คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
บุญส่ง คล้ายแก้ว

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 883 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2669/2532

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การผิดนัดชำระหนี้ตามสัญญาประนีประนอมยอมความ ศาลไม่จำเป็นต้องไต่สวนหากจำเลยสามารถมอบหมายให้ผู้อื่นดำเนินการแทนได้
จำเลยทั้งสองไม่นำเงินมาวางต่อศาลตามกำหนดในคำพิพากตามสัญญาประนีประนอมยอมความ โดยอ้างว่ามารดาป่วยกะทันหันต้องเดินทางไปเยี่ยมที่ต่างจังหวัดนั้น มิใช่ความจำเป็นถึงขนาดจะนำเงินมาวางศาลไม่ได้ เพราะการนำเงินมาวางศาลมิใช่กิจการที่จำเลยทั้งสองจะต้องทำเองโดยเฉพาะตัว ดังนี้ ถือไม่ได้ว่าพฤติการณ์ที่จำเลยทั้งสองไม่ต้องรับผิดชอบซึ่งจะทำให้จำเลยทั้งสองไม่ตกเป็นผู้ผิดนัด ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 205 ศาลยกคำร้องของดการบังคับคดีของจำเลยทั้งสองได้โดยไม่ต้องไต่สวน

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2669/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การผิดนัดชำระหนี้ตามสัญญาประนีประนอม การมอบหมายให้ผู้อื่นชำระหนี้แทน และเหตุสุดวิสัย
จำเลยทั้งสองไม่นำเงินมาวางต่อศาลตามกำหนดโดยอ้างว่ามารดาป่วยกะทันหันต้องเดินทางไปเยี่ยมที่ต่างจังหวัดนั้น มิใช่ความจำเป็นถึงขนาดจะนำเงินมาวางศาลไม่ได้เพราะการนำเงินมาวางศาลมิใช่กิจการที่จำเลยทั้งสองจะต้องทำเองโดยเฉพาะตัว ดังนี้ถือไม่ได้ว่าเป็นพฤติการณ์ที่จำเลยทั้งสองไม่ต้องรับผิดชอบตาม ป.พ.พ.มาตรา 205 ศาลยกคำร้องของจำเลยทั้งสองได้โดยไม่ต้องไต่สวน.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2661/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาประกันภัยสมบูรณ์ก่อนเกิดเหตุ รถถูกปล้น จำเลยต้องรับผิดชอบค่าสินไหมทดแทน
โจทก์ที่ 2 ทำสัญญาซื้อขายมีเงื่อนไขรถยนต์คันพิพาทมาจากโจทก์ที่ 1 แล้วโจทก์ที่ 2 นำรถไปประกอบการขนส่ง โจทก์ที่ 2จึงเป็นผู้ครอบครองรถยนต์คันพิพาทอันมีส่วนได้เสียที่จะเอาประกันภัยได้ ใบเสร็จรับเงินค่าเบี้ยประกันภัยมีลายมือชื่อผู้จัดการของจำเลย และมีรายละเอียดต่าง ๆ คือ หมายเลขทะเบียนและรายละเอียดอื่น ๆเกี่ยวกับรถยนต์ที่เอาประกันภัย ทุนประกัน ระยะเวลาประกัน ทั้งระบุหมายเลขของกรมธรรม์ด้วย ดังนี้ใบเสร็จรับเงินค่าเบี้ยประกันภัยดังกล่าวย่อมเป็นหลักฐานเป็นหนังสือที่จะฟ้องร้องบังคับคดีกันได้ เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2524 โจทก์ที่ 2 ได้โทรศัพท์ทางไกลจากจังหวัดมุกดาหารขอเสนอเอาประกันภัยรถยนต์คันพิพาทกับตัวแทนของจำเลยประจำจังหวัดอุบลราชธานี ตัวแทนจำเลยได้ออกใบเสร็จรับเงินเบี้ยประกันภัยของจำเลยให้แก่โจทก์ที่ 2 ในวันนั้น โดยระบุระยะเวลาประกันเริ่มวันที่ 3 พฤษภาคม 2524 สิ้นสุด 3 พฤษภาคม 2525 เวลา0.01 นาฬิกา ตัวแทนจำเลยได้โทรเลขแจ้งจำเลยที่กรุงเทพมหานครจำเลยได้รับโทรเลขวันที่ 4 เดือนเดียวกัน วันที่ 4 พฤษภาคม 2524โจทก์ที่ 2 ได้ส่งตั๋วแลกเงินชำระเบี้ยประกันภัยให้ตัวแทนจำเลยและวันที่ 6 เดือนเดียวกันจำเลยได้ออกกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์คันพิพาท ดังนี้ ต้องถือว่าการประกันภัยรายนี้ได้ตกลงกันแล้วระหว่างโจทก์ที่ 2 กับตัวแทนจำเลยในวันที่ 2 พฤษภาคม 2524เมื่อรถยนต์คันพิพาทถูกคนร้ายปล้นเอาไปตั้งแต่วันที่ 3 พฤษภาคม2524 เวลา 22 นาฬิกา จำเลยจึงต้องรับผิดชอบใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่โจทก์ทั้งสอง

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2661/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาประกันภัยสมบูรณ์ก่อนเกิดเหตุปล้นรถ การรับผิดในสัญญาประกันภัย
โจทก์ที่ 2 ทำสัญญาซื้อขายมีเงื่อนไขรถยนต์คันพิพาทมาจากโจทก์ที่ 1 แล้วโจทก์ที่ 2 นำรถไปประกอบการขนส่งโจทก์ที่ 2 จึงเป็นผู้ครอบครองรถยนต์คันพิพาทอันมีส่วนได้เสียที่จะเอาประกันภัยได้.
ใบเสร็จรับเงินค่าเบี้ยประกันภัยมีลายมือชื่อผู้จัดการของจำเลยและมีรายละเอียดต่าง ๆ คือ หมายเลขทะเบียนและรายละเอียดอื่น ๆ เกี่ยวกับรถยนต์ที่เอาประกันภัย ทุนประกันระยะเวลาประกัน ทั้งระบุหมายเลขของกรมธรรม์ด้วย ดังนี้ใบเสร็จรับเงินค่าเบี้ยประกันภัยดังกล่าวย่อมเป็นหลักฐานเป็นหนังสือที่จะฟ้องร้องบังคับคดีกันได้.
เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2524 โจทก์ที่ 2 ได้โทรศัพท์ทางไกลจากจังหวัดมุกดาหาร ขอเสนอเอาประกันภัยรถยนต์คันพิพาทกับตัวแทนของจำเลยประจำ จังหวัดอุบลราชธานี ตัวแทนจำเลยได้ออกใบเสร็จรับเงินเบี้ยประกันภัยของจำเลยให้แก่โจทก์ที่ 2 ในวันนั้น โดยระบุระยะเวลาประกันเริ่มวันที่ 3 พฤษภาคม 2524 สิ้นสุด 3 พฤษภาคม 2525 เวลา 0.01 นาฬิกาตัวแทนจำเลยได้โทรเลขแจ้งจำเลยที่กรุงเทพมหานครจำเลยได้รับโทรเลขวันที่ 4 เดือนเดียวกัน วันที่ 4 พฤษภาคม 2524โจทก์ที่ 2 ได้ส่งตั๋วแลกเงินชำระค่าประกันภัยให้ตัวแทนจำเลย และวันที่ 6 เดือนเดียวกันจำเลยได้ออกกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์คันพิพาท ดังนี้ ต้องถือว่าการประกันภัยรายนี้ได้ตกลงกันแล้วระหว่างโจทก์ที่ 2 กับตัวแทนจำเลยในวันที่ 2 พฤษภาคม 2524 เมื่อรถยนต์คันพิพาทถูกคนร้ายปล้นเอาไปตั้งแต่วันที่ 3 พฤษภาคม 2524 เวลา 22 นาฬิกา จำเลยจึงต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่โจทก์ทั้งสอง.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2661/2532 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาประกันภัยสมบูรณ์ก่อนเกิดเหตุปล้นทรัพย์ ผู้รับประกันภัยต้องรับผิดค่าสินไหมทดแทน
โจทก์ที่ 2 ทำสัญญาซื้อขายมีเงื่อนไขรถยนต์คันพิพาทมาจากโจทก์ที่ 1 แล้วโจทก์ที่ 2 นำรถไปประกอบการขนส่ง โจทก์ที่ 2 จึงเป็นผู้ครอบครองรถยนต์คันพิพาทอันมีส่วนได้เสียที่จะเอาประกันภัยได้
ใบเสร็จรับเงินค่าเบี้ยประกันภัยมีลายมือชื่อผู้จัดการของจำเลย และมีรายละเอียดต่าง ๆ คือ หมายเลขทะเบียนและรายละเอียดอื่นเกี่ยวกับรถยนต์ที่เอาประกันภัย ทุนประกัน ระยะเวลาประกัน ทั้งระบุหมายเลขของกรมธรรม์ด้วย ดังนี้ ใบเสร็จรับเงินค่าเบี้ยประกันภัยดังกล่าวย่อมเป็นหลักฐานเป็นหนังสือที่จะฟ้องร้องบังคับคดีกันได้
เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2524 โจทก์ที่ 2 ได้โทรศัพท์ทางไกลจากจังหวัด มุกดาหาร ขอเสนอเอาประกันภัยรถยนต์คันพิพาทกับตัวแทนของจำเลยประจำจังหวัด อุบลราชธานี ตัวแทนจำเลยได้ออกใบเสร็จรับเงินเบี้ยประกันภัยของจำเลยให้แก่โจทก์ที่ 2 ในวันนั้น โดยระบุระยะเวลาประกันเริ่มวันที่ 3 พฤษภาคม 2524 สิ้นสุด 3 พฤษภาคม 2525 เวลา 0.01 นาฬิกา ตัวแทนจำเลยได้โทรเลขแจ้งจำเลยที่ กรุงเทพมหานครจำเลยได้รับโทรเลขวันที่ 4 เดือนเดียวกัน วันที่ 4 พฤษภาคม 2524 โจทก์ที่ 2 ได้ส่งตั๋วแลกเงินชำระเบี้ยประกันภัยให้ตัวแทนจำเลยและวันที่ 6 เดือนเดียวกันจำเลยได้ออกกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์คันพิพาท ดังนี้ ต้องถือว่าการประกันภัยรายนี้ได้ตกลงกันแล้วระหว่างโจทก์ที่ 2 กับตัวแทนจำเลยในวันที่ 2 พฤษภาคม 2524 เมื่อรถยนต์คันพิพาทถูกคนร้ายปล้นเอาไปตั้งแต่วันที่ 3 พฤษภาคม 2524 เวลา22 นาฬิกา จำเลยจึงต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่โจทก์ทั้งสอง

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2661/2532

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การประกันภัยรถยนต์: สัญญาเกิดขึ้นก่อนเหตุปล้น, ใบเสร็จเป็นหลักฐานสมบูรณ์, ผู้ครอบครองมีสิทธิทำประกัน
โจทก์ที่ 2 ทำสัญญาซื้อขายมีเงื่อนไขรถยนต์คันพิพาทมาจากโจทก์ที่ 1 แล้วโจทก์ที่ 2 นำรถไปประกอบการขนส่ง โจทก์ที่ 2จึงเป็นผู้ครอบครองรถยนต์คันพิพาทอันมีส่วนได้เสียที่จะเอาประกันภัยได้ ใบเสร็จรับเงินค่าเบี้ยประกันภัยมีลายมือชื่อผู้จัดการของจำเลย และมีรายละเอียดต่าง ๆ คือ หมายเลขทะเบียนและรายละเอียดอื่นเกี่ยวกับรถยนต์ที่เอาประกันภัย ทุนประกัน ระยะเวลาประกัน ทั้งระบุหมายเลขของกรมธรรม์ด้วย ดังนี้ ใบเสร็จรับเงินค่าเบี้ยประกันภัยดังกล่าวย่อมเป็นหลักฐานเป็นหนังสือที่จะฟ้องร้องบังคับคดีกันได้ เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2524 โจทก์ที่ 2 ได้โทรศัพท์ทางไกลจากจังหวัด มุกดาหาร ขอเสนอเอาประกันภัยรถยนต์คันพิพาทกับตัวแทนของจำเลยประจำจังหวัด อุบลราชธานี ตัวแทนจำเลยได้ออกใบเสร็จรับเงินเบี้ยประกันภัยของจำเลยให้แก่โจทก์ที่ 2 ในวันนั้น โดยระบุระยะเวลาประกันเริ่มวันที่ 3 พฤษภาคม 2524 สิ้นสุด 3 พฤษภาคม 2525เวลา 0.01 นาฬิกา ตัวแทนจำเลยได้โทรเลขแจ้งจำเลยที่ กรุงเทพมหานครจำเลยได้รับโทรเลขวันที่ 4 เดือนเดียวกัน วันที่ 4 พฤษภาคม 2524โจทก์ที่ 2 ได้ส่งตั๋วแลกเงินชำระเบี้ยประกันภัยให้ตัวแทนจำเลยและวันที่ 6 เดือนเดียวกันจำเลยได้ออกกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์คันพิพาท ดังนี้ ต้องถือว่าการประกันภัยรายนี้ได้ตกลงกันแล้วระหว่างโจทก์ที่ 2 กับตัวแทนจำเลยในวันที่ 2 พฤษภาคม 2524 เมื่อรถยนต์คันพิพาทถูกคนร้ายปล้นเอาไปตั้งแต่วันที่ 3 พฤษภาคม 2524 เวลา22 นาฬิกา จำเลยจึงต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่โจทก์ทั้งสอง.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2604/2532

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ เจตนาฆ่าและทำร้ายผู้อื่นจนถึงแก่ความตาย: การแบ่งความรับผิดชอบของจำเลยแต่ละคน
ป. วิวาทกับจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 1 จึงใช้เหล็กแป๊ป น้ำ ยาว80 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลางกว้าง 1 นิ้ว เป็นอาวุธตี ป.ที่ศีรษะซึ่งเป็นอวัยวะส่วนสำคัญอย่างรุนแรง 1 ครั้ง เป็นเหตุให้มีก้อนเลือดราว 200 มิลลิลิตร อยู่นอกเยื่อหุ้มสมองและกดสมองจนเป็นเหตุให้ ป. ถึงแก่ความตายหลังเกิดเหตุเพียง 2 ชั่วโมงเศษย่อมแสดงเจตนาของจำเลยที่ 1 ว่า ต้องการฆ่า ป. หรือเล็งเห็นผลได้ว่าทำให้ ป. ถึงแก่ความตายได้ จำเลยที่ 1 จึงมีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288 ส่วนจำเลยที่ 2 ที่ 3 ที่ 4 เพียงแต่วิ่งตามจำเลยที่ 1 และ ป. ไป เมื่อตามไปทันก็ช่วยจับ ป. จนล้มลง และกด ป. ให้นอนลงกับพื้นโดยไม่ปรากฏว่ามีสาเหตุกับ ป. แต่อย่างใด ทั้งในระหว่างที่วิ่งไล่ตามไปนั้นหากมีเจตนาฆ่า จำเลยที่ 2 ซึ่งมีเหล็กแหลมเป็นอาวุธคงจะแทง ป. แล้ว และจำเลยที่ 3 ที่ 4 ก็น่าจะทำอะไรมากกว่านั้น แต่หาได้กระทำไม่ การที่จำเลยที่ 3 ส่งเหล็กแป๊ปน้ำให้จำเลยที่ 1 ก็ไม่แน่ว่าส่งให้โดยมีเจตนาให้ใช้ฆ่า ป. และขณะที ป. ถูกจับจนล้มลง หากจำเลยที่ 2 ที่ 3 ที่ 4 มีเจตนาร่วมกันฆ่า ป. ก็คงจะรุมทำร้าย ป. เสียในตอนนั้นแล้ว คงจะไม่ปล่อยให้ ป.ยืนขึ้นจนถูกจำเลยที่ 1 ใช้เหล็กแป๊ปน้ำตีที่ศีรษะด้านหลังซึ่งถือไม่ได้ว่าจำเลยที่ 2 ที่ 3 ที่ 4 ร่วมกันจับ ป. ไว้ให้จำเลยที่ 1ตี และเมื่อ ป. ยืนขึ้นแล้ววิ่งหนี จำเลยที่ 2 ที่ 3 ที่ 4ก็ไม่ได้ไล่ตามไปทำร้าย ป. ซ้ำอีก พฤติการณ์เช่นนี้ยังฟังไม่ได้ว่าจำเลยที่ 2 ที่ 3 ที่ 4 ร่วมกับจำเลยที่ 1 มีเจตนาฆ่า ป.คงฟังได้เพียงว่าจำเลยทั้งสามมีเจตนาร่วมกับจำเลยที่ 1 ทำร้าย ป.เท่านั้น เมื่อผลการทำร้ายเป็นเหตุทำให้ ป. ถึงแก่ความตายจำเลยที่ 2 ที่ 3 ที่ 4 จึงมีความผิดฐานร่วมกันทำร้ายผู้อื่นจนเป็นเหตุให้ถึงแก่ความตายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 290 วรรคแรกประกอบด้วยมาตรา 83.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2604/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ เจตนาฆ่าและการร่วมกันทำร้ายจนถึงแก่ความตาย: การแบ่งแยกความผิดและระดับโทษ
ป. วิวาทกับจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 1 จึงใช้เหล็กแป๊ปน้ำยาว 80 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลางกว้าง 1 นิ้ว เป็นอาวุธตี ป.ที่ศีรษะซึ่งเป็นอวัยวะส่วนสำคัญอย่างรุนแรง 1 ครั้ง เป็นเหตุให้มีก้อนเลือดราว 200 มิลลิลิตร อยู่นอกเยื่อหุ้มสมองและกดสมองจนเป็นเหตุให้ ป. ถึงแก่ความตายหลังเกิดเหตุเพียง 2 ชั่วโมงเศษย่อมแสดงเจตนาของจำเลยที่ 1 ว่า ต้องการฆ่า ป. หรือเล็งเห็นผลได้ว่าทำให้ ป. ถึงแก่ความตายได้ จำเลยที่ 1 จึงมีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288
ส่วนจำเลยที่ 2 ที่ 3 ที่ 4 เพียงแต่วิ่งตามจำเลยที่ 1 และ ป. ไป เมื่อตามไปทันก็ช่วยจับ ป. จนล้มลง และกด ป. ให้นอนลงกับพื้นโดยไม่ปรากฏว่ามีสาเหตุกับ ป. แต่อย่างใด ทั้งในระหว่างที่วิ่งไล่ตามไปนั้นหากมีเจตนาฆ่า จำเลยที่ 2 ซึ่งมีเหล็กแหลมเป็นอาวุธคงจะแทง ป. แล้ว และจำเลยที่ 3 ที่ 4 ก็น่าจะทำอะไรมากกว่านั้น แต่หาได้กระทำไม่ การที่จำเลยที่ 3 ส่งเหล็กแป๊ปน้ำให้จำเลยที่ 1 ก็ไม่แน่ว่าส่งให้โดยมีเจตนาให้ใช้ฆ่า ป. และขณะที ป. ถูกจับจนล้มลง หากจำเลยที่ 2 ที่ 3 ที่ 4 มีเจตนาร่วมกันฆ่า ป. ก็คงจะรุมทำร้าย ป. เสียในตอนนั้นแล้ว คงจะไม่ปล่อยให้ ป.ยืนขึ้นจนถูกจำเลยที่ 1 ใช้เหล็กแป๊ปน้ำตีที่ศีรษะด้านหลังซึ่งถือไม่ได้ว่าจำเลยที่ 2 ที่ 3 ที่ 4 ร่วมกันจับ ป. ไว้ให้จำเลยที่ 1ตี และเมื่อ ป. ยืนขึ้นแล้ววิ่งหนี จำเลยที่ 2 ที่ 3 ที่ 4ก็ไม่ได้ไล่ตามไปทำร้าย ป. ซ้ำอีก พฤติการณ์เช่นนี้ยังฟังไม่ได้ว่าจำเลยที่ 2 ที่ 3 ที่ 4 ร่วมกับจำเลยที่ 1 มีเจตนาฆ่า ป.คงฟังได้เพียงว่าจำเลยทั้งสามมีเจตนาร่วมกับจำเลยที่ 1 ทำร้าย ป.เท่านั้น เมื่อผลการทำร้ายเป็นเหตุทำให้ ป. ถึงแก่ความตายจำเลยที่ 2 ที่ 3 ที่ 4 จึงมีความผิดฐานร่วมกันทำร้ายผู้อื่นจนเป็นเหตุให้ถึงแก่ความตายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 290 วรรคแรกประกอบด้วยมาตรา 83

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2566/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเพิ่มทุนของธนาคารพาณิชย์ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์กฎหมาย เพื่อให้ประชาชนมีโอกาสร่วมลงทุน การขายหุ้นโดยไม่เปิดโอกาสให้ประชาชนทั่วไปเป็นการฝ่าฝืน
มาตรา 24 และ 26 แห่งพระราชบัญญัติการธนาคารพาณิชย์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2522 เป็นบทบังคับให้ธนาคารพาณิชย์ ที่ประสงค์จะเพิ่มทุนโดยการออกหุ้นใหม่ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้มิใช่เป็นเรื่องให้สิทธิธนาคารพาณิชย์ ที่จะเลือกปฏิบัติ การที่ธนาคารจำเลยขายหุ้นที่เพิ่มทุนโดยมิได้ออกหนังสือชี้ชวนให้ประชาชนทราบและมีโอกาสเข้าซื้อหุ้น จึงมีความผิดตามมาตรา 26
โจทก์ร่วมเป็นผู้ถือหุ้นของจำเลย ไม่ปรากฏว่าได้รับความเสียหาโดยตรงจากการที่จำเลยไม่ได้ออกหนังสือชี้ชวนให้ประชาชนซื้อหุ้นที่ออกในการเพิ่มทุน โจทก์ร่วมจึงมิใช่ผู้เสียหายตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 2(4) ย่อมไม่มีอำนาจฟ้องหรือร้องขอเข้าร่วมเป็นโจทก์กับพนักงานอัยการได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2566/2532

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเพิ่มทุนของธนาคารพาณิชย์ต้องออกหนังสือชี้ชวนเพื่อให้ประชาชนมีโอกาสซื้อหุ้น มิฉะนั้นมีความผิดตามกฎหมาย
มาตรา 24 และ 26 แห่งพระราชบัญญัติการธนาคารพาณิชย์(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2522 เป็นบทบังคับให้ธนาคารพาณิชย์ ที่ประสงค์จะเพิ่มทุนโดยการออกหุ้นใหม่ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้มิใช่เป็นเรื่องให้สิทธิธนาคารพาณิชย์ ที่จะเลือกปฏิบัติ การที่ธนาคารจำเลยขายหุ้นที่เพิ่มทุนโดยมิได้ออกหนังสือชี้ชวนให้ประชาชนทราบและมีโอกาสเข้าซื้อหุ้น จึงมีความผิดตามมาตรา 26 โจทก์ร่วมเป็นผู้ถือหุ้นของจำเลย ไม่ปรากฏว่าได้รับความเสียหาโดยตรงจากการที่จำเลยไม่ได้ออกหนังสือชี้ชวนให้ประชาชนซื้อหุ้นที่ออกในการเพิ่มทุน โจทก์ร่วมจึงมิใช่ผู้เสียหายตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 2(4) ย่อมไม่มีอำนาจฟ้องหรือร้องขอเข้าร่วมเป็นโจทก์กับพนักงานอัยการได้.
of 89