พบผลลัพธ์ทั้งหมด 266 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3180/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความหนี้ตามเช็คในคดีล้มละลาย: เช็คขาดอายุความ 1 ปี ทำให้เจ้าหนี้ไม่สามารถขอรับชำระหนี้ได้
เจ้าหนี้ขอรับชำระหนี้โดยอาศัยมูลหนี้ตามเช็ค มิใช่ตามสัญญากู้ เมื่อเจ้าหนี้นำเช็คมายื่นขอรับชำระหนี้เกิน 1 ปี จึงขาดอายุความ ต้องห้ามมิให้ขอรับชำระหนี้ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 94 (1)
การยื่นคำร้องขอรับชำระหนี้ตามเช็คในคดีล้มละลายไม่ใช่คดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับความผิดทางอาญาฐานออกเช็คโดยเจตนาจะไม่ให้มีการใช้เงินตามเช็ค ดังนั้น การที่เจ้าหนี้ฟ้องลูกหนี้เป็นคดีอาญา ไม่ทำให้อายุความฟ้องคดีแพ่งเปลี่ยนแปลงไปตามมาตรา 51 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
การยื่นคำร้องขอรับชำระหนี้ตามเช็คในคดีล้มละลายไม่ใช่คดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับความผิดทางอาญาฐานออกเช็คโดยเจตนาจะไม่ให้มีการใช้เงินตามเช็ค ดังนั้น การที่เจ้าหนี้ฟ้องลูกหนี้เป็นคดีอาญา ไม่ทำให้อายุความฟ้องคดีแพ่งเปลี่ยนแปลงไปตามมาตรา 51 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3180/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความหนี้ตามเช็คในคดีล้มละลาย: เช็คขาดอายุความ 1 ปี เจ้าหนี้ขอรับชำระหนี้ไม่ได้
เจ้าหนี้ขอรับชำระหนี้โดยอาศัยมูลหนี้ตามเช็ค มิใช่ตามสัญญากู้ เมื่อเจ้าหนี้นำเช็คมายื่นขอรับชำระหนี้เกิน 1 ปีจึงขาดอายุความ ต้องห้ามมิให้ขอรับชำระหนี้ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 94(1) การยื่นคำร้องขอรับชำระหนี้ตามเช็คในคดีล้มละลายไม่ใช่คดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับความผิดทางอาญาฐานออกเช็คโดยเจตนาจะไม่ให้มีการใช้เงินตามเช็ค ดังนั้น การที่เจ้าหนี้ฟ้องลูกหนี้เป็นคดีอาญา ไม่ทำให้อายุความฟ้องคดีแพ่งเปลี่ยนแปลงไปตามมาตรา 51แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3180/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความหนี้ตามเช็คในคดีล้มละลาย: เช็คขาดอายุความทำให้เจ้าหนี้ไม่สามารถขอรับชำระหนี้ได้
เจ้าหนี้ขอรับชำระหนี้โดยอาศัยมูลหนี้ตามเช็ค มิใช่ตามสัญญากู้ เมื่อเจ้าหนี้นำเช็คมายื่นขอรับชำระหนี้เกิน 1 ปี จึงขาดอายุความ ต้องห้ามมิให้ขอรับชำระหนี้ตามพระราชบัญญัติ ล้มละลายพ.ศ. 2483 มาตรา 94(1) การยื่นคำร้องขอรับชำระหนี้ตามเช็คในคดีล้มละลายไม่ใช่คดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับความผิดทางอาญาฐานออกเช็คโดยเจตนาจะไม่ให้มีการใช้เงินตามเช็ค การที่เจ้าหนี้ฟ้องลูกหนี้เป็นคดีอาญาจึงไม่ทำให้อายุความฟ้องคดีแพ่งเปลี่ยนแปลงไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 51
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1765/2531
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องล้มละลาย: การดำเนินการบังคับคดีสะดุดอายุความ
ศาลมีคำพิพากษาถึงที่สุดเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2516 โจทก์ได้ร้องขอให้บังคับคดีตามคำพิพากษาเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2516จากนั้นเจ้าพนักงานบังคับคดีได้ดำเนินการชั้นบังคับคดีโดยยึดทรัพย์จำเลยและประกาศขายทอดตลาดทรัพย์ที่ยึดหลายครั้งและศาลอนุญาตให้ขายทอดตลาดทรัพย์ได้เงินจากการขายทอดตลาดมาหักหนี้ตามคำพิพากษา เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2517 การดำเนินการชั้นบังคับคดีนับแต่วันที่ 11 พฤษภาคม 2516 ถึงวันที่ 21 สิงหาคม 2517 เป็นการดำเนินการภายในสิบปีนับแต่วันมีคำพิพากษาคดีดังกล่าว ทั้งเป็นการกระทำอื่นใด นับว่ามีผลอย่างเดียวกับการฟ้องคดีเพื่อตั้งหลักฐานสิทธิเรียกร้องและเพื่อให้ใช้หนี้ตามที่เรียกร้อง ย่อมเป็นเหตุให้อายุความสะดุดหยุดลงนับตั้งแต่วันที่ 21 สิงหาคม 2517 ตามความในมาตรา 173 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ โจทก์ฟ้องคดีล้มละลายนี้เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2517 ยังไม่ล่วงเลยกำหนดเวลาสิบปีฟ้องโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2903/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องคดีชดใช้ค่าเสียหายจากพนักงานที่ยักยอกทรัพย์สิน และการรับสภาพหนี้
วัสดุที่ขาดบัญชีอยู่ในครอบครองและรับผิดชอบของจำเลย หากจำเลยยักย้ายเอาทรัพย์สินของโจทก์ไปโจทก์ย่อมมีสิทธิติดตามและเอาคืนซึ่งทรัพย์สินของโจทก์จากจำเลยผู้ไม่มีสิทธิจะยึดถือไว้ได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1336การที่โจทก์ขอให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาทรัพย์ไม่ใช่เรื่องละเมิด จึงไม่มีอายุความในการฟ้องคดี เมื่อจำเลยทำละเมิดต่อโจทก์ การที่รองผู้ว่าการไฟฟ้านครหลวงทำบันทึกให้จำเลยกับ ฉ. ร่วมกันชดใช้ราคาของที่หายและจำเลยเซ็นชื่อรับทราบคำสั่งในบันทึกดังกล่าว ถือไม่ได้ว่าจำเลยยอมรับผิดตามบันทึกเพราะจำเลยเพียงแต่เซ็นชื่อรับทราบคำสั่งของรองผู้ว่าการไฟฟ้านครหลวงเท่านั้นโจทก์จะฟ้องร้องบังคับคดีให้จำเลยรับผิดตามบันทึกไม่ได้ และถือไม่ได้ว่าสิทธิเรียกร้องของโจทก์เกี่ยวกับความเสียหายดังกล่าวตั้งหลักฐานขึ้นโดยประนีประนอมยอมความการที่จำเลยผ่อนชำระเงินให้โจทก์เป็นการรับสภาพต่อเจ้าหนี้ด้วยใช้เงินบางส่วน เป็นเหตุให้อายุความสะดุดหยุดลงเท่านั้น โจทก์มีวัตถุประสงค์ในการจัดหาจำหน่ายพลังงานไฟฟ้า หรือประกอบธุรกิจเกี่ยวกับพลังงานไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้ามิใช่บุคคลผู้เป็นพ่อค้าน้ำมันเบนซิน สิทธิเรียกร้องของโจทก์ในการที่จะเรียกเอาค่าน้ำมันเบนซินจากจำเลยจึงมีอายุความ 10 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2903/2528 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องคดีเบียดบังทรัพย์สิน, ละเมิด, และค่าน้ำมันเบนซิน: หลักการและข้อยกเว้น
วัสดุที่ขาดบัญชีอยู่ในครอบครองและรับผิดชอบของจำเลย หากจำเลยยักย้ายเอาทรัพย์สินของโจทก์ไป โจทก์ย่อมมีสิทธิติดตามและเอาคืนซึ่งทรัพย์สินของโจทก์จากจำเลยผู้ไม่มีสิทธิจะยึดถือไว้ได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย ์มาตรา 1336 การที่โจทก์ขอให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาทรัพย์ไม่ใช่เรื่องละเมิด จึงไม่มีอายุความในการฟ้องคดี
เมื่อจำเลยทำละเมิดต่อโจทก์ การที่รองผู้ว่าการไฟฟ้านครหลวงทำบันทึกให้จำเลยกับ ฉ. ร่วมกันชดใช้ราคาของที่หายและจำเลยเซ็นชื่อรับทราบคำสั่งในบันทึกดังกล่าว ถือไม่ได้ว่าจำเลยยอมรับผิดตามบันทึกเพราะจำเลยเพียงแต่เซ็นชื่อรับทราบคำสั่งของรองผู้ว่าการไฟฟ้านครหลวงเท่านั้นโจทก์จะฟ้องร้องบังคับคดีให้จำเลยรับผิดตามบันทึกไม่ได้ และถือไม่ได้ว่าสิทธิเรียกร้องของโจทก์เกี่ยวกับความเสียหายดังกล่าวตั้งหลักฐานขึ้นโดยประนีประนอมยอมความการที่จำเลยผ่อนชำระเงินให้โจทก์เป็นการรับสภาพต่อเจ้าหนี้ด้วยใช้เงินบางส่วน เป็นเหตุให้อายุความสะดุดหยุดลงเท่านั้น
โจทก์มีวัตถุประสงค์ในการจัดหาจำหน่ายพลังงานไฟฟ้า หรือประกอบธุรกิจเกี่ยวกับพลังงานไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้ามิใช่บุคคลผู้เป็นพ่อค้าน้ำมันเบนซิน สิทธิเรียกร้องของโจทก์ในการที่จะเรียกเอาค่าน้ำมันเบนซินจากจำเลยจึงมีอายุความ 10 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164
เมื่อจำเลยทำละเมิดต่อโจทก์ การที่รองผู้ว่าการไฟฟ้านครหลวงทำบันทึกให้จำเลยกับ ฉ. ร่วมกันชดใช้ราคาของที่หายและจำเลยเซ็นชื่อรับทราบคำสั่งในบันทึกดังกล่าว ถือไม่ได้ว่าจำเลยยอมรับผิดตามบันทึกเพราะจำเลยเพียงแต่เซ็นชื่อรับทราบคำสั่งของรองผู้ว่าการไฟฟ้านครหลวงเท่านั้นโจทก์จะฟ้องร้องบังคับคดีให้จำเลยรับผิดตามบันทึกไม่ได้ และถือไม่ได้ว่าสิทธิเรียกร้องของโจทก์เกี่ยวกับความเสียหายดังกล่าวตั้งหลักฐานขึ้นโดยประนีประนอมยอมความการที่จำเลยผ่อนชำระเงินให้โจทก์เป็นการรับสภาพต่อเจ้าหนี้ด้วยใช้เงินบางส่วน เป็นเหตุให้อายุความสะดุดหยุดลงเท่านั้น
โจทก์มีวัตถุประสงค์ในการจัดหาจำหน่ายพลังงานไฟฟ้า หรือประกอบธุรกิจเกี่ยวกับพลังงานไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้ามิใช่บุคคลผู้เป็นพ่อค้าน้ำมันเบนซิน สิทธิเรียกร้องของโจทก์ในการที่จะเรียกเอาค่าน้ำมันเบนซินจากจำเลยจึงมีอายุความ 10 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2263/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องคดีจากสัญญาประนีประนอมยอมความ แม้มีการแย่งการครอบครอง อายุความ 10 ปีตาม ปพพ. มาตรา 168
การฟ้องคดีของโจทก์โดยอาศัยสิทธิอันตั้งหลักฐานขึ้นโดยสัญญาประนีประนอมยอมความ มีอายุความ 10 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 168 แม้จำเลยจะแย่งการครอบครองที่พิพาทจากโจทก์ไปเกินกว่า 1 ปี แต่นับถึงวันฟ้องยังไม่ครบ 10 ปี ฟ้องโจทก์จึงหาขาดอายุความไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 331/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนังสือค้ำประกัน - สำคัญผิด - ผิดนัดชำระหนี้ - สิทธิของผู้ค้ำประกัน - อายุความ
คำพิพากษาศาลชั้นต้นพิมพ์นามสกุลจำเลยที่ 1 "คล่องอักขระ" ผิดเป็น "คล่องอักษร" เป็นการพิมพ์ผิดพลาดเล็กน้อย ศาลมีอำนาจแก้ให้ถูกต้องได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 143
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 1 เป็นลูกค้าของโจทก์โดยมีบัญชีเงินฝากอยู่ในธนาคารโจทก์สาขาคลองตันและสาขาสุขุมวิท 57 จำเลยที่ 1 ได้นำเช็คเดินทางและเช็คส่วนตัวมาเข้าบัญชีในสาขาทั้งสองเพื่อให้เรียกเก็บเงินจากธนาคารต่างประเทศ แต่ปรากฏว่าเช็คที่จำเลยที่ 1 นำมาเข้านั้นเรียกเก็บเงินไม่ได้ด้วยเหตุต่าง ๆ เมื่อจำเลยที่ 1 นำเช็คมาเข้าบัญชี เจ้าหน้าที่สาขาทั้งสองของโจทก์ได้เปลี่ยนค่าเงินตราเป็นเงินไทยและเข้าในบัญชีกระแสรายวันของจำเลยที่ 1 โดยยังมิได้ทราบผลว่าเช็คที่จำเลยที่ 1 นำมาเข้าเรียกเงินได้หรือไม่ เป็นผิดระเบียบของโจทก์ โจทก์สงสัยว่าจำเลยที่ 1 กับเจ้าหน้าที่ของโจทก์จะยักยอกฉ้อโกงโจทก์จึงร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวนกองปราบปรามให้ดำเนินคดีแก่จำเลยที่ 1 จำเลยที่ 1 ได้ทำบันทึกข้อตกลงยอมชดใช้เงินให้โจทก์ โดยมีจำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันและสัญญาว่าจะจำนองที่ดินของจำเลยที่ 2 เป็นประกันหนี้สินและความรับผิดของจำเลยทั้งสองด้วย แต่จำเลยทั้งสองบิดพลิ้ว จึงฟ้องเรียกเงินจากจำเลยทั้งสองตามสัญญา ดังนี้ ตามคำฟ้องของโจทก์โจทก์ได้ฟ้องของให้บังคับจำเลยใช้หนี้ให้โจทก์ตามบันทึกข้อตกลงและสัญญาค้ำประกัน คำฟ้องดังกล่าวได้แสดงโดยแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหาและคำขอบังคับ ทั้งข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาตามที่ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 172 บัญญัติไว้แล้ว คำฟ้องโจทก์ไม่เคลือบคลุม
บันทึกข้อตกลงที่จำเลยที่ 1 กับพวกทำกับโจทก์ในข้อ 1 ระบุว่าจำเลยที่ 1 ได้นำเช็คต่าง ๆ มาให้โจทก์สาขาคลองตันและสาขาสุขุมวิท 57 เรียกเก็บเงินจากธนาคารต่างประเทศ และสาขาทั้สองได้นำเข้าบัญชีกระแสรายวันแล้วเท่าที่ตรวจพบในขณะทำบันทึกมีจำนวนประมาณ 5,035,407 บาทนั้น จำเลยที่ 1 ยอมชดใช้เงินจำนวนนี้ให้กับธนาคารโจทก์เป็นงวด ๆ ตามที่ปรากฏในสัญญาข้อ 2 และเพื่อเป็นหลักประกันจำเลยที่ 1 จะจัดให้จำเลยที่ 2 นำที่ดินโฉนดที่ 1193 มาจำนองเป็นหลักประกันภายในวงเงินไม่เกิน 3,000,000 บาท และทั้งสองฝ่ายไม่ติดใจที่จะดำเนินคดีในทางแพ่งและอาญากันต่อไป ตอนท้ายของบันทึกลงชื่อของจำเลยที่ 1 กับพวก และนายสำราญผู้รับมอบอำนาจจากโจทก์ ตามบันทึกข้อตกลงนี้มีลักษณะเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความที่ทั้งสองฝ่ายมุ่งประสงค์ที่จะระงับข้อพิพาทในทางแพ่งและทางอาญาต่อกัน ข้อตกลงที่ว่าโจทก์จะถอนคำร้องทุกข์ให้ต่อเมื่อมีการจดทะเบียนจำนองและจำเลยที่ 1 กับพวกจะไม่ดำเนินการกล่าวหาโจทก์หรือพนักงานของโจทก์นั้น เป็นหนี้หรือนัยหนึ่งข้อตกลงในสัญญาที่ลูกหนี้คือจำเลยที่ 1 จะต้องปฏิบัติก่อนที่โจทก์จะถอนคำร้องทุกข์ มิใช่เป็นเงื่อนไขที่เป็นไปได้หรือไม่สุดแล้วแต่ใจของลูกหนี้อันจะเป็นเหตุให้จำเลยที่ 2 หลุดพ้นความรับผิด เมื่อจำเลยที่ 1 ไม่สามารถจัดการให้จำเลยที่ 2 จดทะเบียนจำนองตามข้อตกลง จำเลยที่ 1 ก็เป็นฝ่ายผิดสัญญา ข้อตกลงระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 มิใช่เป็นเงื่อนไขแห่งนิติกรรมที่เงื่อนไขจะสำเร็จหรือไม่สุดแต่ใจของลูกหนี้
โจทก์ฟ้องจำเลยทั้งสองให้รับผิดชอบตามบันทึกข้อตกลงและตามหนังสือค้ำประกัน แม้ว่าตามฟ้องโจทก์จะได้บรรยายถึงเรื่องการที่จำเลยที่ 1 นำเช็คมาเข้าบัญชีให้โจทก์เรียกเก็บเงินและเช็คเก็บเงินไม่ได้และถูกส่งคืนก็เป็นแต่เพียงมูลเหตุถึงที่มาของการทำบันทึกข้อตกลงและหนังสือค้ำประกันขึ้นเท่านั้นฟ้องโจทก์เป็นฟ้องเรียกเงินตามสัญญา ซึ่งจำเลยทั้งสองได้ทำให้โจทก์ยึดถือไว้ซึ่งอายุความฟ้องคดีชนิดนี้กฎหมายไม่ได้บัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น จึงมีสิทธิฟ้องได้ภายในอายุความสิบปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164
เมื่อจำเลยที่ 1 ผิดนัดโจทก์ก็มีสิทธิฟ้องบังคับจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันชำระหนี้ได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 686 และเมื่อจำเลยผิดสัญญา การที่โจทก์จะบอกเลิกสัญญาหรือไม่เป็นสิทธิของโจทก์เมื่อโจทก์ไม่ได้บอกเลิกสัญญาสัญญาก็ยังมีอยู่ โจทก์มีสิทธิที่จะร้องต่อศาลให้สั่งบังคับจำเลยให้ชำระหนี้แก่โจทก์ได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 213
จำเลยที่ 1 ให้การต่อสู้คดีว่าจำเลยที่ 1 ทำบันทึกข้อตกลงไปโดยถูกข่มขู่ จำเลยที่ 1 มิได้เป็นหนี้โจทก์ แสดงว่าจำเลยที่ 1 ไม่ยอมปฏิบัติตามสัญญาโดยสิ้นเชิง มิใช่แต่เพียงไม่ยอมรับผิดตามข้อสัญญาในเรื่องชำระหนี้แต่ละงวด โจทก์ย่อมมีสิทธิที่จะฟ้องเรียกเงินได้ทั้งหมดเมื่อมีการผิดสัญญาเกิดขึ้นไม่ใช่เฉพาะแต่งวดที่ผิดสัญญา เมื่อจำเลยที่ 1 ผิดนัด โจทก์ย่อมมีสิทธิฟ้องจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันให้ชำระหนี้ได้ และจำเลยที่ 2 ไม่มีสิทธิที่จะอ้างเงื่อนเวลาเป็นข้อต่อสู้ได้ เพราะจำเลยที่ 2 ให้การสู้คดีโจทก์ว่าจำเลยที่ 2 ไม่ได้เป็นหนี้โจทก์เนื่องจากทำหนังสือค้ำประกันโดยสำคัญผิด เท่ากับสละประโยชน์แห่งเงื่อนเวลาเสียแล้ว
จำเลยที่ 1 ให้การรับว่าได้ทำบันทึกข้อตกลงให้โจทก์ไว้จริง แต่ต่อสู้ว่าทำโดยถูกข่มขู่ ส่วนจำเลยที่ 2 ให้การรับว่าได้ทำหนังสือค้ำประกันไว้จริง แต่ต่อสู้ว่ากระทำโดยสำคัญผิดว่าเป็นเรื่องเกี่ยวกับประกันตัวจำเลยที่ 1 ฉะนั้นประเด็นที่ว่าจำเลยที่ 1 ถูกข่มขู่หรือไม่ และจำเลยที่ 2 สำคัญผิดหรือไม่จึงเป็นข้อเท็จจริงที่จำเลยทั้งสองกล่าวอ้างขึ้นมาใหม่ ภาระการพิสูจน์ข้อเท็จจริงดังกล่าวจึงตกเป็นหน้าที่ของจำเลยทั้งสองเป็นฝ่ายนำสืบก่อนไม่ใช่ฝ่ายโจทก์
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 1 เป็นลูกค้าของโจทก์โดยมีบัญชีเงินฝากอยู่ในธนาคารโจทก์สาขาคลองตันและสาขาสุขุมวิท 57 จำเลยที่ 1 ได้นำเช็คเดินทางและเช็คส่วนตัวมาเข้าบัญชีในสาขาทั้งสองเพื่อให้เรียกเก็บเงินจากธนาคารต่างประเทศ แต่ปรากฏว่าเช็คที่จำเลยที่ 1 นำมาเข้านั้นเรียกเก็บเงินไม่ได้ด้วยเหตุต่าง ๆ เมื่อจำเลยที่ 1 นำเช็คมาเข้าบัญชี เจ้าหน้าที่สาขาทั้งสองของโจทก์ได้เปลี่ยนค่าเงินตราเป็นเงินไทยและเข้าในบัญชีกระแสรายวันของจำเลยที่ 1 โดยยังมิได้ทราบผลว่าเช็คที่จำเลยที่ 1 นำมาเข้าเรียกเงินได้หรือไม่ เป็นผิดระเบียบของโจทก์ โจทก์สงสัยว่าจำเลยที่ 1 กับเจ้าหน้าที่ของโจทก์จะยักยอกฉ้อโกงโจทก์จึงร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวนกองปราบปรามให้ดำเนินคดีแก่จำเลยที่ 1 จำเลยที่ 1 ได้ทำบันทึกข้อตกลงยอมชดใช้เงินให้โจทก์ โดยมีจำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันและสัญญาว่าจะจำนองที่ดินของจำเลยที่ 2 เป็นประกันหนี้สินและความรับผิดของจำเลยทั้งสองด้วย แต่จำเลยทั้งสองบิดพลิ้ว จึงฟ้องเรียกเงินจากจำเลยทั้งสองตามสัญญา ดังนี้ ตามคำฟ้องของโจทก์โจทก์ได้ฟ้องของให้บังคับจำเลยใช้หนี้ให้โจทก์ตามบันทึกข้อตกลงและสัญญาค้ำประกัน คำฟ้องดังกล่าวได้แสดงโดยแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหาและคำขอบังคับ ทั้งข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาตามที่ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 172 บัญญัติไว้แล้ว คำฟ้องโจทก์ไม่เคลือบคลุม
บันทึกข้อตกลงที่จำเลยที่ 1 กับพวกทำกับโจทก์ในข้อ 1 ระบุว่าจำเลยที่ 1 ได้นำเช็คต่าง ๆ มาให้โจทก์สาขาคลองตันและสาขาสุขุมวิท 57 เรียกเก็บเงินจากธนาคารต่างประเทศ และสาขาทั้สองได้นำเข้าบัญชีกระแสรายวันแล้วเท่าที่ตรวจพบในขณะทำบันทึกมีจำนวนประมาณ 5,035,407 บาทนั้น จำเลยที่ 1 ยอมชดใช้เงินจำนวนนี้ให้กับธนาคารโจทก์เป็นงวด ๆ ตามที่ปรากฏในสัญญาข้อ 2 และเพื่อเป็นหลักประกันจำเลยที่ 1 จะจัดให้จำเลยที่ 2 นำที่ดินโฉนดที่ 1193 มาจำนองเป็นหลักประกันภายในวงเงินไม่เกิน 3,000,000 บาท และทั้งสองฝ่ายไม่ติดใจที่จะดำเนินคดีในทางแพ่งและอาญากันต่อไป ตอนท้ายของบันทึกลงชื่อของจำเลยที่ 1 กับพวก และนายสำราญผู้รับมอบอำนาจจากโจทก์ ตามบันทึกข้อตกลงนี้มีลักษณะเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความที่ทั้งสองฝ่ายมุ่งประสงค์ที่จะระงับข้อพิพาทในทางแพ่งและทางอาญาต่อกัน ข้อตกลงที่ว่าโจทก์จะถอนคำร้องทุกข์ให้ต่อเมื่อมีการจดทะเบียนจำนองและจำเลยที่ 1 กับพวกจะไม่ดำเนินการกล่าวหาโจทก์หรือพนักงานของโจทก์นั้น เป็นหนี้หรือนัยหนึ่งข้อตกลงในสัญญาที่ลูกหนี้คือจำเลยที่ 1 จะต้องปฏิบัติก่อนที่โจทก์จะถอนคำร้องทุกข์ มิใช่เป็นเงื่อนไขที่เป็นไปได้หรือไม่สุดแล้วแต่ใจของลูกหนี้อันจะเป็นเหตุให้จำเลยที่ 2 หลุดพ้นความรับผิด เมื่อจำเลยที่ 1 ไม่สามารถจัดการให้จำเลยที่ 2 จดทะเบียนจำนองตามข้อตกลง จำเลยที่ 1 ก็เป็นฝ่ายผิดสัญญา ข้อตกลงระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 มิใช่เป็นเงื่อนไขแห่งนิติกรรมที่เงื่อนไขจะสำเร็จหรือไม่สุดแต่ใจของลูกหนี้
โจทก์ฟ้องจำเลยทั้งสองให้รับผิดชอบตามบันทึกข้อตกลงและตามหนังสือค้ำประกัน แม้ว่าตามฟ้องโจทก์จะได้บรรยายถึงเรื่องการที่จำเลยที่ 1 นำเช็คมาเข้าบัญชีให้โจทก์เรียกเก็บเงินและเช็คเก็บเงินไม่ได้และถูกส่งคืนก็เป็นแต่เพียงมูลเหตุถึงที่มาของการทำบันทึกข้อตกลงและหนังสือค้ำประกันขึ้นเท่านั้นฟ้องโจทก์เป็นฟ้องเรียกเงินตามสัญญา ซึ่งจำเลยทั้งสองได้ทำให้โจทก์ยึดถือไว้ซึ่งอายุความฟ้องคดีชนิดนี้กฎหมายไม่ได้บัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น จึงมีสิทธิฟ้องได้ภายในอายุความสิบปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164
เมื่อจำเลยที่ 1 ผิดนัดโจทก์ก็มีสิทธิฟ้องบังคับจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันชำระหนี้ได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 686 และเมื่อจำเลยผิดสัญญา การที่โจทก์จะบอกเลิกสัญญาหรือไม่เป็นสิทธิของโจทก์เมื่อโจทก์ไม่ได้บอกเลิกสัญญาสัญญาก็ยังมีอยู่ โจทก์มีสิทธิที่จะร้องต่อศาลให้สั่งบังคับจำเลยให้ชำระหนี้แก่โจทก์ได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 213
จำเลยที่ 1 ให้การต่อสู้คดีว่าจำเลยที่ 1 ทำบันทึกข้อตกลงไปโดยถูกข่มขู่ จำเลยที่ 1 มิได้เป็นหนี้โจทก์ แสดงว่าจำเลยที่ 1 ไม่ยอมปฏิบัติตามสัญญาโดยสิ้นเชิง มิใช่แต่เพียงไม่ยอมรับผิดตามข้อสัญญาในเรื่องชำระหนี้แต่ละงวด โจทก์ย่อมมีสิทธิที่จะฟ้องเรียกเงินได้ทั้งหมดเมื่อมีการผิดสัญญาเกิดขึ้นไม่ใช่เฉพาะแต่งวดที่ผิดสัญญา เมื่อจำเลยที่ 1 ผิดนัด โจทก์ย่อมมีสิทธิฟ้องจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันให้ชำระหนี้ได้ และจำเลยที่ 2 ไม่มีสิทธิที่จะอ้างเงื่อนเวลาเป็นข้อต่อสู้ได้ เพราะจำเลยที่ 2 ให้การสู้คดีโจทก์ว่าจำเลยที่ 2 ไม่ได้เป็นหนี้โจทก์เนื่องจากทำหนังสือค้ำประกันโดยสำคัญผิด เท่ากับสละประโยชน์แห่งเงื่อนเวลาเสียแล้ว
จำเลยที่ 1 ให้การรับว่าได้ทำบันทึกข้อตกลงให้โจทก์ไว้จริง แต่ต่อสู้ว่าทำโดยถูกข่มขู่ ส่วนจำเลยที่ 2 ให้การรับว่าได้ทำหนังสือค้ำประกันไว้จริง แต่ต่อสู้ว่ากระทำโดยสำคัญผิดว่าเป็นเรื่องเกี่ยวกับประกันตัวจำเลยที่ 1 ฉะนั้นประเด็นที่ว่าจำเลยที่ 1 ถูกข่มขู่หรือไม่ และจำเลยที่ 2 สำคัญผิดหรือไม่จึงเป็นข้อเท็จจริงที่จำเลยทั้งสองกล่าวอ้างขึ้นมาใหม่ ภาระการพิสูจน์ข้อเท็จจริงดังกล่าวจึงตกเป็นหน้าที่ของจำเลยทั้งสองเป็นฝ่ายนำสืบก่อนไม่ใช่ฝ่ายโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2573/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประนีประนอมยอมความ: อายุความ 10 ปี เริ่มนับจากวันทำสัญญา ไม่ใช่ตามมูลหนี้เดิม
การที่จำเลยตกลงยอมชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ ป. เนื่องจากการกระทำละเมิดของลูกจ้างจำเลย เป็นการตกลงระงับข้อพิพาทซึ่งมีอยู่หรือจะมีขึ้นให้เสร็จไปด้วยต่างยอมผ่อนผันให้แก่กัน อันเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 850 ย่อมทำให้การเรียกร้องซึ่งแต่ละฝ่ายได้เรียกร้องนั้นระงับสิ้นไป และทำให้แต่ละฝ่ายได้สิทธิตามที่แสดงไว้ในสัญญาว่าเป็นของตนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 852 สิทธิเรียกร้องของ ป.ในมูลหนี้ละเมิดจึงระงับสิ้นไป และได้สิทธิเรียกร้องใหม่ตามสัญญาประนีประนอมยอมความ
สิทธิเรียกร้องอันตั้งหลักฐานโดยการประนีประนอมยอมความมีกำหนดอายุความ 10 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา168 มิใช่ถืออายุความตามมูลหนี้เดิม
สิทธิเรียกร้องอันตั้งหลักฐานโดยการประนีประนอมยอมความมีกำหนดอายุความ 10 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา168 มิใช่ถืออายุความตามมูลหนี้เดิม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2573/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประนีประนอมยอมความ: อายุความ 10 ปี เริ่มนับจากวันทำสัญญา ไม่ใช่ตามมูลหนี้เดิม
การที่จำเลยตกลงยอมชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ ป. เนื่องจากการกระทำละเมิดของลูกจ้างจำเลย เป็นการตกลงระงับข้อพิพาทซึ่งมีอยู่หรือจะมีขึ้นให้เสร็จไปด้วยต่างยอมผ่อนผันให้แก่กัน อันเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 850 ย่อมทำให้การเรียกร้องซึ่งแต่ละฝ่ายได้เรียกร้องนั้นระงับสิ้นไป และทำให้แต่ละฝ่ายได้สิทธิตามที่แสดงไว้ในสัญญาว่าเป็นของตนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 852 สิทธิเรียกร้องของ ป.ในมูลหนี้ละเมิดจึงระงับสิ้นไป และได้สิทธิเรียกร้องใหม่ตามสัญญาประนีประนอมยอมความ
สิทธิเรียกร้องอันตั้งหลักฐานโดยการประนีประนอมยอมความมีกำหนดอายุความ 10 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา168 มิใช่ถืออายุความตามมูลหนี้เดิม
สิทธิเรียกร้องอันตั้งหลักฐานโดยการประนีประนอมยอมความมีกำหนดอายุความ 10 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา168 มิใช่ถืออายุความตามมูลหนี้เดิม