พบผลลัพธ์ทั้งหมด 173 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1683/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมไม่สมบูรณ์และสิทธิในมรดก: บันทึกแบ่งทรัพย์ต้องมีลายมือชื่อหรือการแสดงเจตนาตามกฎหมายจึงจะมีผล
บันทึการแบ่งทรัพย์ที่เจ้ามรดกทำขึ้นมิได้ลงลายมือชื่อหรือลายพิมพ์นิ้วมือของเจ้าของมรดก จึงไม่มีผลเป็นพินัยกรรม แม้จะถือว่าเจ้ามรดกแสดงเจตนากำหนดข้อพินัยกรรมด้วยวาจาต่อหน้า ค. และ อ. เพราะเจ้ามรดกไม่สามารถจะทำพินัยกรรมตามแบบอื่นที่กำหนดไว้ได้ แต่ ค.และอ. ก็มิได้ไปแสดงตนต่อกรมการอำเภอและแจ้งข้อความผู้ที่ทำพินัยกรรมได้สั่งไว้ ตลอดจนวันเดือนปี สถานที่ที่ทำพินัยกรรม และพฤติการณ์พิเศษ บันทึกการแบ่งทรัพย์ย่อมตกเป็นโมฆะ ไม่มีผลเป็นพินัยกรรม จำเลยซึ่งมิได้เป็นภรรยาเจ้ามรดกโดยชอบด้วยกฎหมาย ไม่มีสิทธิอ้างเอาประโยชน์จากบันทึกนี้ได้ และไม่มีสิทธิรับมรดก
เจ้ามรดกยังไม่ได้ยกทรัพย์พิพาทให้จำเลย การให้ย่อมยังไม่สมบูรณ์
เจ้ามรดกยังไม่ได้ยกทรัพย์พิพาทให้จำเลย การให้ย่อมยังไม่สมบูรณ์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1529/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ประเด็นคำท้าการสืบพยานในคดีพินัยกรรม: การพิเคราะห์พยานหลักฐานเพื่อพิสูจน์ความชอบด้วยกฎหมายของพินัยกรรม
โจทก์บรรยายฟ้องว่า ก่อนเจ้ามรดกถึงแก่กรรม เจ้ามรดกมิได้ทำพินัยกรรมเกี่ยวกับทรัพย์สินใดๆ ไว้ หากจำเลยจะมีพินัยกรรมของเจ้ามรดก พินัยกรรมก็ปลอม เมื่อจำเลยยื่นคำให้การ ได้เสนอสำเนาพินัยกรรมมาท้ายคำให้การ โจทก์ยื่นคำร้องขอให้จำเลยส่งต้นฉบับต่อศาลก่อนวันชี้สองสถานเพื่อโจทก์จะได้ตรวจดู โจทก์แถลงว่า ต้องสอบลายมือในพินัยกรรมจากผู้รู้ลายมือของผู้ทำพินัยกรรม แล้วคู่ความเลื่อนวันชี้สองสถานไป พอถึงวันชี้สองสถานครั้งที่ 2 คู่ความแถลงต่อศาลว่า คู่ความตกลงกันสืบประเด็นเดียวว่า พินัยกรรมตามที่จำเลยอ้างเป็นพินัยกรรมที่ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ ดังนี้ ที่ว่า 'พินัยกรรมชอบด้วยกฎหมายหรือไม่' ตามที่คู่ความตกลงกันหรือท้ากันสืบนี้ หมายความถึงประเด็นที่คู่ความโต้เถียงกันก่อนว่าเจ้ามรดกได้ทำพินัยกรรมหรือไม่นั่นเอง ถ้านายอ่อนได้ทำพินัยกรรมฉบับนี้จริงโจทก์ก็แพ้คดีตามคำท้า แต่ถ้านายอ่อนไม่ได้ทำพินัยกรรมฉบับนี้ จำเลยก็แพ้คดีตามคำท้า ดังนั้นที่คู่ความนำสืบพยานหลักฐานในประเด็นที่ว่า นายอ่อนเจ้ามรดกทำพินัยกรรมหมาย ล.1หรือไม่ จึงอยู่ในประเด็นคำท้าที่คู่ความพิพาทโต้เถียงกัน หาใช่เป็นการนำสืบนอกประเด็นคำท้าไม่ และที่ศาลชั้นต้นวินิจฉัยพยานหลักฐานของคู่ความในประเด็นข้อนี้ ก็ถือได้ว่าเป็นการวินิจฉัยตามประเด็นคำท้า มิใช่นอกประเด็นคำท้าเช่นเดียวกัน.การที่คู่ความแถลงท้ากันศาลจดประเด็นคำท้า ใช้คำว่า'พินัยกรรมชอบด้วยกฎหมายหรือไม่' นั้น ไม่ทำให้ประเด็นคำท้าที่คู่ความพิพาทโต้เถียงกันมาก่อนเปลี่ยนแปลงไปเป็นอย่างอื่น เพราะคำว่า 'ชอบด้วยกฎหมาย'นี้ มีความหมายกว้างมาก การใดที่กฎหมายห้ามมิให้กระทำแต่ผู้ใดฝ่าฝืนไปกระทำการนั้นเข้า ต้องถือว่าการกระทำนั้นไม่ชอบด้วยกฎหมาย ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1656 ได้บัญญัติถึงแบบของพินัยกรรมธรรมดาไว้ว่าผู้ทำพินัยกรรมจะต้องลงลายมือชื่อในพินัยกรรม ถ้าผู้อื่นปลอมลายมือชื่อผู้ทำพินัยกรรมลงในพินัยกรรม ย่อมเป็นการฝ่าฝืนกฎหมาย พินัยกรรมถือว่าทำขึ้นผิดแบบ จึงเป็นพินัยกรรมที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย การที่พิเคราะห์ดูแต่ตัวพินัยกรรมอย่างเดียว โดยไม่ฟังคำพยานหลักฐานที่คู่ความนำสืบ จะไม่มีทางทราบได้เลยว่าลายมือชื่อผู้ทำพินัยกรรมในพินัยกรรมนั้นปลอมหรือไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1529/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ประเด็นคำท้าสืบพยานพินัยกรรมชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ การวินิจฉัยพยานหลักฐานต้องพิจารณาความแท้จริงของลายมือชื่อ
โจทก์บรรยายฟ้องว่า ก่อนเจ้ามรดกถึงแก่กรรม เจ้ามรดกมิได้ทำพินัยกรรมเกี่ยวกับทรัพย์สินใดๆ ไว้ หากจำเลยจะมีพินัยกรรมของเจ้ามรดก พินัยกรรมก็ปลอม เมื่อจำเลยยื่นคำให้การ ได้เสนอสำเนาพินัยกรรมมาท้ายคำให้การ โจทก์ยื่นคำร้องขอให้จำเลยส่งต้นฉบับต่อศาลก่อนวันชี้สองสถานเพื่อโจทก์จะได้ตรวจดู โจทก์แถลงว่า ต้องสอบลายมือในพินัยกรรมจากผู้รู้ลายมือของผู้ทำพินัยกรรม แล้วคู่ความเลื่อนวันชี้สองสถานไป พอถึงวันชี้สองสถานครั้งที่ 2 คู่ความแถลงต่อศาลว่า คู่ความตกลงกันสืบประเด็นเดียวว่า พินัยกรรมตามที่จำเลยอ้างเป็นพินัยกรรมที่ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ ดังนี้ ที่ว่า "พินัยกรรมชอบด้วยกฎหมายหรือไม่" ตามที่คู่ความตกลงกันหรือท้ากันสืบนี้ หมายความถึงประเด็นที่คู่ความโต้เถียงกันก่อนว่าเจ้ามรดกได้ทำพินัยกรรมหรือไม่นั่นเอง ถ้านายอ่อนได้ทำพินัยกรรมฉบับนี้จริงโจทก์ก็แพ้คดีตามคำท้า แต่ถ้านายอ่อนไม่ได้ทำพินัยกรรมฉบับนี้ จำเลยก็แพ้คดีตามคำท้า ดังนั้นที่คู่ความนำสืบพยานหลักฐานในประเด็นที่ว่า นายอ่อนเจ้ามรดกทำพินัยกรรมหมายล.1หรือไม่ จึงอยู่ในประเด็นคำท้าที่คู่ความพิพาทโต้เถียงกัน หาใช่เป็นการนำสืบนอกประเด็นคำท้าไม่ และที่ศาลชั้นต้นวินิจฉัยพยานหลักฐานของคู่ความในประเด็นข้อนี้ ก็ถือได้ว่าเป็นการวินิจฉัยตามประเด็นคำท้า มิใช่นอกประเด็นคำท้าเช่นเดียวกันการที่คู่ความแถลงท้ากันศาลจดประเด็นคำท้า ใช้คำว่า"พินัยกรรมชอบด้วยกฎหมายหรือไม่" นั้น ไม่ทำให้ประเด็นคำท้าที่คู่ความพิพาทโต้เถียงกันมาก่อนเปลี่ยนแปลงไปเป็นอย่างอื่น เพราะคำว่า "ชอบด้วยกฎหมาย"นี้ มีความหมายกว้างมาก การใดที่กฎหมายห้ามมิให้กระทำแต่ผู้ใดฝ่าฝืนไปกระทำการนั้นเข้า ต้องถือว่าการกระทำนั้นไม่ชอบด้วยกฎหมาย ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1656 ได้บัญญัติถึงแบบของพินัยกรรมธรรมดาไว้ว่าผู้ทำพินัยกรรมจะต้องลงลายมือชื่อในพินัยกรรม ถ้าผู้อื่นปลอมลายมือชื่อผู้ทำพินัยกรรมลงในพินัยกรรม ย่อมเป็นการฝ่าฝืนกฎหมาย พินัยกรรมถือว่าทำขึ้นผิดแบบ จึงเป็นพินัยกรรมที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย การที่พิเคราะห์ดูแต่ตัวพินัยกรรมอย่างเดียว โดยไม่ฟังคำพยานหลักฐานที่คู่ความนำสืบ จะไม่มีทางทราบได้เลยว่าลายมือชื่อผู้ทำพินัยกรรมในพินัยกรรมนั้นปลอมหรือไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1529/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ประเด็นคำท้าการพิสูจน์พินัยกรรมชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ การนำสืบพยานหลักฐานต้องอยู่ในประเด็นคำท้า
โจทก์บรรยายฟ้องว่า ก่อนเจ้ามรดกถึงแก่กรรม เจ้ามรดกมิได้ทำพินัยกรรมเกี่ยวกับทรัพย์สินใดๆ ไว้. หากจำเลยจะมีพินัยกรรมของเจ้ามรดก พินัยกรรมก็ปลอม. เมื่อจำเลยยื่นคำให้การ ได้เสนอสำเนาพินัยกรรมมาท้ายคำให้การ. โจทก์ยื่นคำร้องขอให้จำเลยส่งต้นฉบับต่อศาลก่อนวันชี้สองสถานเพื่อโจทก์จะได้ตรวจดู. โจทก์แถลงว่า ต้องสอบลายมือในพินัยกรรมจากผู้รู้ลายมือของผู้ทำพินัยกรรม. แล้วคู่ความเลื่อนวันชี้สองสถานไป. พอถึงวันชี้สองสถานครั้งที่ 2คู่ความแถลงต่อศาลว่า คู่ความตกลงกันสืบประเด็นเดียวว่า. พินัยกรรมตามที่จำเลยอ้างเป็นพินัยกรรมที่ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่. ดังนี้ ที่ว่า 'พินัยกรรมชอบด้วยกฎหมายหรือไม่' ตามที่คู่ความตกลงกันหรือท้ากันสืบนี้. หมายความถึงประเด็นที่คู่ความโต้เถียงกันก่อนว่าเจ้ามรดกได้ทำพินัยกรรมหรือไม่นั่นเอง. ถ้านายอ่อนได้ทำพินัยกรรมฉบับนี้จริงโจทก์ก็แพ้คดีตามคำท้า. แต่ถ้านายอ่อนไม่ได้ทำพินัยกรรมฉบับนี้ จำเลยก็แพ้คดีตามคำท้า. ดังนั้นที่คู่ความนำสืบพยานหลักฐานในประเด็นที่ว่า นายอ่อนเจ้ามรดกทำพินัยกรรมหมายล.1หรือไม่. จึงอยู่ในประเด็นคำท้าที่คู่ความพิพาทโต้เถียงกัน. หาใช่เป็นการนำสืบนอกประเด็นคำท้าไม่. และที่ศาลชั้นต้นวินิจฉัยพยานหลักฐานของคู่ความในประเด็นข้อนี้ ก็ถือได้ว่าเป็นการวินิจฉัยตามประเด็นคำท้า. มิใช่นอกประเด็นคำท้าเช่นเดียวกัน.การที่คู่ความแถลงท้ากันศาลจดประเด็นคำท้า ใช้คำว่า'พินัยกรรมชอบด้วยกฎหมายหรือไม่' นั้น. ไม่ทำให้ประเด็นคำท้าที่คู่ความพิพาทโต้เถียงกันมาก่อนเปลี่ยนแปลงไปเป็นอย่างอื่น. เพราะคำว่า 'ชอบด้วยกฎหมาย'นี้ มีความหมายกว้างมาก. การใดที่กฎหมายห้ามมิให้กระทำ.แต่ผู้ใดฝ่าฝืนไปกระทำการนั้นเข้า. ต้องถือว่าการกระทำนั้นไม่ชอบด้วยกฎหมาย. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1656 ได้บัญญัติถึงแบบของพินัยกรรมธรรมดาไว้ว่า.ผู้ทำพินัยกรรมจะต้องลงลายมือชื่อในพินัยกรรม. ถ้าผู้อื่นปลอมลายมือชื่อผู้ทำพินัยกรรมลงในพินัยกรรม ย่อมเป็นการฝ่าฝืนกฎหมาย. พินัยกรรมถือว่าทำขึ้นผิดแบบ. จึงเป็นพินัยกรรมที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย. การที่พิเคราะห์ดูแต่ตัวพินัยกรรมอย่างเดียว โดยไม่ฟังคำพยานหลักฐานที่คู่ความนำสืบ. จะไม่มีทางทราบได้เลยว่าลายมือชื่อผู้ทำพินัยกรรมในพินัยกรรมนั้นปลอมหรือไม่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1253/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พยานรับรองลายพิมพ์นิ้วมือ ผู้ให้กู้เป็นพยานได้
ไม่มีบทกฎหมายใดห้ามมิให้ผู้ให้กู้ลงชื่อเป็นพยานรับรองลายพิมพ์นิ้วมือของผู้กู้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1253/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พยานรับรองลายพิมพ์นิ้วมือ ผู้ให้กู้ลงชื่อได้ ไม่มีข้อห้ามตามกฎหมาย
ไม่มีบทกฎหมายใดห้ามมิให้ผู้ให้กู้ลงชื่อเป็นพยานรับรองลายพิมพ์นิ้วมือของผู้กู้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1253/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พยานรับรองลายพิมพ์นิ้วมือ ผู้ให้กู้ลงชื่อได้ ไม่ขัดกฎหมาย
ไม่มีบทกฎหมายใดห้ามมิให้ผู้ให้กู้ลงชื่อเป็นพยานรับรองลายพิมพ์นิ้วมือของผู้กู้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1174/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมอุทิศศพ: ศพเป็นวัตถุแห่งเจตนาที่สามารถกำหนดในพินัยกรรมได้ แม้ไม่ใช่ทรัพย์สิน
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1646 นอกจากผู้ตายจะแสดงเจตนากำหนดการเผื่อตายในเรื่องทรัพย์สินแล้วยังแสดงเจตนาในการต่างๆ อันจะให้เกิดเป็นผลบังคับได้ตามกฎหมายเมื่อตนตายก็ได้ คำว่าการต่างๆตามที่กฎหมายบัญญัตินั้น ก็สุดแต่ผู้ตายจะได้แสดงเจตนากำหนดการเผื่อตายในการต่างๆ ไว้ หากชอบด้วยกฎหมายแล้ว แม้จะไม่เกี่ยวกับทรัพย์สิน ก็มีผลบังคับได้ตามพินัยกรรมเมื่อตนตายแล้ว และการต่างๆนั้นมิใช่จะต้องมีกฎหมายระบุไว้ว่าเป็นการใดบ้าง
ผู้ตายได้แสดงเจตนากำหนดการเผื่อตายเกี่ยวกับศพของผู้ตายโดยอุทิศศพของผู้ตายให้แก่กรมมหาวิทยาลัยแพทย์ศาสตร์โดยทำถูกต้องตามแบบพินัยกรรมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1656 พินัยกรรมของผู้ตายนั้นย่อมสมบูรณ์
ผู้ตายได้แสดงเจตนากำหนดการเผื่อตายเกี่ยวกับศพของผู้ตายโดยอุทิศศพของผู้ตายให้แก่กรมมหาวิทยาลัยแพทย์ศาสตร์โดยทำถูกต้องตามแบบพินัยกรรมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1656 พินัยกรรมของผู้ตายนั้นย่อมสมบูรณ์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1174/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การอุทิศศพตามพินัยกรรม: ศพไม่ใช่ทรัพย์สิน แต่พินัยกรรมสมบูรณ์หากแสดงเจตนาชัดเจน
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1646 นอกจากผู้ตายจะแสดงเจตนากำหนดการเผื่อตายในเรื่องทรัพย์สินแล้ว ยังแสดงเจตนาในการต่าง ๆ อันจะให้เกิดเป็นผลบังคับได้ตามกฎหมายเมื่อตนตายก็ได้ คำว่าการต่าง ๆ ตามที่กฎหมายบัญญัตินั้น ก็สุดแต่ผู้ตายจะได้แสดงเจตนากำหนดการเผื่อตายในการต่าง ๆ ไว้ หากชอบด้วยกฎหมายแล้ว แม้จะไม่เกี่ยวกับทรัพย์สิน ก็มีผลบังคับได้ตามพินัยกรรมเมื่อตนตายแล้ว และการต่าง ๆ นั้นมิใช่จะต้องมีกฎหมายระบุไว้ว่าเป็นการใดบ้าง
ผู้ตายได้แสดงเจตนากำหนดการเผื่อตายเกี่ยวกับศพของผู้ตายโดยอุทิศศพของผู้ตายให้แก่กรมมหาวิทยาลัยแพทย์ศาสตร์ โดยทำถูกต้องตามแบบพินัยกรรมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1656 พินัยกรรมของผู้ตายนั้นย่อมสมบูรณ์
ผู้ตายได้แสดงเจตนากำหนดการเผื่อตายเกี่ยวกับศพของผู้ตายโดยอุทิศศพของผู้ตายให้แก่กรมมหาวิทยาลัยแพทย์ศาสตร์ โดยทำถูกต้องตามแบบพินัยกรรมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1656 พินัยกรรมของผู้ตายนั้นย่อมสมบูรณ์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 336/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พยานในพินัยกรรมเป็นผู้รับทรัพย์ไม่ได้ แต่สภาพการเป็นพยานไม่เสียไป พินัยกรรมสมบูรณ์หากมีพยานเพียงพอ
การที่ผู้รับทรัพย์ตามพินัยกรรมลงนามเป็นพยานในพินัยกรรมด้วยนั้น มีผลทำให้เป็นผู้รับทรัพย์ตามพินัยกรรมนั้นไม่ได้ แต่สภาพแห่งการลงนามเป็นพยานในพินัยกรรมหาเสียตามไปไม่ คงยังถือว่าเป็นพยานในพินัยกรรมนั้น และพินัยกรรมนั้นยังสมบูรณ์อยู่ สำหรับผู้รับทรัพย์ตามพินัยกรรมที่ไม่ได้ลงนามเป็นพยานด้วย
ผู้รับทรัพย์ตามพินัยกรรมลงนามเป็นผู้รับมอบทรัพย์ตามพินัยกรรมนั้นได้ ไม่ถือว่าการลงนามนั้นเป็นพยานในพินัยกรรม
ผู้รับทรัพย์ตามพินัยกรรมลงนามเป็นผู้รับมอบทรัพย์ตามพินัยกรรมนั้นได้ ไม่ถือว่าการลงนามนั้นเป็นพยานในพินัยกรรม