พบผลลัพธ์ทั้งหมด 84 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 630/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจร้องทุกข์ในคดีเบียดบังเงินภาษีของเทศบาล: เจ้าพนักงานรับเงินภาษีมีความผิดต่อหน้าที่
เทศบาลประเมินและเรียกเก็บภาษีโรงเรือนจำเลยรับเงินภาษีโรงเรือนมาแล้วไม่ลงบัญชี กลับยักยอกเอาไปเสียเช่นนี้เทศบาลย่อมเป็นผู้เสียหายและมีอำนาจร้องทุกข์ได้
จำเลยเป็นพนักงานวิสามัญ มีหน้าที่ตรวจควบคุมการเก็บเงินตลาดสดและรับงานด้านภาษีโรงเรือน ขึ้นต่อแผนกคลังของเทศบาลเมืองจำเลยรับเงินเดือนจากเงินประเภทงบประมาณเงินเดือน ฉะนั้น การที่จำเลยเก็บหรือรับเงินจากผู้ที่นำเงินมาชำระเป็นค่าภาษีโรงเรือนให้แก่เทศบาลแล้วไม่ลงบัญชี กลับยักยอกเอาไปเป็นประโยชน์อย่างอื่นเสียดังนี้ ย่อมเป็นการกระทำในหน้าที่พนักงานผู้เก็บเงินตามหน้าที่ที่ได้รับแต่งตั้งและมอบหมายเมื่อยักยอกเอาเงินที่ได้รับไว้ตามหน้าที่ของจำเลยจำเลยย่อมมีความผิดฐานเป็นเจ้าพนักงานกระทำการอันเป็นความผิดต่อหน้าที่ของตน ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 147
จำเลยเป็นพนักงานวิสามัญ มีหน้าที่ตรวจควบคุมการเก็บเงินตลาดสดและรับงานด้านภาษีโรงเรือน ขึ้นต่อแผนกคลังของเทศบาลเมืองจำเลยรับเงินเดือนจากเงินประเภทงบประมาณเงินเดือน ฉะนั้น การที่จำเลยเก็บหรือรับเงินจากผู้ที่นำเงินมาชำระเป็นค่าภาษีโรงเรือนให้แก่เทศบาลแล้วไม่ลงบัญชี กลับยักยอกเอาไปเป็นประโยชน์อย่างอื่นเสียดังนี้ ย่อมเป็นการกระทำในหน้าที่พนักงานผู้เก็บเงินตามหน้าที่ที่ได้รับแต่งตั้งและมอบหมายเมื่อยักยอกเอาเงินที่ได้รับไว้ตามหน้าที่ของจำเลยจำเลยย่อมมีความผิดฐานเป็นเจ้าพนักงานกระทำการอันเป็นความผิดต่อหน้าที่ของตน ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 147
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 630/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าพนักงานยักยอกเงินภาษีโรงเรือน เทศบาลมีอำนาจร้องทุกข์ได้ แม้ผู้เสียหายโดยตรงคือนายภาษี
เทศบาลประเมินและเรียกเก็บภาษีโรงเรือน จำเลยรับเงินภาษีโรงเรือนมาแล้วไม่ลงบัญชี กลับยักยอกเอาไปเสีย เช่นนี้ เทศบาลย่อมเป็นผู้เสียหายและมีอำนาจร้องทุกข์ได้
จำเลยเป็นพนักงานวิสามัญ มีหน้าที่ตรวจควบคุมการเก็บเงินตลาดสดและรับงานด้านภาษีโรงเรือน ขึ้นต่อแผนกคลังของเทศบาลเมือง จำเลยรับเงินเดือนจากเงินประเภทงบประมาณเงินเดือน ฉะนั้น การที่จำเลยเก็บหรือรับเงินจากผู้ที่นำเงินมาชำระเป็นค่าภาษีโรงเรือนให้แก่เทศบาลแล้วไม่ลงบัญชี กลับยักยอกเอาไปเป็นประโยชน์อย่างอื่นเสีย ดังนี้ ย่อมเป็นการกระทำในหน้าที่พนักงานผู้เก็บเงินตามหน้าที่ที่ได้รับแต่งตั้งและมอบหมาย เมื่อยักยอกเอาเงินที่ได้รับไว้ตามหน้าที่ของจำเลย จำเลยย่อมมีความผิดฐานเป็นเจ้าพนักงานกระทำการอันเป็นความผิดต่อหน้าที่ของตน ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 147
จำเลยเป็นพนักงานวิสามัญ มีหน้าที่ตรวจควบคุมการเก็บเงินตลาดสดและรับงานด้านภาษีโรงเรือน ขึ้นต่อแผนกคลังของเทศบาลเมือง จำเลยรับเงินเดือนจากเงินประเภทงบประมาณเงินเดือน ฉะนั้น การที่จำเลยเก็บหรือรับเงินจากผู้ที่นำเงินมาชำระเป็นค่าภาษีโรงเรือนให้แก่เทศบาลแล้วไม่ลงบัญชี กลับยักยอกเอาไปเป็นประโยชน์อย่างอื่นเสีย ดังนี้ ย่อมเป็นการกระทำในหน้าที่พนักงานผู้เก็บเงินตามหน้าที่ที่ได้รับแต่งตั้งและมอบหมาย เมื่อยักยอกเอาเงินที่ได้รับไว้ตามหน้าที่ของจำเลย จำเลยย่อมมีความผิดฐานเป็นเจ้าพนักงานกระทำการอันเป็นความผิดต่อหน้าที่ของตน ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 147
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 650/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การกระชากทรัพย์สินของตนเองที่จำนำไว้ ไม่เป็นความผิดฐานลักทรัพย์หรือชิงทรัพย์ แต่ฟ้องผิดฐานโจทก์ไม่อาจลงโทษฐานอื่นได้
คดีอาญา ส่งสำเนาฎีกาให้จำเลยไม่ได้ ศาลฎีกาพิจารณาพิพากษาต่อไปได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 216 ประกอบด้วยมาตรา 201
จำเลยจำนำสร้อยคอของตนไว้กับผู้เสียหายเพื่อเอาเงินมาเล่นการพนัน แล้วจำเลยกระชากสร้อยเส้นนั้นไปจากคอผู้เสียหาย ไม่เป็นผิดฐานลักทรัพย์ เพราะสร้อยนั้นเป็นของจำเลยเอง และเมื่อไม่เป็นการลักทรัพย์ ก็ไม่อาจเป็นผิดฐานชิงทรัพย์ได้
การกระทำของจำเลยดังกล่าวแล้วนั้นอาจเป็นผิดฐานโกงเจ้าหนี้ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 349 แต่โจทก์ฟ้องว่าชิงทรัพย์ จะลงโทษฐานโกงเจ้าหนี้ไม่ได้ เพราะถือว่าข้อเท็จจริงในทางพิจารณาแตกต่างกับฟ้องในข้อสารสำคัญ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 192 วรรค 2 คดีต้องยกฟ้องโดยไม่จำต้องวินิจฉัยว่าโจทก์ประสงค์ให้ลงโทษจำเลยฐานโกงเจ้าหนี้ด้วยหรือไม่
จำเลยจำนำสร้อยคอของตนไว้กับผู้เสียหายเพื่อเอาเงินมาเล่นการพนัน แล้วจำเลยกระชากสร้อยเส้นนั้นไปจากคอผู้เสียหาย ไม่เป็นผิดฐานลักทรัพย์ เพราะสร้อยนั้นเป็นของจำเลยเอง และเมื่อไม่เป็นการลักทรัพย์ ก็ไม่อาจเป็นผิดฐานชิงทรัพย์ได้
การกระทำของจำเลยดังกล่าวแล้วนั้นอาจเป็นผิดฐานโกงเจ้าหนี้ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 349 แต่โจทก์ฟ้องว่าชิงทรัพย์ จะลงโทษฐานโกงเจ้าหนี้ไม่ได้ เพราะถือว่าข้อเท็จจริงในทางพิจารณาแตกต่างกับฟ้องในข้อสารสำคัญ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 192 วรรค 2 คดีต้องยกฟ้องโดยไม่จำต้องวินิจฉัยว่าโจทก์ประสงค์ให้ลงโทษจำเลยฐานโกงเจ้าหนี้ด้วยหรือไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1374/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องในคดีอาญา: โจทก์ฟ้องในฐานะใด - ผู้เสียหายโดยตรงหรือผู้แทนโดยชอบธรรม
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษจำคุกจำเลย 2 ปี จำเลยฎีกา และในฎีกานั้นจำเลยได้อ้างอิงหลักฐานและเหตุผลเพื่อแสดงว่าโจทก์ฟ้องในนามของตนเอง มิใช่ฟ้องในฐานะผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้เสียหาย ดังนี้ ฎีกาของจำเลยจึงเป็นฎีกาในข้อเท็จจริง ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 218
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1374/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องของโจทก์: การฟ้องในฐานะตนเองหรือผู้แทนโดยชอบธรรม มีผลต่อการรับคำฟ้อง
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลชั้นต้น พิพากษาลงโทษจำคุกจำเลย 2 ปี จำเลยฎีกา และในฎีกานั้นจำเลยได้อ้างอิงหลักฐานและเหตุผลเพื่อแสดงว่าโจทก์ฟ้องในนามของตนเอง มิใช่ฟ้องในฐานะผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้เสียหาย ดังนี้ ฎีกาของจำเลยจึงเป็นฎีกาในข้อเท็จจริง ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1108/2507
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดของเสมียนรถไฟในคดีฉ้อโกง และการเป็นผู้เสียหายตามกฎหมาย
เสมียนรถไฟมีหน้าที่รับผิดชอบในการรับจ่ายสินค้า ได้จ่ายสินค้าให้แก่จำเลยเพราะถูกจำเลยหลอกลวง โดยอ้างว่าเป็นเจ้าของสินค้านั้น เมื่อเสมียนรถไฟจ่ายสินค้าผิดตัวผู้รับไป ก็จะต้องรับผิดชอบ ดังนั้น เสมียนรถไฟจึงเป็นผู้เสียหายตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 2(4)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1104/2507
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดของเสมียนรถไฟในการจ่ายสินค้าผิดพลาดและการพิสูจน์ความเป็นผู้เสียหาย
เสมียนรถไฟมีหน้าที่รับผิดชอบในการรับจ่ายสินค้า ได้จ่ายสินค้าให้แก่จำเลยเพราะถูกจำเลยหลอกลวง โดยอ้างว่าเป็นเจ้าของสินค้านั้น เมื่อเสมียนรถไฟจ่ายสินค้าผิดตัวผู้รับไปก็จะต้องรับผิดชอบ ดังนั้น เสมียนรถไฟจึงเป็นผู้เสียหายตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 2(4)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 964/2507
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดในคดีแพ่งจากอุบัติเหตุทางรถยนต์ ผลผูกพันจากคำพิพากษาคดีอาญา และหน้าที่การนำสืบของโจทก์
ล. กับ ศ. ขับรถกระแทกกันเป็นเหตุให้ ม. ตกจากรถถึงแก่ความตายอัยการได้ฟ้อง ล. เป็นคดีอาญาฐานขับรถโดยประมาทเป็นเหตุให้คนตาย โดยระบุในฟ้องและนำสืบว่า ล. กับ ศ. ต่างขับรถสวนกันด้วยความประมาทจึงเกิดเหตุ และศาลก็ได้อาศัยข้อเท็จจริงนั้นพิพากษาว่า ล.มีความผิด ดังนี้ ย่อมเห็นได้ว่า ศาลมิได้ชี้ขาดว่าล. กระทำการโดยประมาทแต่ฝ่ายเดียว และเมื่ออัยการโจทก์เป็นผู้ดำเนินคดีอาญานั้นแทนบิดาของ ม. ผู้ตาย ต่อมาเมื่อบิดาของผู้ตายมาฟ้อง ล. กับนายจ้างเป็นคดีแพ่งเรียกร้องให้ใช้ค่าปลงศพและค่าขาดไร้อุปการะ ข้อเท็จจริงที่ว่า ล. มิได้กระทำการโดยประมาทแต่ฝ่ายเดียวนั้น ย่อมมีผลผูกพันโจทก์ในคดีแพ่งนี้ด้วย ส่วนนายจ้างของ ล. นั้น ถ้าให้การปฏิเสธว่า ล. จำเลยมิได้ประมาท โจทก์จะต้องนำสืบด้วยว่า ล. ได้ขับรถโดยประมาท เพราะข้อเท็จจริงในคดีอาญาไม่มีผลผูกพันบุคคลภายนอก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 964/2507 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผลผูกพันคำพิพากษาคดีอาญาในคดีแพ่ง และหน้าที่การนำสืบของโจทก์เมื่อจำเลยปฏิเสธความประมาท
ล.กับศ.ขับรถกระแทกกันเป็นเหตุให้ ม.ตกจากรถถึงแก่ความตาย อัยการได้ฟ้อง ล.เป็นคดีอาญาฐานขับรถโดยประมาทเป็นเหตุให้คนตาย โดยระบุในฟ้องและนำสืบว่า ล.กับศ.ต่างขับรถสวนกันด้วยความประมาทจึงเกิดเหตุและศาลก็ได้อาศัยข้อเท็จจริงนั้นพิพากษาว่า ล.มีความผิด ดังนี้ย่อมเห็นได้ว่า ศาลมิได้ชี้ขาดว่า ล.กระทำการโดยประมาทแต่ฝ่ายเดียวและเมื่ออัยการโจทก์เป็นผู้ดำเนินคดีอาญานั้นแทนบิดาของม.ผู้ตาย ต่อมาเมื่อบิดาของผู้ตายมาฟ้อง ล.กับนายจ้างเป็นคดีแพ่งเรียกร้องให้ใช้ค่าปลงศพและค่าขาดไร้อุปการะ ข้อเท็จจริงที่ว่า ล.มิได้กระทำการโดยประมาทแต่ฝ่ายเดียวนั้น ย่อมมีผลผูกพันโจทก์ในคดีแพ่งนี้ด้วย ส่วนนายจ้างของ ล.นั้น ถ้าให้การปฏิเสธว่า ล.จำเลยมิได้ประมาท โจทก์จะต้องนำสืบด้วยว่า ล.ได้ขับรถโดยประมาท เพราะข้อเท็จจริงในคดีอาญาไม่มีผลผูกพันบุคคลภายนอก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1976-1977/2505 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยักยอกเงินของธนาคารโดยผู้จัดการ ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 354 และการเรียกร้องดอกเบี้ย
1. การร้องทุกข์นั้น ย่อมมอบอำนาจให้ร้องทุกข์แทนกันได้
(อ้างฎีกาที่ 890/2503)
2. ในคดีอาญา อัยการไม่มีอำนาจฟ้องขอให้เรียกดอกเบี้ยในจำนวนเงินที่จำเลยยักยอกไป เพราะดอกเบี้ยไม่ใช่ทรัพย์สินหรือราคาที่ผู้เสียหายสูญเสียไป เนื่องจากการกระทำผิดตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 43 แต่เนื่องจากผู้เสียหายได้เป็นโจทก์ร่วมกับพนักงานอัยการ โดยถือเอาคำฟ้องของพนักงานอัยการเป็นของตนเช่นนี้ถือได้ว่า ผู้เสียหายได้เรียกดอกเบี้ยแล้วแต่เมื่อยังไม่ได้เสียค่าธรรมเนียมเนื่องจากการฟ้องเรียกดอกเบี้ยมารวมทั้ง 3 ศาลเช่นนี้ ศาลฎีกามีอำนาจสั่งให้เรียกได้ เมื่อเสียค่าธรรมเนียมแล้ว จึงจะพิจารณาวินิจฉัยต่อไปเกี่ยวกับกรณีนี้ได้
3. จำเลยเป็นผู้จัดการธนาคารยักยอกเงินธนาคาร ถือว่าเป็นการกระทำในฐานเป็นผู้มีอาชีพหรือธุรกิจอันย่อมเป็นที่ไว้วางใจของประชาชนตามถ้อยคำในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 354 แล้ว
4. ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 354 เป็นคุณแก่จำเลยว่ากฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 319
(ข้อ 2 โดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 26/2505)
(อ้างฎีกาที่ 890/2503)
2. ในคดีอาญา อัยการไม่มีอำนาจฟ้องขอให้เรียกดอกเบี้ยในจำนวนเงินที่จำเลยยักยอกไป เพราะดอกเบี้ยไม่ใช่ทรัพย์สินหรือราคาที่ผู้เสียหายสูญเสียไป เนื่องจากการกระทำผิดตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 43 แต่เนื่องจากผู้เสียหายได้เป็นโจทก์ร่วมกับพนักงานอัยการ โดยถือเอาคำฟ้องของพนักงานอัยการเป็นของตนเช่นนี้ถือได้ว่า ผู้เสียหายได้เรียกดอกเบี้ยแล้วแต่เมื่อยังไม่ได้เสียค่าธรรมเนียมเนื่องจากการฟ้องเรียกดอกเบี้ยมารวมทั้ง 3 ศาลเช่นนี้ ศาลฎีกามีอำนาจสั่งให้เรียกได้ เมื่อเสียค่าธรรมเนียมแล้ว จึงจะพิจารณาวินิจฉัยต่อไปเกี่ยวกับกรณีนี้ได้
3. จำเลยเป็นผู้จัดการธนาคารยักยอกเงินธนาคาร ถือว่าเป็นการกระทำในฐานเป็นผู้มีอาชีพหรือธุรกิจอันย่อมเป็นที่ไว้วางใจของประชาชนตามถ้อยคำในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 354 แล้ว
4. ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 354 เป็นคุณแก่จำเลยว่ากฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 319
(ข้อ 2 โดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 26/2505)