิมพ์ตกชื่อจำเลยในฟ้องหน้าแรก บรรทัดที่ 10 เท่านั้น ส่วนที่อยู่ ชาติและบังคับของจำเลยในบรรทัดต่อไปโจทก์ก็พิมพ์ไว้ครบถ้วน ทั้งในฟ้องหน้า 2 ตอนท้าย โจทก์ก็ได้ระบุว่าจำเลยต้องขังตามหมายขังของศาล ฟ้องของโจทก์จึงไม่มีทางที่จะให้เข้าใจผิดไปว่า โจทก์มิได้ฟ้องจำเลย จำเลยเองก็ดำเนินการต่อสู้คดีตลอดมาโดยมิได้หลงข้อต่อสู้แต่ประการใด การที่โจทก์ขอเพิ่มเติมฟ้องเช่นนี้ จึงเป็นการเพิ่มเติมรายละเอียดซึ่งมิได้กล่าวในฟ้องด้วยความพลั้งเผลอ และไม่ได้ทำให้จำเลยเสียเปรียบในการต่อสู้คดี สมควรอนุญาตให้โจทก์เพิ่มเติมฟ้องได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 163, 164
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 11-13/2503 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ภารจำยอมต้องเพื่อประโยชน์แก่ทรัพย์อื่น การฟ้องเคลือบคลุม และหน้าที่ของผู้เช่า
อสังหาริมทรัพย์อาจตกอยู่ในภาระจำยอม ก็เพื่อประโยชน์แก่อสังหาริมทรัพย์อื่นเท่านั้น จะอ้างว่าใช้ที่ดินนั้นเพื่อประโยชน์แก่การค้าน้ำแข็งหาได้ไม่
ผู้ที่ต้องยอมรับภารจำยอมคือ เจ้าของทรัพย์ จำเลยเป็นเพียงผู้เช่าที่ดินของวัด จำเลยย่อมไม่มีหน้าที่จะ ยกวัดเข้ามาเป็นจำเลย
โจทก์ฟ้องอ้างภาระจำยอม โดยกล่าวว่า โจทก์ได้ใช้ที่ดินนั้นเข้าออกเพื่อประโยชน์อื่น เช่นนี้ เป็นการฟ้องเคลือบคลุม ไม่แจ้งชัดว่าประโยชน์ใด โจทก์จะนำสืบมิได้ เพราะไม่แสดงโดยแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหาตาม ป.วิ.พ. มาตรา 172 วรรค 2
ประเด็นในคดีเป็นเรื่องเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยของโจทก์ภายหลังการกั้นรั้วของจำเลยหรือเพราะเหตุที่กั้นรั้วนั้น ว่าโจทก์ยังสุขสบายตามสมควรหรือไม่ เช่นนี้ ศาลไม่จำเป็นต้องสืบพยานถึงความสุขสบายของโจทก์ ตั้งแต่ครั้งที่จำเลยยังไม่กั้นรั้วและศาลยังไม่ไปเดินเผชิญสืบ
ผู้ที่ต้องยอมรับภารจำยอมคือ เจ้าของทรัพย์ จำเลยเป็นเพียงผู้เช่าที่ดินของวัด จำเลยย่อมไม่มีหน้าที่จะ ยกวัดเข้ามาเป็นจำเลย
โจทก์ฟ้องอ้างภาระจำยอม โดยกล่าวว่า โจทก์ได้ใช้ที่ดินนั้นเข้าออกเพื่อประโยชน์อื่น เช่นนี้ เป็นการฟ้องเคลือบคลุม ไม่แจ้งชัดว่าประโยชน์ใด โจทก์จะนำสืบมิได้ เพราะไม่แสดงโดยแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหาตาม ป.วิ.พ. มาตรา 172 วรรค 2
ประเด็นในคดีเป็นเรื่องเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยของโจทก์ภายหลังการกั้นรั้วของจำเลยหรือเพราะเหตุที่กั้นรั้วนั้น ว่าโจทก์ยังสุขสบายตามสมควรหรือไม่ เช่นนี้ ศาลไม่จำเป็นต้องสืบพยานถึงความสุขสบายของโจทก์ ตั้งแต่ครั้งที่จำเลยยังไม่กั้นรั้วและศาลยังไม่ไปเดินเผชิญสืบ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 542/2488
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแก้ฟ้องในคดีอาญา: การขอแก้สถานที่เกิดเหตุเป็นรายละเอียดที่ทำได้หากจำเลยไม่หลงข้อต่อสู้
การขอแก้สถานที่เกิดเหตุนั้น ถือว่าเป็นการขอแก้รายละเอียด ถ้าจำเลยไม่หลงข้อต่อสู้แล้วโจทก์ย่อมขอแก้ได้
การที่จำเลยเสียเปรียบในการแก้ฟ้องหรือไม่ในการดำเนินการพิจารณาในท้องสำนวนนั้นเป็นปัญหาข้อเท็จจริง แต่ถ้าศาลล่างตีความโดยอาศัยแต่ฉะเพาะตัวบทในวิธีพิจารณาอย่างเดียวย่อมเป็นปัญหาข้อกฎหมาย
การที่จำเลยเสียเปรียบในการแก้ฟ้องหรือไม่ในการดำเนินการพิจารณาในท้องสำนวนนั้นเป็นปัญหาข้อเท็จจริง แต่ถ้าศาลล่างตีความโดยอาศัยแต่ฉะเพาะตัวบทในวิธีพิจารณาอย่างเดียวย่อมเป็นปัญหาข้อกฎหมาย