พบผลลัพธ์ทั้งหมด 449 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 640-654/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าภาคหลวงไม้: การเรียกเก็บหลังไม้สูญหายเป็นโมฆะ และสิทธิในการรับเงินค่าภาคหลวงล่วงหน้าคืน
ตามพระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ.2484 มาตรา 14 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย ฉบับที่ 3 พ.ศ.2494 ที่บัญญัติไว้ว่า ถ้าผู้รับอนุญาตไม่ชำระค่าภาคหลวงให้เสร็จสิ้นภายในกำหนดเวลาที่บัญญัติไว้ให้ไม้ตกเป็นของแผ่นดินนั้นแสดงอยู่ในตัวว่าโจทก์จะเรียกเก็บค่าภาคหลวงตามมาตรา 14(2) ได้ก็ต่อเมื่อมีไม้อยู่ในเวลาที่เรียกเก็บค่าภาคหลวงมิฉะนั้นเมื่อผู้รับอนุญาตไม่ชำระ ก็ไม่มีไม้ตกเป็นของแผ่นดิน
โจทก์มีหนังสือเรียกเก็บค่าภาคหลวงจากจำเลยภายหลังที่ไม้ซึ่งมีรอยตราค่าภาคหลวงสูญหายไปหมด ไม่มีไม้เหลืออยู่จึงเป็นการเรียกเก็บค่าภาคหลวงที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งโจทก์จะเอาเงินมัดจำการตรวจตีตราค่าภาคหลวงจำนวน 30,000บาท นั้นไปหักชำระเป็นส่วนหนึ่งของเงินค่าภาคหลวงไม่ได้ทั้งโจทก์ไม่มีสิทธิที่จะฟ้องเรียกค่าภาคหลวงที่โจทก์ยังอ้างว่ายังขาดอยู่นั้นอีกด้วย โจทก์ชอบที่จะคืนเงิน 30,000 บาท ให้แก่จำเลยแต่ละรายตามส่วนการทำไม้ของจำเลย
โจทก์เรียกเก็บค่าภาคหลวงจากจำเลยภายหลังที่ไม้ที่มีตราค่าภาคหลวงทั้ง 1,021 ท่อนนั้นได้สูญหายไปหมด ไม่มีไม้เหลืออยู่จึงไม่มีไม้ที่ทำออกซึ่งจะต้องเสียค่าภาคหลวงโจทก์จึงเอาเงิน 30,000 บาทมาหักกลบลบกับค่าภาคหลวง ซึ่งจำเลยจะต้องชำระตามที่โจทก์อ้างหาได้ไม่ จำเลยแต่ละรายมีสิทธิที่จะได้รับค่าภาคหลวงล่วงหน้าตามใบอนุญาตของตนคืน
โจทก์มีหนังสือเรียกเก็บค่าภาคหลวงจากจำเลยภายหลังที่ไม้ซึ่งมีรอยตราค่าภาคหลวงสูญหายไปหมด ไม่มีไม้เหลืออยู่จึงเป็นการเรียกเก็บค่าภาคหลวงที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งโจทก์จะเอาเงินมัดจำการตรวจตีตราค่าภาคหลวงจำนวน 30,000บาท นั้นไปหักชำระเป็นส่วนหนึ่งของเงินค่าภาคหลวงไม่ได้ทั้งโจทก์ไม่มีสิทธิที่จะฟ้องเรียกค่าภาคหลวงที่โจทก์ยังอ้างว่ายังขาดอยู่นั้นอีกด้วย โจทก์ชอบที่จะคืนเงิน 30,000 บาท ให้แก่จำเลยแต่ละรายตามส่วนการทำไม้ของจำเลย
โจทก์เรียกเก็บค่าภาคหลวงจากจำเลยภายหลังที่ไม้ที่มีตราค่าภาคหลวงทั้ง 1,021 ท่อนนั้นได้สูญหายไปหมด ไม่มีไม้เหลืออยู่จึงไม่มีไม้ที่ทำออกซึ่งจะต้องเสียค่าภาคหลวงโจทก์จึงเอาเงิน 30,000 บาทมาหักกลบลบกับค่าภาคหลวง ซึ่งจำเลยจะต้องชำระตามที่โจทก์อ้างหาได้ไม่ จำเลยแต่ละรายมีสิทธิที่จะได้รับค่าภาคหลวงล่วงหน้าตามใบอนุญาตของตนคืน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 640-654/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าภาคหลวงไม้เมื่อไม้สูญหาย: สิทธิเรียกเก็บและคืนเงินมัดจำ
ตามพระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ.2484 มาตรา 14 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย ฉบับที่ 3 พ.ศ.2494 ที่บัญญัติไว้ว่า ถ้าผู้รับอนุญาตไม่ชำระค่าภาคหลวงให้เสร็จสิ้นภายในกำหนดเวลาที่บัญญัติไว้ ให้ไม้ตกเป็นของแผ่นดินนั้น แสดงอยู่ในตัวว่าโจทก์จะเรียกเก็บค่าภาคหลวงตามมาตรา 14(2) ได้ก็ต่อเมื่อมีไม้อยู่ในเวลาที่เรียกเก็บค่าภาคหลวงมิฉะนั้นเมื่อผู้รับอนุญาตไม่ชำระ ก็ไม่มีไม้ตกเป็นของแผ่นดิน
โจทก์มีหนังสือเรียกเก็บค่าภาคหลวงจากจำเลยภายหลังที่ไม้ซึ่งมีรอยตราค่าภาคหลวงสูญหายไปหมด ไม่มีไม้เหลืออยู่จึงเป็นการเรียกเก็บค่าภาคหลวงที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งโจทก์จะเอาเงินมัดจำการตรวจตีตราค่าภาคหลวงจำนวน 30,000บาท นั้นไปหักชำระเป็นส่วนหนึ่งของเงินค่าภาคหลวงไม่ได้ทั้งโจทก์ไม่มีสิทธิที่จะฟ้องเรียกค่าภาคหลวงที่โจทก์ยังอ้างว่ายังขาดอยู่นั้นอีกด้วย โจทก์ชอบที่จะคืนเงิน 30,000 บาท ให้แก่จำเลยแต่ละรายตามส่วนการทำไม้ของจำเลย
โจทก์เรียกเก็บค่าภาคหลวงจากจำเลยภายหลังที่ไม้ที่มีตราค่าภาคหลวงทั้ง 1,021 ท่อนนั้นได้สูญหายไปหมด ไม่มีไม้เหลืออยู่ จึงไม่มีไม้ที่ทำออกซึ่งจะต้องเสียค่าภาคหลวง โจทก์จึงเอาเงิน 30,000 บาทมาหักกลบลบกับค่าภาคหลวง ซึ่งจำเลยจะต้องชำระตามที่โจทก์อ้างหาได้ไม่ จำเลยแต่ละรายมีสิทธิที่จะได้รับค่าภาคหลวงล่วงหน้าตามใบอนุญาตของตนคืน
โจทก์มีหนังสือเรียกเก็บค่าภาคหลวงจากจำเลยภายหลังที่ไม้ซึ่งมีรอยตราค่าภาคหลวงสูญหายไปหมด ไม่มีไม้เหลืออยู่จึงเป็นการเรียกเก็บค่าภาคหลวงที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งโจทก์จะเอาเงินมัดจำการตรวจตีตราค่าภาคหลวงจำนวน 30,000บาท นั้นไปหักชำระเป็นส่วนหนึ่งของเงินค่าภาคหลวงไม่ได้ทั้งโจทก์ไม่มีสิทธิที่จะฟ้องเรียกค่าภาคหลวงที่โจทก์ยังอ้างว่ายังขาดอยู่นั้นอีกด้วย โจทก์ชอบที่จะคืนเงิน 30,000 บาท ให้แก่จำเลยแต่ละรายตามส่วนการทำไม้ของจำเลย
โจทก์เรียกเก็บค่าภาคหลวงจากจำเลยภายหลังที่ไม้ที่มีตราค่าภาคหลวงทั้ง 1,021 ท่อนนั้นได้สูญหายไปหมด ไม่มีไม้เหลืออยู่ จึงไม่มีไม้ที่ทำออกซึ่งจะต้องเสียค่าภาคหลวง โจทก์จึงเอาเงิน 30,000 บาทมาหักกลบลบกับค่าภาคหลวง ซึ่งจำเลยจะต้องชำระตามที่โจทก์อ้างหาได้ไม่ จำเลยแต่ละรายมีสิทธิที่จะได้รับค่าภาคหลวงล่วงหน้าตามใบอนุญาตของตนคืน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 493/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การคืนค่าภาคหลวงไม้ที่ถูกยึดและสูญหายโดยเจ้าหน้าที่ จำเลยรับผิดเฉพาะผู้ที่สั่งยึด
โจทก์กับพวกได้รับอนุญาตให้ตัดฟันไม้ในป่าโดยโจทก์ได้ชำระค่าภาคหลวง. จำเลยที่ 5 ซึ่งเป็นป่าไม้เขต ได้ออกตรวจและตีตรายึดไม้ที่โจทก์กับพวกตัดไม้ รวมทั้งไม้ 1021ท่อนที่จำเลยที่ 4 ซึ่งเป็นนายอำเภอสั่งให้นายดวงสอนตรวจวัดไม้และตีตราเพื่อชำระค่าภาคหลวงให้โจทก์. ไม้จำนวน 1021 ท่อนนี้ถูกจำเลยที่ 5 ยึดไว้รวมกับไม้อื่นๆที่โจทก์กับพวกตัดฟันและยังไม่ได้ตรวจตีตรา. ไม้ 1021ท่อนได้สูญหายไปหมดสิ้น. ดังนี้ถ้าจำเลยที่ 5 มิได้สั่งยึดไม้รายนี้ไว้. และไม้รายนี้มิได้สูญหายไปในระหว่างที่ถูกจำเลยที่ 5 ผู้เป็นเจ้าหน้าที่ของจำเลยที่1 ยึดไว้แล้ว. การทำไม้ก็เป็นอันสมบูรณ์. แต่ไม้รายนี้ได้ทำถูกต้องตามกฎหมายแล้ว แต่จำเลยที่ 5 ได้มีคำสั่งให้ยึดไว้รวมกับไม้รายอื่นที่โจทก์ทำผิดแล้วไม่ถอนคืนให้โจทก์. ต่อมาไม้ได้สูญหายไปในระหว่างถูกจำเลยที่ 5 สั่งยึดและการสูญหายก็อยู่ในความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่ของจำเลยที่ 1 ด้วย. ดังนี้ จะถือว่าการทำไม้สมบูรณ์แล้วหาได้ไม่. การทำไม้รายนี้เป็นการทำโดยถูกต้องตามกฎหมายแล้ว.แต่โจทก์ไม่ได้ไม้ไป. จำเลยจึงไม่มีอำนาจเอาเงินค่าภาคหลวงของโจทก์ไว้ โดยที่มิใช่เรื่องละเมิด. จำเลยที่ 1 ผู้เดียวจึงต้องคืนเงินค่าภาคหลวงที่เก็บไปแล้วแก่โจทก์. ส่วนจำเลยที่ 2-5 ไม่ต้องรับผิด.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 493/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดของเจ้าหน้าที่ในการสูญหายของไม้ที่ยึดตามกฎหมาย และการคืนค่าภาคหลวง
โจทก์กับพวกได้รับอนุญาตให้ตัดฟันไม้ในป่าโดยโจทก์ได้ชำระค่าภาคหลวง จำเลยที่ 5 ซึ่งเป็นป่าไม้เขต ได้ออกตรวจและตีตรายึดไม้ที่โจทก์กับพวกตัดไม้ รวมทั้งไม้ 1021 ท่อนที่จำเลยที่ 4 ซึ่งเป็นนายอำเภอสั่งให้นายดวงสอนตรวจวัดไม้และตีตราเพื่อชำระค่าภาคหลวงให้โจทก์ ไม้จำนวน 1021 ท่อนนี้ถูกจำเลยที่ 5 ยึดไว้รวมกับไม้อื่น ๆ ที่โจทก์กับพวกตัดฟันและยังไม่ได้ตรวจตีตรา ไม้ 1021 ท่อนได้สูญหายไปหมดสิ้น ดังนี้ ถ้าจำเลยที่ 5 มิได้สั่งยึดไม้รายนี้ไว้ และไม้รายนี้มิได้สูญหายไปในระหว่างที่ถูกจำเลยที่ 5 ผู้เป็นเจ้าหน้าที่ของจำเลยที่ 1 ยึดไว้แล้ว การทำไม้ก็เป็นอันสมบูรณ์ แต่ไม้รายนี้ได้ทำถูกต้องตามกฎหมายแล้ว แต่จำเลยที่ 5 ได้มีคำสั่งให้ยึดไว้รวมกับไม้รายอื่นที่โจทก์ทำผิดแล้วไม่ถอนคืนให้โจทก์ ต่อมาไม้ได้สูญหายไปในระหว่างถูกจำเลยที่ 5 สั่งยึดและการสูญหายก็อยู่ในความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่ของจำเลยที่ 1 ด้วย ดังนี้ จะถือว่าการทำได้สมบูรณ์แล้วหาได้ไม่ การทำไม้รายนี้เป็นการทำโดยถูกต้องตามกฎหมายแล้ว แต่โจทก์ไม่ได้ไม้ไป จำเลยจึงไม่มีอำนาจเอาเงินค่าภาคหลวงของโจทก์ไว้ โดยที่มิใช่เรื่องละเมิด จำเลยที่ 1 ผู้เดียวจึงต้องคืนเงินค่าภาคหลวงที่เก็บไปแล้วแก่โจทก์ ส่วนจำเลยที่ 2 - 5 ไม่ต้องรับผิด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 493/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดของเจ้าหน้าที่ในการยึดไม้โดยมิชอบ และการคืนเงินค่าภาคหลวงเมื่อไม้สูญหาย
โจทก์กับพวกได้รับอนุญาตให้ตัดฟันไม้ในป่าโดยโจทก์ได้ชำระค่าภาคหลวงจำเลยที่ 5 ซึ่งเป็นป่าไม้เขต ได้ออกตรวจและตีตรายึดไม้ที่โจทก์กับพวกตัดไม้ รวมทั้งไม้ 1021ท่อนที่จำเลยที่ 4 ซึ่งเป็นนายอำเภอสั่งให้นายดวงสอนตรวจวัดไม้และตีตราเพื่อชำระค่าภาคหลวงให้โจทก์ไม้จำนวน 1021 ท่อนนี้ถูกจำเลยที่ 5 ยึดไว้รวมกับไม้อื่นๆที่โจทก์กับพวกตัดฟันและยังไม่ได้ตรวจตีตรา ไม้ 1021ท่อนได้สูญหายไปหมดสิ้นดังนี้ถ้าจำเลยที่ 5 มิได้สั่งยึดไม้รายนี้ไว้และไม้รายนี้มิได้สูญหายไปในระหว่างที่ถูกจำเลยที่ 5 ผู้เป็นเจ้าหน้าที่ของจำเลยที่1 ยึดไว้แล้ว การทำไม้ก็เป็นอันสมบูรณ์ แต่ไม้รายนี้ได้ทำถูกต้องตามกฎหมายแล้ว แต่จำเลยที่ 5 ได้มีคำสั่งให้ยึดไว้รวมกับไม้รายอื่นที่โจทก์ทำผิดแล้วไม่ถอนคืนให้โจทก์ต่อมาไม้ได้สูญหายไปในระหว่างถูกจำเลยที่ 5 สั่งยึดและการสูญหายก็อยู่ในความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่ของจำเลยที่ 1 ด้วยดังนี้ จะถือว่าการทำไม้สมบูรณ์แล้วหาได้ไม่การทำไม้รายนี้เป็นการทำโดยถูกต้องตามกฎหมายแล้ว.แต่โจทก์ไม่ได้ไม้ไปจำเลยจึงไม่มีอำนาจเอาเงินค่าภาคหลวงของโจทก์ไว้ โดยที่มิใช่เรื่องละเมิด จำเลยที่ 1 ผู้เดียวจึงต้องคืนเงินค่าภาคหลวงที่เก็บไปแล้วแก่โจทก์ ส่วนจำเลยที่ 2-5 ไม่ต้องรับผิด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1008/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาขายฝากไม่จดทะเบียนเป็นโมฆะ ผู้รับเงินต้องคืน
การขายอสังหาริมทรัพย์เมื่อไม่ได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ย่อมเป็นโมฆะ
จำเลยรับเงินค่าขายฝากอสังหาริมทรัพย์ไปจากโจทก์ เมื่อการขายฝากเป็นโมฆะ โจทก์ได้คืนที่ดินให้จำเลยแล้ว จำเลยก็ต้องคืนเงินให้โจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 406 เพราะเป็นการรับไว้โดยปราศจากมูลอันจะอ้างกฎหมายได้ และทำให้โจทก์เสียเปรียบ
เมื่อสัญญาขายฝากเป็นโมฆะเพราะไม่ได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ศาลก็อาจรับฟังสัญญานั้นอย่างเป็นพยานเอกสารธรรมดาประกอบคำพยานโจทก์ มิใช่รับฟังในฐานะที่เป็นสัญญาขายฝากหรือใบรับได้ ถึงแม้หนังสือขายฝากนั้นจะไม่ได้ปิดอากรแสตมป์ครบถ้วนก็ตาม
จำเลยรับเงินค่าขายฝากอสังหาริมทรัพย์ไปจากโจทก์ เมื่อการขายฝากเป็นโมฆะ โจทก์ได้คืนที่ดินให้จำเลยแล้ว จำเลยก็ต้องคืนเงินให้โจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 406 เพราะเป็นการรับไว้โดยปราศจากมูลอันจะอ้างกฎหมายได้ และทำให้โจทก์เสียเปรียบ
เมื่อสัญญาขายฝากเป็นโมฆะเพราะไม่ได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ศาลก็อาจรับฟังสัญญานั้นอย่างเป็นพยานเอกสารธรรมดาประกอบคำพยานโจทก์ มิใช่รับฟังในฐานะที่เป็นสัญญาขายฝากหรือใบรับได้ ถึงแม้หนังสือขายฝากนั้นจะไม่ได้ปิดอากรแสตมป์ครบถ้วนก็ตาม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1008/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาขายฝากไม่จดทะเบียนเป็นโมฆะ ผู้รับเงินต้องคืน
การขายอสังหาริมทรัพย์เมื่อไม่ได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ย่อมเป็นโมฆะ
จำเลยรับเงินค่าขายฝากอสังหาริมทรัพย์ไปจากโจทก์ เมื่อการขายฝากเป็นโมฆะ โจทก์ได้คืนที่ดินให้จำเลยแล้วจำเลยก็ต้องคืนเงินให้โจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 406 เพราะเป็นการรับไว้โดยปราศจากมูลอันจะอ้างกฎหมายได้ และทำให้โจทก์เสียเปรียบ
เมื่อสัญญาขายฝากเป็นโมฆะเพราะไม่ได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ศาลก็อาจรับฟังสัญญานั้นอย่างเป็นพยานเอกสารธรรมดาประกอบคำพยานโจทก์ มิใช่รับฟังในฐานะที่เป็นสัญญาขายฝากหรือใบรับได้ ถึงแม้หนังสือสัญญาขายฝากนั้นจะไม่ได้ปิดอากรแสตมป์ครบถ้วนก็ตาม
จำเลยรับเงินค่าขายฝากอสังหาริมทรัพย์ไปจากโจทก์ เมื่อการขายฝากเป็นโมฆะ โจทก์ได้คืนที่ดินให้จำเลยแล้วจำเลยก็ต้องคืนเงินให้โจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 406 เพราะเป็นการรับไว้โดยปราศจากมูลอันจะอ้างกฎหมายได้ และทำให้โจทก์เสียเปรียบ
เมื่อสัญญาขายฝากเป็นโมฆะเพราะไม่ได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ศาลก็อาจรับฟังสัญญานั้นอย่างเป็นพยานเอกสารธรรมดาประกอบคำพยานโจทก์ มิใช่รับฟังในฐานะที่เป็นสัญญาขายฝากหรือใบรับได้ ถึงแม้หนังสือสัญญาขายฝากนั้นจะไม่ได้ปิดอากรแสตมป์ครบถ้วนก็ตาม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 618/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องหนี้ซื้อเชื่อ vs. การเรียกทรัพย์คืนฐานลาภมิควรได้ ศาลฎีกาชี้ขาดประเด็น
โจทก์ฟ้องเรียกหนี้สินเกี่ยวกับจำเลยที่ 1 ซื้อของเชื่อไปจากบริษัท ส. มิใช่ฟ้องขอให้ชำระหนี้ฐานลาภมิควรได้ ถึงแม้โจทก์จะเขียนฟ้องตั้งรูปคดีเป็นประการใดก็ตาม แต่กรณีตามฟ้องของโจทก์เป็นเรื่องเรียกหนี้สินที่ค้างชำระเกี่ยวกับจำเลยซื้อเชื่อน้ำสุราไปจากบริษัท ส. ฟ้องของโจทก์จึงขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(4)
จำเลยที่ 1 เป็นบริษัทจำกัด และตามฟ้องก็ฟ้องเรียกทรัพย์สินคืนจากจำเลยฐานลาภมิควรได้ เนื่องจากจำเลยยึดถือทรัพย์นั้นไว้โดยปราศจากมูลอันจะอ้างกฎหมายได้ จึงต้องถือว่าของเหล่านั้นตกอยู่ในความยึดถือครอบครองของจำเลยที่ 1 เท่านั้น จำเลยที่ 2 ที่ 3 ซึ่งเป็นประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการมิได้ยึดถือครอบครองทรัพย์เป็นการสว่นตัวแต่อย่างใด จึงไม่ต้องรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1
ฎีกาโจทก์มิได้กล่าวโดยชัดแจ้งว่า โจทก์จะได้ดอกเบี้ยตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2502 ด้วยเหตุใดจึงไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 249 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
คำให้การข้อ 3 จำเลยยกอายุความขึ้นต่อสู้โดยชัดแจ้งว่าฟ้องข้อ 3 ของโจทก์ขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(1)(17) ซึ่งเป็นเรื่องซื้อของเชื่อ ส่วนคำให้การข้อ 6 ซึ่งจำเลยให้การต่อสู้เกี่ยวกับฟ้องข้อ 4 นั้น จำเลยให้การว่าทรัพย์ไปตกอยู่ที่จำเลยที่ 1 และโจทก์ขอมาในคำขอท้ายฟ้องข้อ 1 ให้จำเลยใช้เงินค่าทรัพย์สินฐานลาภมิควรได้ จำเลยขอต่อสู้และตัดฟ้องว่า โจทก์ไม่มีสิทธิและอำนาจขอให้จำเลยใช้ค่าทรัพย์สินได้ตามกฎหมาย เพราะไม่ใช่เรื่องการซื้อขายทรัพย์สินหรือเรื่องละเมิด หรือในกรณีพิพาทที่จะฟ้องร้องเอาเงินได้ตามกฎหมาย แต่เป็นเรื่องลาภมิควรได้ และในเรื่องลาภมิควรได้ โจทก์ก็ไม่มีสิทธิหรืออำนาจฟ้องขอให้จำเลยใช้ค่าทรัพย์สิน ดังนี้ เห็นว่า จำเลยไม่ได้ยกอายุความขึ้นสู้ในเรื่องลาภมิควรได้เลย
โจทก์บรรยายฟ้องแล้วว่าจำเลยที่ 1 ได้รับ ขวด หีบ และกระสอบไปโดยไม่มีมูลอันจะอ้างกฎหมายได้ จึงเป็นการได้ในฐานลาภมิควรได้ ซึ่งตามธรรมดาก็จะฟ้องขอให้คืนตัวทรัพย์ก่อน เมื่อไม่สามารถคืนได้ จึงให้ใช้ราคาแทน แม้คำขอท้ายฟ้องจะมิได้ขอให้จำเลยคืนตัวทรัพย์ก่อน เมื่อไม่สามารถคืนได้ จึงให้ใช้ราคาแทน แม้คำขอท้ายฟ้องจะมิได้ขอให้จำเลยคืนตัวทรัพย์ก็ตาม ศาลก็ชอบที่จะพิพากษาให้จำเลยคืนตัวทรัพย์ ถ้าไม่สามารถคืนได้ก็ให้ใช้ราคา ไม่เป็นการนอกเหนือหรือเกินคำขอ
จำเลยที่ 1 เป็นบริษัทจำกัด และตามฟ้องก็ฟ้องเรียกทรัพย์สินคืนจากจำเลยฐานลาภมิควรได้ เนื่องจากจำเลยยึดถือทรัพย์นั้นไว้โดยปราศจากมูลอันจะอ้างกฎหมายได้ จึงต้องถือว่าของเหล่านั้นตกอยู่ในความยึดถือครอบครองของจำเลยที่ 1 เท่านั้น จำเลยที่ 2 ที่ 3 ซึ่งเป็นประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการมิได้ยึดถือครอบครองทรัพย์เป็นการสว่นตัวแต่อย่างใด จึงไม่ต้องรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1
ฎีกาโจทก์มิได้กล่าวโดยชัดแจ้งว่า โจทก์จะได้ดอกเบี้ยตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2502 ด้วยเหตุใดจึงไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 249 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
คำให้การข้อ 3 จำเลยยกอายุความขึ้นต่อสู้โดยชัดแจ้งว่าฟ้องข้อ 3 ของโจทก์ขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(1)(17) ซึ่งเป็นเรื่องซื้อของเชื่อ ส่วนคำให้การข้อ 6 ซึ่งจำเลยให้การต่อสู้เกี่ยวกับฟ้องข้อ 4 นั้น จำเลยให้การว่าทรัพย์ไปตกอยู่ที่จำเลยที่ 1 และโจทก์ขอมาในคำขอท้ายฟ้องข้อ 1 ให้จำเลยใช้เงินค่าทรัพย์สินฐานลาภมิควรได้ จำเลยขอต่อสู้และตัดฟ้องว่า โจทก์ไม่มีสิทธิและอำนาจขอให้จำเลยใช้ค่าทรัพย์สินได้ตามกฎหมาย เพราะไม่ใช่เรื่องการซื้อขายทรัพย์สินหรือเรื่องละเมิด หรือในกรณีพิพาทที่จะฟ้องร้องเอาเงินได้ตามกฎหมาย แต่เป็นเรื่องลาภมิควรได้ และในเรื่องลาภมิควรได้ โจทก์ก็ไม่มีสิทธิหรืออำนาจฟ้องขอให้จำเลยใช้ค่าทรัพย์สิน ดังนี้ เห็นว่า จำเลยไม่ได้ยกอายุความขึ้นสู้ในเรื่องลาภมิควรได้เลย
โจทก์บรรยายฟ้องแล้วว่าจำเลยที่ 1 ได้รับ ขวด หีบ และกระสอบไปโดยไม่มีมูลอันจะอ้างกฎหมายได้ จึงเป็นการได้ในฐานลาภมิควรได้ ซึ่งตามธรรมดาก็จะฟ้องขอให้คืนตัวทรัพย์ก่อน เมื่อไม่สามารถคืนได้ จึงให้ใช้ราคาแทน แม้คำขอท้ายฟ้องจะมิได้ขอให้จำเลยคืนตัวทรัพย์ก่อน เมื่อไม่สามารถคืนได้ จึงให้ใช้ราคาแทน แม้คำขอท้ายฟ้องจะมิได้ขอให้จำเลยคืนตัวทรัพย์ก็ตาม ศาลก็ชอบที่จะพิพากษาให้จำเลยคืนตัวทรัพย์ ถ้าไม่สามารถคืนได้ก็ให้ใช้ราคา ไม่เป็นการนอกเหนือหรือเกินคำขอ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 618/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องหนี้ซื้อของเชื่อ vs. การฟ้องเรียกทรัพย์คืนฐานลาภมิควรได้ และขอบเขตคำขอท้ายฟ้อง
โจทก์ฟ้องเรียกหนี้สินเกี่ยวกับจำเลยที่ 1 ซื้อของเชื่อไปจากบริษัท ส. มิใช่ฟ้องขอให้ชำระหนี้ฐานลาภมิควรได้ ถึงแม้โจทก์จะเขียน ฟ้องตั้งรูปคดีเป็นประการใดก็ตาม แต่กรณีตามฟ้องของโจทก์เป็นเรื่องฟ้องเรียกหนี้สินที่ค้างชำระเกี่ยวกับจำเลยซื้อเชื่อน้ำสุราไปจากบริษัท ส. ฟ้องของโจทก์จึงขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(1)
จำเลยที่ 1 เป็นบริษัทจำกัด และตามฟ้องก็ฟ้องเรียกทรัพย์คืน จากจำเลยฐานลาภมิควรได้ เนื่องจากจำเลยยึดถือทรัพย์เหล่านั้นไว้โดยปราศจากมูลอันจะอ้างกฎหมายได้ จึงต้องถือว่าของเหล่านั้น ตกอยู่ในความยึดถือครอบครองของจำเลยที่ 1 เท่านั้น จำเลยที่ 2 ที่ 3 ซึ่งเป็นประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการมิได้ยึดถือครอบครอง ทรัพย์เป็นการส่วนตัวแต่อย่างใด จึงไม่ต้องรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1
ฎีกาโจทก์มิได้กล่าวโดยชัดแจ้งว่า โจทก์จะได้ดอกเบี้ย ตั้งแต่ เดือนพฤศจิกายน 2502 ด้วยเหตุใดจึงไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 249 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
คำให้การข้อ 3 จำเลยยกอายุความขึ้นต่อสู้โดยชัดแจ้งว่า ฟ้องข้อ 3 ของโจทก์ขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(1)(17) ซึ่งเป็นเรื่องซื้อของเชื่อ ส่วนคำให้การข้อ 6 ซึ่งจำเลยให้การต่อสู้เกี่ยวกับฟ้องข้อ 4 นั้น จำเลยให้การว่าทรัพย์ไปตกอยู่ที่จำเลยที่ 1 และโจทก์ขอมาในคำขอท้ายฟ้องข้อ 1 ให้จำเลยใช้เงินค่าทรัพย์สินฐานลาภมิควรได้ จำเลยขอต่อสู้และตัดฟ้องว่า โจทก์ไม่มีสิทธิและอำนาจขอให้จำเลยใช้ค่าทรัพย์สินได้ตามกฎหมายเพราะไม่ใช่เรื่องการซื้อขายทรัพย์สินหรือเรื่องละเมิดหรือในกรณีพิพาทที่จะฟ้องร้องเอาเงินได้ตามกฎหมายแต่เป็นเรื่องลาภมิควรได้ และในเรื่องลาภมิควรได้ โจทก์ก็ไม่มีสิทธิหรืออำนาจฟ้องขอให้จำเลยใช้ค่าทรัพย์สิน ดังนี้ เห็นว่า จำเลยไม่ได้ยกอายุความขึ้นสู้ในเรื่องลาภมิควรได้เลย
โจทก์บรรยายฟ้องแล้วว่าจำเลยที่ 1 ได้รับขวด หีบและกระสอบไปโดยไม่มีมูลอันจะอ้างกฎหมายได้ จึงเป็นการได้ในฐานลาภมิควรได้ ซึ่งตามธรรมดาก็จะฟ้องขอให้คืนตัวทรัพย์ก่อน เมื่อไม่สามารถคืนได้ จึงให้ใช้ราคาแทน แม้คำขอท้ายฟ้องจะมิได้ขอให้จำเลยคืนตัวทรัพย์ ก็ตาม ศาลก็ชอบที่จะพิพากษาให้จำเลยคืนตัวทรัพย์ ถ้าไม่สามารถ คืนได้ก็ให้ใช้ราคา ไม่เป็นการนอกเหนือหรือเกินคำขอ
จำเลยที่ 1 เป็นบริษัทจำกัด และตามฟ้องก็ฟ้องเรียกทรัพย์คืน จากจำเลยฐานลาภมิควรได้ เนื่องจากจำเลยยึดถือทรัพย์เหล่านั้นไว้โดยปราศจากมูลอันจะอ้างกฎหมายได้ จึงต้องถือว่าของเหล่านั้น ตกอยู่ในความยึดถือครอบครองของจำเลยที่ 1 เท่านั้น จำเลยที่ 2 ที่ 3 ซึ่งเป็นประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการมิได้ยึดถือครอบครอง ทรัพย์เป็นการส่วนตัวแต่อย่างใด จึงไม่ต้องรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1
ฎีกาโจทก์มิได้กล่าวโดยชัดแจ้งว่า โจทก์จะได้ดอกเบี้ย ตั้งแต่ เดือนพฤศจิกายน 2502 ด้วยเหตุใดจึงไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 249 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
คำให้การข้อ 3 จำเลยยกอายุความขึ้นต่อสู้โดยชัดแจ้งว่า ฟ้องข้อ 3 ของโจทก์ขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(1)(17) ซึ่งเป็นเรื่องซื้อของเชื่อ ส่วนคำให้การข้อ 6 ซึ่งจำเลยให้การต่อสู้เกี่ยวกับฟ้องข้อ 4 นั้น จำเลยให้การว่าทรัพย์ไปตกอยู่ที่จำเลยที่ 1 และโจทก์ขอมาในคำขอท้ายฟ้องข้อ 1 ให้จำเลยใช้เงินค่าทรัพย์สินฐานลาภมิควรได้ จำเลยขอต่อสู้และตัดฟ้องว่า โจทก์ไม่มีสิทธิและอำนาจขอให้จำเลยใช้ค่าทรัพย์สินได้ตามกฎหมายเพราะไม่ใช่เรื่องการซื้อขายทรัพย์สินหรือเรื่องละเมิดหรือในกรณีพิพาทที่จะฟ้องร้องเอาเงินได้ตามกฎหมายแต่เป็นเรื่องลาภมิควรได้ และในเรื่องลาภมิควรได้ โจทก์ก็ไม่มีสิทธิหรืออำนาจฟ้องขอให้จำเลยใช้ค่าทรัพย์สิน ดังนี้ เห็นว่า จำเลยไม่ได้ยกอายุความขึ้นสู้ในเรื่องลาภมิควรได้เลย
โจทก์บรรยายฟ้องแล้วว่าจำเลยที่ 1 ได้รับขวด หีบและกระสอบไปโดยไม่มีมูลอันจะอ้างกฎหมายได้ จึงเป็นการได้ในฐานลาภมิควรได้ ซึ่งตามธรรมดาก็จะฟ้องขอให้คืนตัวทรัพย์ก่อน เมื่อไม่สามารถคืนได้ จึงให้ใช้ราคาแทน แม้คำขอท้ายฟ้องจะมิได้ขอให้จำเลยคืนตัวทรัพย์ ก็ตาม ศาลก็ชอบที่จะพิพากษาให้จำเลยคืนตัวทรัพย์ ถ้าไม่สามารถ คืนได้ก็ให้ใช้ราคา ไม่เป็นการนอกเหนือหรือเกินคำขอ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1003/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประเมินภาษีการค้า ห้างหุ้นส่วนสามัญที่จดทะเบียนค้ามีหน้าที่เสียภาษี การไม่อุทธรณ์ทำให้ไม่มีอำนาจฟ้อง
ห้างหุ้นส่วนสามัญไม่ได้จดทะเบียน แต่ได้จดทะเบียนการค้าประเภทขายอสังหาริมทรัพย์ไว้แล้ว มีสถานการค้าที่แน่นอน เป็นหลักฐานประกอบกันแสดงให้เห็นว่าเป็นผู้ประกอบการค้าจึงต้องเสียภาษีการค้าตามประมวลรัษฎากร
เมื่อห้างหุ้นส่วนสามัญดังกล่าวมีหน้าที่ต้องเสียภาษีการค้า จำเลยก็มีอำนาจใช้สิทธิประเมินเรียกเก็บตามประมวลรัษฎากรได้ โจทก์จะอ้างว่าเรียกคืนในฐานลาภมิควรได้ไม่ได้ เพราะการเรียกเก็บของจำเลยมีมูลที่จะอ้างได้ตามกฎหมาย เมื่อโจทก์เห็นว่าไม่มีหน้าที่ต้องเสีย หรือการประเมินเรียกไม่ถูกต้องอย่างไร ก็ชอบที่จะใช้สิทธิอุทธรณ์การประเมินเรียกเก็บนั้นตามบทบัญญัติในประมวลรัษฎากรเสียก่อน แต่โจทก์มิได้อุทธรณ์ โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้อง
(อ้างฎีกาที่ 1895/2493, 519/2505)
เมื่อห้างหุ้นส่วนสามัญดังกล่าวมีหน้าที่ต้องเสียภาษีการค้า จำเลยก็มีอำนาจใช้สิทธิประเมินเรียกเก็บตามประมวลรัษฎากรได้ โจทก์จะอ้างว่าเรียกคืนในฐานลาภมิควรได้ไม่ได้ เพราะการเรียกเก็บของจำเลยมีมูลที่จะอ้างได้ตามกฎหมาย เมื่อโจทก์เห็นว่าไม่มีหน้าที่ต้องเสีย หรือการประเมินเรียกไม่ถูกต้องอย่างไร ก็ชอบที่จะใช้สิทธิอุทธรณ์การประเมินเรียกเก็บนั้นตามบทบัญญัติในประมวลรัษฎากรเสียก่อน แต่โจทก์มิได้อุทธรณ์ โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้อง
(อ้างฎีกาที่ 1895/2493, 519/2505)