พบผลลัพธ์ทั้งหมด 713 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1447/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประนีประนอมยอมความกับการสละสิทธิเรียกร้องมรดก: ผลกระทบต่อการจัดการมรดกของทายาท
ผู้ร้องกับบุตรผู้คัดค้านเป็นสามีภริยากันโดยไม่จดทะเบียนสมรส. เกิดบุตรด้วยกัน 1 คน. ซึ่งบิดาได้รับรองแล้ว. ต่อมาบุตรผู้คัดค้านและบุตรผู้ร้องถึงแก่ความตายวันเดียวกัน. โดยบุตรผู้คัดค้านตายก่อนผู้ร้องจึงร้องขอจัดการมรดกของบุตร. ซึ่งได้รับมรดกตกทอดมาจากบุตรผู้คัดค้าน. ไม่มีมรดกอื่นอีก. ผู้คัดค้านได้คัดค้านว่า. ผู้ร้องได้ทำสัญญาประนีประนอมยอมความกับผู้คัดค้านว่าจะไม่ยุ่งเกี่ยวกับทรัพย์มรดกของบุตรผู้คัดค้าน. โดยผู้คัดค้านได้จ่ายเงินจำนวนหนึ่งให้ผู้ร้องรับไปเสร็จสิ้นแล้ว. ดังนั้นหากฟังได้ตามคำคัดค้าน.ย่อมถือได้ว่า ผู้ร้องได้ยอมสละสิทธิที่จะไม่ยุ่งเกี่ยวหรือเรียกร้องทรัพย์สินใดๆเกี่ยวกับทรัพย์มรดกของบุตรผู้คัดค้าน. อันจะเป็นมรดกแก่บุตรผู้ร้อง. และตกทอดมายังผู้ร้อง. เมื่อผู้ร้องได้สละสิทธิดังกล่าวโดยได้รับเงินตอบแทนไปแล้ว. จึงเป็นอันว่ามรดกของบุตรผู้ร้องไม่มีแล้ว. แม้ผู้ร้องจะเป็นทายาทของบุตร. ตามพฤติการณ์ก็ไม่มีเหตุที่จะให้ศาลตั้งเพื่อประโยชน์แก่กองมรดกของบุตร.ซึ่งไม่มีจะให้จัดการอีกต่อไป. คำคัดค้านของผู้คัดค้านจึงไม่ใช่เรื่องนอกประเด็น.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1428-1429/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีเกี่ยวกับที่ราชพัสดุ: กระทรวงการคลังมีอำนาจฟ้องได้ แม้เป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน เนื่องจากพระบรมราชโองการและกฎหมายพิเศษ
ที่ดินซึ่งรัฐบาลซื้อจากเอกชนเพื่อสร้างสถานที่ราชการ และได้มีพระบรมราชโองการ ให้ขึ้นทะเบียนเป็นกรรมสิทธิ์ของกระทรวงการคลังแต่ครั้งสมัยสมบูรณาญาสิทธิราช ในทะเบียนที่ราชพัสดุมีหมายหตุไว้ในช่องใช้ราชการหรือจัดให้เช่าทำประโยชน์ว่าให้เช่าปลูกโรงชั่วคราว ที่ดินราชพัสดุซึ่งอยุ่ติดต่อกันได้ใช้ปลูกสร้างเป็นที่ทำการแขวงการทาง กรมธนารักษ์ในกระทรวงการคลังมอบให้สรรพากรจังหวัดเป็นผู้ดูแล แม้ที่ดินดังกล่าวจะยังมิได้ใช้ปลูกสร้างสถานที่ราชการ ก็เป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินซึ่งสงวนไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกันตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1304 ซึ่งมิใช่ที่ดินรกร้างว่างเปล่า
(วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 15/2512)
ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวงทบวงกรม พ.ศ. 2506 มาตรา 9 ซึ่งบัญญัติว่ากระทรวงการคลังมีอำนาจและหน้าที่เกี่ยวกับการเงินแผ่นดิน ภาษีอากร การรัษฎากร หรือกิจการเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์อันเป็นทรัพย์สินของแผ่นดิน นอกจากสาธารณสมบัติของแผ่นดิน นั้น หาได้ยกเว้นมิให้กระทรวงการคลังมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับสาธารณสมบัติของแผ่นดินทุกชนิดไม่
ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8 บัญญัติว่า บรรดาที่ดินทั้งหลายอันเป็นสาธารณะสมบัติของแผ่นดิน หรือเป็นทรัพย์สินของแผ่นดินนั้น ถ้าไม่มีกฎหมายกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น ให้อธิบดีมีอำนาจดูแลรักษาดำเนินการคุ้มครองป้องกันได้ตามควรแก่กรณี อำนาจหน้าที่ดังว่านี้ รัฐมนตรีจะมอบหมายให้ทบวงการเมืองอื่นเป็นผู้ใช้ก็ได้ แต่โดยที่ได้มีพระบรมราชโองการให้กระทรวการคลังมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินราชพัสุรายพิพาท และขึ้นทะเบียนไว้แล้วก่อนใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พระบรมราชโองการในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย่อมถือเป็นกฎหมายให้อำนาจกระทรวงการคลังเป็นผู้รับผิดชอบดูแลรักษา และดำเนินการคุ้มครองป้องกันที่ดินราชพัสดุ อธิบดีกรมที่ดินจึงไม่มีอำนาจ และเมื่อมีประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 8 วรรคท้าย บัญญัติว่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการมหาดไทยมีอำนาจที่จะจัดขึ้นทะเบียนเป็นทบวงการเมืองได้ กระทรวงการคลังก็คงใช้อำนาจครอบครองที่ราชพัสดุอยู่เช่นเดิม โดยมิได้มีการเปลี่ยนแปลง ย่อมถือได้ว่ารัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยได้จัดให้ที่พิพาทขึ้นทะเบียนเป็นของกระทรวงการคลังแล้วโดยอนุโลม พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวงทบวงกรมเป็นกฎหมายทั่วไปที่กำหนดอำนาจหน้าที่บริหารราชการแผ่นดินตามกฎหมายของกระทรวงและทบวงการเมืองต่างๆ ย่อมไม่ลบล้างอำนาจของกระทรวงการคลังซึ่งได้ตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8 วรรคท้าย อันเป็นกฎหมายพิเศษ เพราะกฎหมายพิเศษย่อมยกเว้นกฎหมายทั่วไป กระทรวงการคลังจึงมีอำนาจฟ้องเกี่ยวกับที่ราชพัสดุรายพิพาทได้ (อ้างคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1159/2511)
สาธารณสมบัติของแผ่นดินนั้น ผู้ใดจะยกอายุความขึ้นเป็นข้อต่อสู้กับแผ่นดินหาได้ไม่
(วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 15/2512)
ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวงทบวงกรม พ.ศ. 2506 มาตรา 9 ซึ่งบัญญัติว่ากระทรวงการคลังมีอำนาจและหน้าที่เกี่ยวกับการเงินแผ่นดิน ภาษีอากร การรัษฎากร หรือกิจการเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์อันเป็นทรัพย์สินของแผ่นดิน นอกจากสาธารณสมบัติของแผ่นดิน นั้น หาได้ยกเว้นมิให้กระทรวงการคลังมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับสาธารณสมบัติของแผ่นดินทุกชนิดไม่
ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8 บัญญัติว่า บรรดาที่ดินทั้งหลายอันเป็นสาธารณะสมบัติของแผ่นดิน หรือเป็นทรัพย์สินของแผ่นดินนั้น ถ้าไม่มีกฎหมายกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น ให้อธิบดีมีอำนาจดูแลรักษาดำเนินการคุ้มครองป้องกันได้ตามควรแก่กรณี อำนาจหน้าที่ดังว่านี้ รัฐมนตรีจะมอบหมายให้ทบวงการเมืองอื่นเป็นผู้ใช้ก็ได้ แต่โดยที่ได้มีพระบรมราชโองการให้กระทรวการคลังมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินราชพัสุรายพิพาท และขึ้นทะเบียนไว้แล้วก่อนใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พระบรมราชโองการในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย่อมถือเป็นกฎหมายให้อำนาจกระทรวงการคลังเป็นผู้รับผิดชอบดูแลรักษา และดำเนินการคุ้มครองป้องกันที่ดินราชพัสดุ อธิบดีกรมที่ดินจึงไม่มีอำนาจ และเมื่อมีประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 8 วรรคท้าย บัญญัติว่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการมหาดไทยมีอำนาจที่จะจัดขึ้นทะเบียนเป็นทบวงการเมืองได้ กระทรวงการคลังก็คงใช้อำนาจครอบครองที่ราชพัสดุอยู่เช่นเดิม โดยมิได้มีการเปลี่ยนแปลง ย่อมถือได้ว่ารัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยได้จัดให้ที่พิพาทขึ้นทะเบียนเป็นของกระทรวงการคลังแล้วโดยอนุโลม พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวงทบวงกรมเป็นกฎหมายทั่วไปที่กำหนดอำนาจหน้าที่บริหารราชการแผ่นดินตามกฎหมายของกระทรวงและทบวงการเมืองต่างๆ ย่อมไม่ลบล้างอำนาจของกระทรวงการคลังซึ่งได้ตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8 วรรคท้าย อันเป็นกฎหมายพิเศษ เพราะกฎหมายพิเศษย่อมยกเว้นกฎหมายทั่วไป กระทรวงการคลังจึงมีอำนาจฟ้องเกี่ยวกับที่ราชพัสดุรายพิพาทได้ (อ้างคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1159/2511)
สาธารณสมบัติของแผ่นดินนั้น ผู้ใดจะยกอายุความขึ้นเป็นข้อต่อสู้กับแผ่นดินหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1428-1429/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีเกี่ยวกับที่ราชพัสดุ: กระทรวงการคลังมีอำนาจฟ้องได้ แม้มีกฎหมายเฉพาะอื่น
ที่ดินซึ่งรัฐบาลซื้อจากเอกชนเพื่อสร้างสถานที่ราชการ และได้มีพระบรมราชโองการให้ขึ้นทะเบียนเป็นกรรมสิทธิ์ของกระทรวงการคลังแต่ครั้งสมัยสมบูรณาญาสิทธิราช ในทะเบียนที่ราชพัสดุมีหมายเหตุไว้ในช่องใช้ราชการหรือจัดให้เช่าทำประโยชน์ว่าให้เช่าปลูกโรงชั่วคราว ที่ดินราชพัสดุซึ่งอยู่ติดต่อกันได้ใช้ปลูกสร้างเป็นที่ทำการแขวงการทางกรมธนารักษ์ในกระทรวงการคลังมอบให้สรรพากรจังหวัดเป็นผู้ดูแลแม้ที่ดินดังกล่าวจะยังมิได้ใช้ปลูกสร้างสถานที่ราชการ ก็เป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินซึ่งสงวนไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกันตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1304 ซึ่งมิใช่ที่ดินรกร้างว่างเปล่า (วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 15/2512)
ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวงทบวงกรม พ.ศ.2506 มาตรา 9 ซึ่งบัญญัติว่า กระทรวงการคลังมีอำนาจและหน้าที่เกี่ยวกับการเงินแผ่นดิน ภาษีอากร การรัษฎากร หรือกิจการเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์อันเป็นทรัพย์สินของแผ่นดิน นอกจากสาธารณสมบัติของแผ่นดินนั้น หาได้ยกเว้นมิให้กระทรวงการคลังมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับสาธารณสมบัติของแผ่นดินทุกชนิดไม่
ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8 บัญญัติว่า บรรดาที่ดินทั้งหลายอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน หรือเป็นทรัพย์สินของแผ่นดินนั้น ถ้าไม่มีกฎหมายกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น ให้อธิบดีมีอำนาจดูแลรักษาดำเนินการคุ้มครองป้องกันได้ตามควรแก่กรณี อำนาจหน้าที่ดังว่านี้รัฐมนตรีจะมอบหมายให้ทบวงการเมืองอื่นเป็นผู้ใช้ก็ได้แต่โดยที่ได้มีพระบรมราชโองการให้กระทรวงการคลังมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินราชพัสดุรายพิพาท และขึ้นทะเบียนไว้แล้วก่อนใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พระบรมราชโองการในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย่อมถือเป็นกฎหมายให้อำนาจกระทรวงการคลังเป็นผู้รับผิดชอบดูแลรักษาและดำเนินการคุ้มครองป้องกันที่ราชพัสดุ อธิบดีกรมที่ดินจึงไม่มีอำนาจ และเมื่อมีประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 8 วรรคท้าย บัญญัติว่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมีอำนาจที่จะจัดขึ้นทะเบียนเป็นของทบวงการเมืองได้กระทรวงการคลังก็คงใช้อำนาจครอบครองที่ราชพัสดุอยู่เช่นเดิม โดยมิได้มีการเปลี่ยนแปลง ย่อมถือได้ว่ารัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยได้จัดให้ที่พิพาทขึ้นทะเบียนเป็นของกระทรวงการคลังแล้วโดยอนุโลม พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวงทบวงกรมเป็นกฎหมายทั่วไปที่กำหนดอำนาจและหน้าที่บริหารราชการแผ่นดินตามกฎหมายของกระทรวงและทบวงการเมืองต่างๆ ย่อมไม่ลบล้างอำนาจของกระทรวงการคลังซึ่งได้ตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8 วรรคท้าย อันเป็นกฎหมายพิเศษ เพราะกฎหมายพิเศษย่อมยกเว้นกฎหมายทั่วไป กระทรวงการคลังจึงมีอำนาจฟ้องเกี่ยวกับที่ราชพัสดุรายพิพาทได้ (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 1149/2511)
สาธารณสมบัติของแผ่นดินนั้น ผู้ใดจะยกอายุความขึ้นเป็นข้อต่อสู้กับแผ่นดินหาได้ไม่
ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวงทบวงกรม พ.ศ.2506 มาตรา 9 ซึ่งบัญญัติว่า กระทรวงการคลังมีอำนาจและหน้าที่เกี่ยวกับการเงินแผ่นดิน ภาษีอากร การรัษฎากร หรือกิจการเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์อันเป็นทรัพย์สินของแผ่นดิน นอกจากสาธารณสมบัติของแผ่นดินนั้น หาได้ยกเว้นมิให้กระทรวงการคลังมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับสาธารณสมบัติของแผ่นดินทุกชนิดไม่
ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8 บัญญัติว่า บรรดาที่ดินทั้งหลายอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน หรือเป็นทรัพย์สินของแผ่นดินนั้น ถ้าไม่มีกฎหมายกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น ให้อธิบดีมีอำนาจดูแลรักษาดำเนินการคุ้มครองป้องกันได้ตามควรแก่กรณี อำนาจหน้าที่ดังว่านี้รัฐมนตรีจะมอบหมายให้ทบวงการเมืองอื่นเป็นผู้ใช้ก็ได้แต่โดยที่ได้มีพระบรมราชโองการให้กระทรวงการคลังมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินราชพัสดุรายพิพาท และขึ้นทะเบียนไว้แล้วก่อนใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พระบรมราชโองการในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย่อมถือเป็นกฎหมายให้อำนาจกระทรวงการคลังเป็นผู้รับผิดชอบดูแลรักษาและดำเนินการคุ้มครองป้องกันที่ราชพัสดุ อธิบดีกรมที่ดินจึงไม่มีอำนาจ และเมื่อมีประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 8 วรรคท้าย บัญญัติว่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมีอำนาจที่จะจัดขึ้นทะเบียนเป็นของทบวงการเมืองได้กระทรวงการคลังก็คงใช้อำนาจครอบครองที่ราชพัสดุอยู่เช่นเดิม โดยมิได้มีการเปลี่ยนแปลง ย่อมถือได้ว่ารัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยได้จัดให้ที่พิพาทขึ้นทะเบียนเป็นของกระทรวงการคลังแล้วโดยอนุโลม พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวงทบวงกรมเป็นกฎหมายทั่วไปที่กำหนดอำนาจและหน้าที่บริหารราชการแผ่นดินตามกฎหมายของกระทรวงและทบวงการเมืองต่างๆ ย่อมไม่ลบล้างอำนาจของกระทรวงการคลังซึ่งได้ตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8 วรรคท้าย อันเป็นกฎหมายพิเศษ เพราะกฎหมายพิเศษย่อมยกเว้นกฎหมายทั่วไป กระทรวงการคลังจึงมีอำนาจฟ้องเกี่ยวกับที่ราชพัสดุรายพิพาทได้ (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 1149/2511)
สาธารณสมบัติของแผ่นดินนั้น ผู้ใดจะยกอายุความขึ้นเป็นข้อต่อสู้กับแผ่นดินหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1428-1429/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีเกี่ยวกับที่ราชพัสดุ: กฎหมายพิเศษเหนือกว่ากฎหมายทั่วไป, สาธารณสมบัติของแผ่นดินห้ามยกอายุความ
ที่ดินซึ่งรัฐบาลซื้อจากเอกชนเพื่อสร้างสถานที่ราชการ.และได้มีพระบรมราชโองการให้ขึ้นทะเบียนเป็นกรรมสิทธิ์ของกระทรวงการคลังแต่ครั้งสมัยสมบูรณาญาสิทธิราช. ในทะเบียนที่ราชพัสดุมีหมายเหตุไว้ในช่องใช้ราชการหรือจัดให้เช่าทำประโยชน์ว่าให้เช่าปลูกโรงชั่วคราว. ที่ดินราชพัสดุซึ่งอยู่ติดต่อกันได้ใช้ปลูกสร้างเป็นที่ทำการแขวงการทางกรมธนารักษ์ในกระทรวงการคลังมอบให้สรรพากรจังหวัดเป็นผู้ดูแล. แม้ที่ดินดังกล่าวจะยังมิได้ใช้ปลูกสร้างสถานที่ราชการ. ก็เป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินซึ่งสงวนไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกันตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1304 ซึ่งมิใช่ที่ดินรกร้างว่างเปล่า. (วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 15/2512).
ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวงทบวงกรม พ.ศ.2506 มาตรา 9 ซึ่งบัญญัติว่า.กระทรวงการคลังมีอำนาจและหน้าที่เกี่ยวกับการเงินแผ่นดิน ภาษีอากร การรัษฎากร หรือกิจการเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์อันเป็นทรัพย์สินของแผ่นดิน นอกจากสาธารณสมบัติของแผ่นดินนั้น. หาได้ยกเว้นมิให้กระทรวงการคลังมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับสาธารณสมบัติของแผ่นดินทุกชนิดไม่.
ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8 บัญญัติว่า. บรรดาที่ดินทั้งหลายอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน หรือเป็นทรัพย์สินของแผ่นดินนั้น. ถ้าไม่มีกฎหมายกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น. ให้อธิบดีมีอำนาจดูแลรักษาดำเนินการคุ้มครองป้องกันได้ตามควรแก่กรณี. อำนาจหน้าที่ดังว่านี้รัฐมนตรีจะมอบหมายให้ทบวงการเมืองอื่นเป็นผู้ใช้ก็ได้.แต่โดยที่ได้มีพระบรมราชโองการให้กระทรวงการคลังมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินราชพัสดุรายพิพาท และขึ้นทะเบียนไว้แล้วก่อนใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน. พระบรมราชโองการในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย่อมถือเป็นกฎหมายให้อำนาจกระทรวงการคลังเป็นผู้รับผิดชอบดูแลรักษาและดำเนินการคุ้มครองป้องกันที่ราชพัสดุ.อธิบดีกรมที่ดินจึงไม่มีอำนาจ. และเมื่อมีประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 8 วรรคท้าย บัญญัติว่า. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมีอำนาจที่จะจัดขึ้นทะเบียนเป็นของทบวงการเมืองได้.กระทรวงการคลังก็คงใช้อำนาจครอบครองที่ราชพัสดุอยู่เช่นเดิม โดยมิได้มีการเปลี่ยนแปลง. ย่อมถือได้ว่ารัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยได้จัดให้ที่พิพาทขึ้นทะเบียนเป็นของกระทรวงการคลังแล้วโดยอนุโลม. พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวงทบวงกรมเป็นกฎหมายทั่วไปที่กำหนดอำนาจและหน้าที่บริหารราชการแผ่นดินตามกฎหมายของกระทรวงและทบวงการเมืองต่างๆ. ย่อมไม่ลบล้างอำนาจของกระทรวงการคลังซึ่งได้ตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8 วรรคท้าย อันเป็นกฎหมายพิเศษ. เพราะกฎหมายพิเศษย่อมยกเว้นกฎหมายทั่วไป. กระทรวงการคลังจึงมีอำนาจฟ้องเกี่ยวกับที่ราชพัสดุรายพิพาทได้ (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 1149/2511).
สาธารณสมบัติของแผ่นดินนั้น ผู้ใดจะยกอายุความขึ้นเป็นข้อต่อสู้กับแผ่นดินหาได้ไม่.
ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวงทบวงกรม พ.ศ.2506 มาตรา 9 ซึ่งบัญญัติว่า.กระทรวงการคลังมีอำนาจและหน้าที่เกี่ยวกับการเงินแผ่นดิน ภาษีอากร การรัษฎากร หรือกิจการเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์อันเป็นทรัพย์สินของแผ่นดิน นอกจากสาธารณสมบัติของแผ่นดินนั้น. หาได้ยกเว้นมิให้กระทรวงการคลังมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับสาธารณสมบัติของแผ่นดินทุกชนิดไม่.
ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8 บัญญัติว่า. บรรดาที่ดินทั้งหลายอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน หรือเป็นทรัพย์สินของแผ่นดินนั้น. ถ้าไม่มีกฎหมายกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น. ให้อธิบดีมีอำนาจดูแลรักษาดำเนินการคุ้มครองป้องกันได้ตามควรแก่กรณี. อำนาจหน้าที่ดังว่านี้รัฐมนตรีจะมอบหมายให้ทบวงการเมืองอื่นเป็นผู้ใช้ก็ได้.แต่โดยที่ได้มีพระบรมราชโองการให้กระทรวงการคลังมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินราชพัสดุรายพิพาท และขึ้นทะเบียนไว้แล้วก่อนใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน. พระบรมราชโองการในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย่อมถือเป็นกฎหมายให้อำนาจกระทรวงการคลังเป็นผู้รับผิดชอบดูแลรักษาและดำเนินการคุ้มครองป้องกันที่ราชพัสดุ.อธิบดีกรมที่ดินจึงไม่มีอำนาจ. และเมื่อมีประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 8 วรรคท้าย บัญญัติว่า. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมีอำนาจที่จะจัดขึ้นทะเบียนเป็นของทบวงการเมืองได้.กระทรวงการคลังก็คงใช้อำนาจครอบครองที่ราชพัสดุอยู่เช่นเดิม โดยมิได้มีการเปลี่ยนแปลง. ย่อมถือได้ว่ารัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยได้จัดให้ที่พิพาทขึ้นทะเบียนเป็นของกระทรวงการคลังแล้วโดยอนุโลม. พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวงทบวงกรมเป็นกฎหมายทั่วไปที่กำหนดอำนาจและหน้าที่บริหารราชการแผ่นดินตามกฎหมายของกระทรวงและทบวงการเมืองต่างๆ. ย่อมไม่ลบล้างอำนาจของกระทรวงการคลังซึ่งได้ตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8 วรรคท้าย อันเป็นกฎหมายพิเศษ. เพราะกฎหมายพิเศษย่อมยกเว้นกฎหมายทั่วไป. กระทรวงการคลังจึงมีอำนาจฟ้องเกี่ยวกับที่ราชพัสดุรายพิพาทได้ (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 1149/2511).
สาธารณสมบัติของแผ่นดินนั้น ผู้ใดจะยกอายุความขึ้นเป็นข้อต่อสู้กับแผ่นดินหาได้ไม่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1329/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาฆ่าจากการทำร้ายร่างกายบุตรเลี้ยง: การกระทืบจนไตแตกและการพูดจาแสดงเจตนา
ก่อนเกิดเหตุคดีนี้ จำเลยเคยทำร้ายเฆี่ยนตีและจับผู้ตายโยนซึ่งอาจจะเนื่องจากเกลียดชัง เพราะผู้ตายเป็นบุตรเลี้ยง ดังนั้นการที่จำเลยกระทืบผู้ตายด้วยเท้าจนถึงไตซ้ายแตก มีอุจจาระไหลออกมาเปรอะเปื้อนตามร่างกายผู้ตาย แสดงว่าจำเลยใช้เท้ากระทืบอย่างหนักและรุนแรง จนเป็นผลให้ไตซ้ายแตกนั้น เมื่อประกอบกับการที่จำเลยพูดว่าเอาให้ตายแล้วย่อมเป็นการกระทำโดยมีเจตนาฆ่าผู้ตายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1329/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาฆ่าจากการทำร้ายร่างกายบุตรเลี้ยง: การกระทำรุนแรงและคำพูดแสดงเจตนา
ก่อนเกิดเหตุคดีนี้ จำเลยเคยทำร้ายเฆี่ยนตีและจับผู้ตายโยนซึ่งอาจจะเนื่องจากเกลียดชัง เพราะผู้ตายเป็นบุตรเลี้ยง ดังนั้นการทีจำเลยกระทืบผู้ตายด้วยเท้าจนถึงไตซ้ายแตก มีอุจจาระไหลออกมาเปรอะเปื้อนตามร่างกายผู้ตาย แสดงว่าจำเลยใช้เท้ากระทืบอย่างหนักและรุนแรง จนเป็นผลให้ไตซ้ายแตกนั้น เมื่อประกอบกับการที่จำเลยพูดว่าเอาให้ตายแล้วย่อมเป็นการกระทำโดยเจตนาฆ่าผู้ตายตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 288
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1329/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาฆ่าจากการทำร้ายร่างกายบุตรเลี้ยง: การพิพากษาโทษฐานฆ่าผู้อื่น
ก่อนเกิดเหตุคดีนี้ จำเลยเคยทำร้ายเฆี่ยนตีและจับผู้ตายโยนซึ่งอาจจะเนื่องจากเกลียดชัง. เพราะผู้ตายเป็นบุตรเลี้ยง. ดังนั้นการที่จำเลยกระทืบผู้ตายด้วยเท้าจนถึงไตซ้ายแตก. มีอุจจาระไหลออกมาเปรอะเปื้อนตามร่างกายผู้ตาย. แสดงว่าจำเลยใช้เท้ากระทืบอย่างหนักและรุนแรง.จนเป็นผลให้ไตซ้ายแตกนั้น. เมื่อประกอบกับการที่จำเลยพูดว่าเอาให้ตายแล้วย่อมเป็นการกระทำโดยมีเจตนาฆ่าผู้ตายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1321/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขยายเวลาวางค่าฤชาธรรมเนียมอุทธรณ์: ศาลมีอำนาจขยายเวลาได้หากมีเหตุผล และพฤติการณ์สมควร
คู่ความฟังคำพิพากษาศาลชั้นต้นเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2509 โจทก์ยื่นอุทธรณ์วันที่ 28 เดือนต่อมา อันเป็นวันสุดท้ายที่อาจยื่นได้ โดยโจทก์มิได้วางเงินค่าฤชาธรรมเนียมที่จะต้องใช้แทนจำเลยในวันเดียวกัน วันนั้นเองศาลชั้นต้นมีคำสั่งรับอุทธรณ์ วันที่ 1 ธันวาคม 2509 ศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้โจทก์นำค่าฤชาธรรมเนียมมาวางใน 7 วัน โจทก์นำมาชำระวันที่ 6 เดือนเดียวกัน ดังนี้ เมื่อศาลชั้นต้นสั่งรับอุทธรณ์ของโจทก์ไว้ศาลมีอำนาจขยายเวลาวางเงินค่าฤชาธรรมเนียมที่จะต้องใช้แทนอีกฝ่ายหนึ่งได้ ทั้งพฤติการณ์แห่งคดีสมควรขยายเวลาให้ (อ้างฎีกา โดยมติที่ประชุมใหญ่ ที่ 1706/2500)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1321/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขยายเวลาวางค่าฤชาธรรมเนียมหลังศาลรับอุทธรณ์: ศาลมีอำนาจขยายได้หากมีเหตุผลและพฤติการณ์สมควร
คู่ความฟังคำพิพากษาศาลชั้นต้นเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2509 โจทก์ยื่นอุทธรณ์วันที่ 28 เดือนต่อมา อันเป็นวันสุดท้ายที่อาจยื่นได้ โดยโจทก์มิได้วางเงินค่าฤชาธรรมเนียมที่จะต้องใช้แทนจำเลยในวันเดียวกัน วันนั้นเองศาลชั้นต้นมีคำสั่งรับอุทธรณ์ วันที่ 1 ธันวาคม 2509 ศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้โจทก์นำค่าฤชาธรรมเนียมมาวางใน 7 วัน โจทก์นำมาชำระวันที่ 6 เดือนเดียวกัน ดังนี้ เมื่อศาลชั้นต้นสั่งรับอุทธรณ์ของโจทก์ไว้ ศาลมีอำนาจขยายเวลาวางเงินค่าฤชาธรรมเนียมที่จะต้องใช้แทนอีกฝ่ายหนึ่งได้ ทั้งพฤติการณ์แห่งคดีสมควรขยายเวลาให้ (อ้างฎีกา โดยมติที่ประชุมใหญ่ที่ 1706/2500)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1321/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขยายเวลาวางค่าฤชาธรรมเนียมอุทธรณ์: ศาลมีอำนาจขยายเวลาได้หากมีเหตุผลและศาลรับอุทธรณ์ไว้แล้ว
คู่ความฟังคำพิพากษาศาลชั้นต้นเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม2509. โจทก์ยื่นอุทธรณ์วันที่ 28 เดือนต่อมา. อันเป็นวันสุดท้ายที่อาจยื่นได้. โดยโจทก์มิได้วางเงินค่าฤชาธรรมเนียมที่จะต้องใช้แทนจำเลยในวันเดียวกัน.วันนั้นเองศาลชั้นต้นมีคำสั่งรับอุทธรณ์ วันที่ 1 ธันวาคม 2509. ศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้โจทก์นำค่าฤชาธรรมเนียมมาวางใน 7 วัน. โจทก์นำมาชำระวันที่ 6 เดือนเดียวกัน.ดังนี้ เมื่อศาลชั้นต้นสั่งรับอุทธรณ์ของโจทก์ไว้. ศาลมีอำนาจขยายเวลาวางเงินค่าฤชาธรรมเนียมที่จะต้องใช้แทนอีกฝ่ายหนึ่งได้. ทั้งพฤติการณ์แห่งคดีสมควรขยายเวลาให้.(อ้างฎีกา โดยมติที่ประชุมใหญ่ ที่ 1706/2500).